SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการแนว
ปะการังภายหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
ปี 2557
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พื้นที่ดาเนินการ
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร จังหวัดชุมพร
สถานที่
•เกาะง่ามใหญ่
•เกาะง่ามน้อย
•เกาะมาตรา
•เกาะมะพร้าว
•เกาะอีแรด
•เกาะละวะ
•เกาะลังกาจิว
•เกาะกุลา
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สถานที่
•เกาะท้ายเพลา
•เกาะหินดับ
•เกาะวัวกันตัง
•เกาะสามเส้า
•เกาะสามเส้าทิศเหนือ
•เกาะสามเส้าทิศ
ตะวันออก
อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า - หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง
สถานที่
•อ่าวพร้าว เกาะเสม็ด
•อ่าวปลาต้ม เกาะเสม็ด
•อ่าวกิ่วหน้าใน เกาะเสม็ด
•อ่าวกิ้วหน้านอก เกาะเสม็ด
•อ่างลุงดา เกาะเสม็ด
•เกาะจันทร์
•เกาะกุฎี
•เกาะค้างคาง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด
สถานที่
•เกาะใบดั่ง
•อ่าวหวาย
•เกาะยักษ์เล็ก
•เกาะยักษ์ใหญ่
•หินเกือกม้า
•เกาะเทียน
•เกาะทองหลาง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา
สถานที่
•เกาะสตอร์ค
•อ่าวจาก
•อ่าวเต๋า
•อ่าวผักกาด
•เกาะตอรินลา
•อ่าวสุเทพ
•อ่าวไม้งาม
•หินแพ
•เกาะปาชุมบา
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน จังหวัดพังงา
สถานที่
•หินม้วนเดียว
•อีสออฟเอเดน
•เวสออฟอีเดน
•หาดเล็ก
•อ่าวไฟแวบ
•อ่าวนาชัย
•อ่าวด้านเหนือ
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
•เกาะกระดาน
•เกาะเชือก
•เกาะปลิง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่
•เกาะรอก (หลักสยาม)
•เกาะรอก (ร่องน้า)
•เกาะปลิง (หน้าหน่วยพิทักษ์)
•เกาะไหง
•เกาะไหง (หน้าหน่วยพิทักษ์)
•เกาะบุโหลนไม้ไผ่
•เกาะบุโหลนเล
•เกาะบุโหลนดอน (เหนือ)
•เหลาเหลียง
•หาดทรายขาว
•หินงาม (ทิศใต้)
•หน้าหน่วยพิทักษ์ฯ เกาะราวี
•อ่าวสอง
•เกาะดงทิศเหนือ
•เกาะดงทิศใต้
•ทิศตะวันออกแหลมตันหยงมะระ
•เกาะแลน
•เกาะตะเกียง (เหนือ)
•เกาะตะเกียง (ใต้)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา จังหวัดสตูล
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล
ภารกิจงานสารวจ
การสารวจติดตามสถานภาพปะการังและปะการังวัยอ่อน
การสารวจสามะโนประชากรปลาในแนวปะการัง
การสารวจสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในแนวปะการัง
1.วิธีการสารวจติดตามสถานภาพปะการัง
ประเมินสถานภาพแนวปะการังโดยวิธี
Photo belt transect
- โดยการวางเส้นเทปยาว 30
เมตร จานวน 3 เส้น ( Transect)
ขนานกับชายฝั่งบริเวณสถานีสารวจ
ถ่ายภาพจานวน 60 ภาพ ต่อ 1 เส้น
(ถ่ายทุกๆ 50 เซนติเมตร) ให้ห่างจาก
เส้นเทปประมาณ 50-70 เซนติเมตร
รวมเป็น 180 ภาพ
ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถให้
รายละเอียดข้อมูลสัดส่วนการปกคลุม
พื้นที่และสภาพของแนวปะการังได้ดี ใช้
เวลาทางานใต้น้าน้อย
แนวเส้นเทปที่จะทาการสารวจ
ถ่ายภาพปะการังด้านบนเส้นเทป ห่างจากเทป
50 เซนติเมตร
วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ปกคลุมของ
ปะการัง ด้วยโปรแกรม Coral Point
Count with Excel extension :
CPCe (Kevin E. Kohler, Shaun M.
Gill, 2006) โดยการสุ่มจุดวิเคราะห์
แบบกาหนดจุดแน่นอน (Fix point))
จานวน 9 - 16 จุดต่อภาพขึ้นอยู่กับ
ความหลากหลายของชนิดปะการัง
บริเวณสถานีสารวจ ความละเอียด
ของข้อมูลขึ้นอยู่กับความต้องการนา
ข้อมูลไปใช้ และความเชี่ยวชาญของ
ผู้วิเคราะห์ตัวอย่างภาพการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม CPCe
วิธีการวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การปกคลุมของปะการัง
การสารวจปลาในแนวปะการัง โดยใช้วิธีการทา
สามะโนประชากรปลาด้วยสายตา
เป็นวิธีมาตรฐานที่ใช้ในการสารวจประชากร
ปลาในแนวปะการังโดยใช้นักดาน้าที่มีความสามารถใน
การจาแนกชนิดปลา ทาการจาแนกชนิดและนับจานวน
ปลาตามแนวสารวจ (transect line) ความยาว 30
เมตร จานวน 3 แนวสารวจต่อสถานี โดยใช้สายตามอง
ไปข้างหน้าและแผ่กว้างออกไปทางด้านข้างของแนว
สารวจทั้งซ้ายและขวา ด้านละ 2.5 เมตร ทั้งนี้จะทาการ
ประเมินเฉพาะกลุ่มปลาที่สามารถมองเห็นได้ชัดโดยไม่
พิจารณาปลาขนาดเล็กๆ
2. สารวจชนิดและความชุกชุมของประชากรปลา โดยวิธี
การทาสามะโนประชากรปลาด้วยสายตา (Fishes Visual Census Technique)
2. สารวจชนิดและความชุกชุมของประชากรปลา โดยวิธี
การทาสามะโนประชากรปลาด้วยสายตา (Fishes Visual Census Technique)
 วิธี Fishes visual census
 การทา Belt transect ความยาว 30 เมตร จานวน 3 แนว สารวจปลาข้างแนว
เทปด้านซ้ายและขวาด้านละ 5 เมตร
 จดบันทึกชนิดและความชุกชุมของปลาและทาการสุ่มจุดสารวจ (Spot check)
 การวิเคราะห์ข้อมูล
ความชุกชุมของชนิดปลา
ค่าดัชนีความหลากหลาย (Diversity Index)
 การเสนอผลการศึกษา แบ่ง 3 กลุ่ม
1. จัดกลุ่มปลาตามลักษณะการใช้ประโยชน์
2. จัดกลุ่มปลาตามประเภทอาหารที่ปลากิน
3. จัดกลุ่มปลาตามประเภทที่อยู่อาศัย
สารวจด้วยวิธีการดาน้าโดยใช้ถังอากาศโดยการวางแนวลากเส้นเทปสารวจออกเป็น 3
เส้น ความยาวแต่เส้น 30 เมตร ระยะห่างระหว่างเส้นเทปประมาณ 5 เมตร (ใช้เส้นสารวจ
เดียวกับการสารวจปะการัง) ทาการสารวจสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังของแต่ละเส้นเทป โดย
การมองไปทางซ้ายและขวาของเส้นเทปด้านละ 2.5 เมตร สารวจและนับจานวนชนิดสัตว์ไม่
มีกระดูกสันหลังในบริเวณดังกล่าวและทาการจดบันทึกชนิดสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่พบ
ตลอดทั้งเส้นสารวจ
โดยมีกลุ่มประชากรสิ่งมีชีวิตที่เป็นกลุ่มเป้าประสงค์ของการสารวจดังนี้
ดาวมงกุฎหนาม กุ้งพยาบาล เม่นทะเล หอยสังข์แตร
ปลิงทะเล กุ้งมังกร หมึกยักษ์ หอยฝาเดียว (Drupella sp.)
กัลปังหา ดอกไม้ทะเล ปะการังอ่อน ทากเปลือย หอยมือเสือ
3. สารวจสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยวิธี Invertebrate Belt Transect
ผลการศึกษาปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ปี 2557
สภาพแนวปะการังหลังการเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
ส่วนใหญ่มีแนวโน้มการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับ
ช่วงแรกที่เกิดการฟอกขาว แต่บางพื้นที่จะมี Corallimorph และ
สาหร่ายขึ้นปกคลุมอยู่เต็มพื้นที่ โดยสถานีอ่าวเต่า เกาะสุรินทร์ใต้ เป็น
สถานีที่มีปะการังมีชีวิตครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด เท่ากับ 25.93
เปอร์เซ็นต์ สถานีที่มีปะการังมีชีวิตน้อยที่สุด คือ หินแพ/หินกอง
เท่ากับ 1.80 เปอร์เซ็นต์
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
2552 2553 2554 2555 2556 2557
พื้นที่ปกคลุมปะการังมีชีวิต(%) เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมปะการังมีชีวิต
องค์ประกอบในแนวปะการังแต่ละสถานี ปี 2557
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
เกาะสตอร์ค อ่าวแม่ยาย อ่าวผักกาด อ่าวสุเทพ หินแพ/หินกอง
สัดส่วนปกคลุมพื้นที่(%)
อื่นๆ
เศษซากปะการัง
ทราย
สาหร่ายทะเลขนาดใหญ่
พรมทะเล
ฟองน้า
กัลปังหา
ปะการังตาย
ปะการังมีชีวิต
สถานภาพแนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสิมิลัน
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
หินม้วนเดียว เวสออฟอีเดน อ่าวไฟแวบ
สัดส่วนปกคลุมพื้นที่(%)
อื่นๆ
เศษซากปะการัง
ทราย
สาหร่ายทะเลขนาด
ใหญ่
พรมทะเล
องค์ประกอบในแนวปะการังแต่ละสถานี ปี 2557
58.99
20.83
38.25
44.07
55.81 52.9
16.32
79.17
38.81 36.62
29.62
33.08
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
ก่อนการฟอกขาวพ.ศ. 2553 (ช่วงฟอกขาว) พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
เปอร์เซนต์ปะการัง
เปรียบเทียบภาพรวมสถานภาพปะการังอุทยานแห่งชาติตะรุเตา
21.67
24.14
29.71
40.78
43.41
y = 6.013x + 13.90
R² = 0.948
0.00
5.00
10.00
15.00
20.00
25.00
30.00
35.00
40.00
45.00
50.00
พ.ศ. 2553 (ช่วง
ฟอกขาว)
พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
เปอร์เซนต์ปะการัง
แนวโน้มการฟื้นตัวของปะการังในอุทยานแห่งชาติ อันดามันตอนล่าง
แสดงปะการังมีชีวิตปกคลุมพื้นที่ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด
0
10
20
30
40
50
ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย ซากปะการัง ฟองน้า ทราย หิน
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
ตัวอย่างภาพ
ปัจจุบัน
หินแพ
อ่าวสุเทพ
สถานภาพปะการังอ่อน
• สภาพปะการังอ่อนบริเวณหินม้วน
เดียว มีแนวโน้มลดลง
• ไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน
• ปะการังอ่อนที่เป็น endemic และ
rare species ยังคงปรากฏใน
พื้นที่
สถานภาพของปะการังอ่อนบริเวณกองหินแฟนตาซี
- เป็นพื้นที่ปิดเพื่อฟื้นฟูและเป็นแหล่งพ่อแม่พันธุ์ตั้งแต่เดือน พ.ย.ปี 2543
- บริเวณผนังก้อนหินมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเดิมที่ปะการังอ่อนกลุ่มใน
บริเวณนี้เป็นปะการังอ่อนต้นวุ้น (Dendronephthya spp.) ข้อมูลจากการ
ประเมินครั้งล่าสุดพบว่าปะการังอ่อนกลุ่มเด่นเปลี่ยนเป็นชนิด
Scleronephthya sp.
ตัวอ่อนปะการัง
ที่ลงเกาะบนพื้นธรรมชาติ
ประชากรปลาในแนวปะการัง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
ผลการศึกษา
1. จานวนและชนิดของปลา
238 ชนิด 104 สกุล 38 วงศ์
ปลากลุ่มเด่น ได้แก่
ปลานกขุนทองในวงศ์ Labridae (43 ชนิด 22 สกุล)
กลุ่มรองลงมา ได้แก่
ปลาสลิดหินในวงศ์ Pomacentridae (29 ชนิด 10 สกุล)
ปลาผีเสื้อในวงศ์ Chaetodontidae (20 ชนิด 4 สกุล)
ปลานกแก้วในวงศ์ Scaridae (17 ชนิด 4 สกุล)
1. จานวนและชนิดของปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
สถานีศึกษา จานวนชนิด ปลาชนิดเด่น
SML.1 หาดเล็ก เกาะสี่ 56 ชนิด 39 สกุล 17 วงศ์ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis
ปลาอมไข่ชนิด Apogon cyanosoma
SML.2 West of Eden 45 ชนิด 28 สกุล 11 วงศ์ สลิดหินชนิด Pomacentrus chrysurus
ปลาสลิดหินชนิด Chromis ternatensis
SML.3หินม้วนเดียว 54 ชนิด 36 สกุล 15 วงศ์ ปลาสลิดหินชนิด Chromis weibeli,
ปลาทองชนิด Pseudanthia squamippinis
SML.4 East of Eden 79 ชนิด 54 สกุล 22 วงศ์ ปลากะรังจิ๋วชนิด Pseudanthias squamippinis
ปลากล้วยชนิด Pterocaesio pisang
SML.5 อ่าวไฟแว๊บ 54 ชนิด 34 สกุล 16 วงศ์ ปลาสลิดหินชนิด Chromis flavipectoralis,
ปลาสลิดหินชนิด Chrysiptera rollandi,
ML.6อ่าวนาชัย 70 ชนิด 43 สกุล 20 วงศ์ ปลาสลิดหินชนิด Chromis dimidiatus
ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys
สถานีศึกษา จานวนชนิด ปลาชนิดเด่น
SR.1อ่าวไม้งาม 53 ชนิด 36 สกุล 18 วงศ์ ปลาอมไข่ Apogon sp.
SR.2 อ่าวแม่ยาย 54 ชนิด 26 สกุล 14 วงศ์ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentruslepidogenys
SR.3 อ่าวจาก 52 ชนิด 35 สกุล 12 วงศ์ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus lepidogenys)
SR.4 เกาะสต๊อค 44 ชนิด 29 สกุล 13 วงศ์ ปลากล้วยชนิด Pterocaesio chrysozona
SR.5 อ่าวผักกาด 64 ชนิด 38 สกุล 18 วงศ์ ปลากล้วยชนิด Pterocaesio chrysozona
SR.6 อ่าวสุเทพ 59 ชนิด 36 สกุล 13 วงศ์ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis
SR.7 เกาะตอรินลา 59 ชนิด 38 สกุล 15 วงศ์ ปลาอมไข่ Apogon sp.
SR.8 เกาะมังกร 61 ชนิด 41 สกุล 14 วงศ์ ปลาสลิดหินมะนาว Pomacentrus moluccensis
SR.9 อ่าวเต่า 51 ชนิด 31 สกุล 14 วงศ์ ปลาสลิดหินมะนาว Pomacentrus moluccensis
SR.10 หินแพ 66 ชนิด 42 สกุล 16 วงศ์ ปลาสลิดหิน Neopomacentrus anabatoides
1. จานวนและชนิดของปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน (ต่อ)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
ความชุกชุมของปลามากที่สุด คือ เกาะห้า โดยมีปริมาณปลาที่พบ
เฉลี่ยเท่ากับ 3,117 ตัวต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร
ความชุกชุมของปลาน้อยที่สุด คือ อ่าวนาชัย มีปริมาณปลาที่พบ
เฉลี่ยเท่ากับ 2,322 ตัว/ 300 ตารางเมตร
2. ความชุกชุมของปลา
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
ความชุกชุมของปลามากที่สุด คือ อ่าวผักกาด โดยมีปริมาณปลา
ที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 4,329 ตัวต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร
ความชุกชุมของปลาน้อยที่สุด คือ เกาะสต๊อคมีปริมาณปลาที่พบ
เฉลี่ยเท่ากับ 456 ตัว/ 300 ตารางเมตร
2. ความชุกชุมของปลา (ต่อ)
3. ความหลากหลายของปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
ชื่อสถานีสารวจ
จานวนชนิด
(เฉลี่ย/ 300 ม.2)
จานวนตัว
(เฉลี่ย/ 300 ม.2)
ดัชนีความ
หลากหลาย
ดัชนีความ
สม่าเสมอ
หาดเล็ก 56 2,599 2.916 0.7244
West of Eden 45 2,430 2.405 0.6318
หินม้วนเดียว 54 3,117 2.52 0.6317
East of Eden 79 2,436 2.906 0.6651
อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด 54 2,891 2.313 0.5799
อ่าวนาชัย 70 2,322 2.327 0.5478
ชื่อสถานีสารวจ จานวนชนิด(เฉลี่ย/ 300 ม.2)
จานวนตัว
(เฉลี่ย/ 300 ม.2)
ดัชนีความ
หลากหลาย
ดัชนีความ
สม่าเสมอ
อ่าวไม้งาม 53 1,242 2.901 0.7307
อ่าวแม่ยาย 45 1,180 2.308 0.6063
อ่าวจาก 52 728 2.583 0.6537
เกาะสต๊อค 44 445 3.105 0.8205
อ่าวผักกาด 64 4,328 2.471 0.5941
อ่าวสุเทพ 59 1,938 2.382 0.5842
เกาะตอรินลา 59 2,376 2.858 0.7009
เกาะมังกร 61 1,919 1.978 0.4812
อ่าวเต่า 51 2,216 2.755 0.7007
หินแพ 66 1,695 2.354 0.5619
3. ความหลากหลายของปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน (ต่อ)
องค์ประกอบประชาคมปลา
สัดส่วนของปลาที่สามารถใช้บริโภคเป็นอาหารได้ประมาณ 41%
ส่วนปลาที่เป็นประโยชน์ในด้านเป็นปลาสวยงามมากถึง 55%
ปลาที่ยังไม่มีรายงานการใช้ประโยชน์ อีก 4%
จาแนกกลุ่มปลาที่พบตามพฤติกรรมการกินอาหาร
การจัดกลุ่มปลาตามพฤติกรรมการอยู่อาศัยในแนวปะการัง พบว่า
ปลากลุ่มที่อาศัยอยู่ร่วมกับแนวปะการัง (Reef associated-RA)
สัดส่วน สูงถึง 82%
ความคล้ายคลึงของประชาคมปลามากที่สุด ได้แก่
สถานี SR8 (เกาะมังกร) กับ สถานีSML 2(west of Eden)
ซึ่งอยู่ต่างกันคนละพื้นทีอุทยานฯ โดยพิจารณาจากชนิดที่พบ
เหมือนกันของทั้งสองพื้นที่ โดยไม่นาปัจจัยด้านปริมาณมาร่วมด้วย
รูปแบบความคล้ายคลึงของโครงสร้างประชาคมปลา
ผลการวิเคราะห์ปะการังอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม พ.ศ. 2557
สถานี
ปะการังมี
ชีวิต ปะการังตาย
เกาะกระดาน 29.45 59.06
เกาะเชือก 15.47 34.35
เกาะปลิง 18.61 76.43
29.45
15.47 18.61
59.06
34.35
76.43
0
20
40
60
80
100
เกาะกระดาน เกาะเชือก เกาะปลิง
พบปะการังโขด Porites sp. เป็นปะการังชนิดเด่น สถานภาพของปะการังอยู่ในเกณฑ์ เสื่อมโทรม
เปอร์เซ็นต์ปะการัง
ปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
จากการสารวจการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในอุทยานแห่งชาติหาดเจ้า
ไหม มีการลงเกาะของปะการังวัยอ่อน ขนาด 3-4 เซนติเมตร 7 โคโลนี/100 ตาราง
เมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร 213 โคโลนี/100 ตารางเมตร ปะการังที่ลงเกาะใหม่
ทดแทนปะการังที่ตายอยู่ในขนาด 5-7 เซนติเมตร ค่อนข้างมาก สามารถเจริญเติบโต
และปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ได้
สถานี
ขนาดของปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบ (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
เกาะกระดาน 2 67
เกาะเชือก 3 79
เกาะปลิง 2 67
รวม 7 213
ผลการวิเคราะห์ปลาอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
สถานี จานวนชนิด
จานวน (ตัว/100 ตาราง
เมตร) ของปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่พบเด่น
(ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
1. เกาะกระดาน 46 1393 Plankton (67.43) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. เกาะเชือก 45 1910 Plankton (74.75) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. เกาะปลิง 22 127 Plankton (73.49) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
ชนิดที่สารวจพบ
เกาะกระดาน
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เกาะเชือก
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เกาะปลิง
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เม่นทะเล 1689 261 283
หอยมือเสือ 1 1
ดอกไม้ทะเล 11 10
ดาวหมอนปักเข็ม 3 1
ฟองน้า 3 9 18
ดาวขนนก 1
กัลปังหา 2 3
ทากเปลือย 6 1
กุ้งมังกร 1
แส้ทะเล 6
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา พ.ศ. 2557
สถานี ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย
เกาะรอก (หลัก
สยาม) 46.42 37.85
เกาะรอก (ร่องน้า) 54.87 39.08
เกาะรอก (หน้าหน่วย
พิทักษ์) 28.01 71.14
เกาะไหง 55.71 40.73
เกาะไหง (หน้าหน่วย
พิทักษ์) 29.52 62.62
46.42
54.87
28.01
55.71
29.52
37.85 39.08
71.14
40.73
62.62
0
10
20
30
40
50
60
70
80
เปอร์เซนต์ปะการัง
ปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
สถานี
ขนาดของปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบทั้งหมด (โคโลนี/100
ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
เกาะไหง (ทิศตะวันออก) 2 6 100
เกาะไหง (หน้าหน่วยพิทักษ์) 9
เกาะรอก (หลักสยาม) 38
เกาะรอก (ร่องน้า) 48
เกาะรอก (หน้าหน่วยพิทักษ์) 84
รวม 2 6 279
จากการสารวจการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในพื้นที่ต่างๆของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ
ลันตา พบขนาดโคโลนี 1-2 เซนติเมตร พบ 2 โคโลนี/100 ตารางเมตร ขนาด 3-4 เซนติเมตร พบ 6
โคโลนี/100 ตารางเมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร พบ 279 โคโลนี/100 ตารางเมตร กล่าวได้ว่า
สถานภาพของปะการังในพื้นที่สามารถกลับฟื้นตัวขึ้นมาได้เนื่องจากพบปะการังที่ลงเกาะใหม่
ทดแทนปะการังที่ตายอยู่ในขนาด 5-7 เซนติเมตร ค่อนข้างมาก
สถานี จานวนชนิด
จานวน (ตัว/100
ตารางเมตร) ของปลา
ทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่
พบเด่น (ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
1. เกาะรอกนอก (หลักสยาม) 25 426 Plankton (75.56) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. เกาะรอกใน (ร่องน้า) 32 453 Plankton (57.90) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. เกาะรอก (หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ) 54 166 Plankton (47.79) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
4. เกาะไหง 27 1494 Omnivore (55.65) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
5. เกาะไหง (หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ) 25 656 Plankton (64.41) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ผลการวิเคราะห์ปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
ชนิดที่สารวจพบ
หลักสยาม
(ตัว/100 ตาราง
เมตร)
ร่องน้า
(ตัว/100 ตาราง
เมตร)
หน้าหน่วย
(ตัว/100 ตาราง
เมตร)
เกาะไหง (E)
(ตัว/100 ตาราง
เมตร)
เกาะไหง หน้าหน่วย
(ตัว/100 ตาราง
เมตร)
เม่นทะเล 216 220 864 1147 833
หอยมือเสือ 86 60 20 4 2
ปลิงทะเล 63 1 10
ดอกไม้ทะเล 8 4 20 4 1
หอยมือหมี 8 20 18
ทากเปลือย 2 8 3 2
ฟองน้า 1 2 1
ดาวมงกุฏหนาม 1
ดาวหมอนปักเข็ม 4 3
เม่นดินสอ 1
กัลปังหา 1 1
รูปภาพสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
หอยมือเสือ Tridacna squamosa หอยมือหมี
ปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
สถานี
ขนาดของปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบ (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
เกาะบุโหลนไม้ไผ่ 8 113
เกาะบุโหลนเล 7 79
เกาะบุโหลนดอน (เหนือ) 11 20 70
เหลาเหลียง 11
รวม 11 35 273
การลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตราพบปะการังขนาด 1-2
เซนติเมตร 11 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร ขนาด 3-4 เซนติเมตร 35 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร และ
ขนาด 5-7 เซนติเมตร 273 โคโลนี ต่อ 100 ตารางเมตร การลงเกาะค่อนข้างพบในขนาด 5-7
เซนติเมตร มากอาจกล่าวได้ว่า ตัวอ่อนดังกล่าวลงเกาะและเจริญเติบโตมาระยะหนึ่งแล้วและ
สามารถปรับตัวเข้ากับอุณหภูมิน้าที่เปลี่ยนไปจากเดิม
ผลการวิเคราะห์ปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
สถานี จานวนชนิด
จานวน (ตัว/100 ตาราง
เมตร) ของปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรม
ที่พบเด่น (ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
1. เกาะบุโหลนไม้ไผ่ 26 986 Plankton (81.87) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. เกาะบุโหลนเล 43 986 Omnivore (54.99) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. บุโหลนดอน 35 403 Plankton (70.53) ปลานกขุนทอง (Labridae)
4. เหลาเหลียง 27 263 Plankton (64.64) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
ชนิดที่สารวจพบ
เหลาเหลียง
(ตัว/100 ตารางเมตร)
บุโหลนดอน
(ตัว/100 ตารางเมตร)
บุโหลนเล
(ตัว/100 ตารางเมตร)
บุโหลนไม้ไผ่
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เม่นทะเล 10 423 668 193
หอยมือเสือ 4 2 73 4
ดอกไม้ทะเล 2 7 102 20
หอยมือหมี 27 8
หนอนท่อ 2
ดาวหมอนปักเข็ม 10 1
ฟองน้า 10 24
ปู 3
เม่นดินสอ 49 2
ปลิง 17
ดาวทะเล 19
ดาวขนนก 56
เม่นแต่งตัว 1
เพรียงหัวหอม 8
รูปภาพสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
สถานี ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย
หาดทรายขาว 62.65 28.18
หินงาม (ทิศใต้) 65.76 25.76
หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ เกาะราวี 71.25 16.92
อ่าวสอง 39.36 46.83
เกาะดงทิศเหนือ 40.04 45.96
เกาะดงทิศใต้ 38.35 34.83
ทิศตะวันออกแหลมตันหยงมะระ 57.37 42.05
เกาะแลน 62.16 35.67
เกาะตะเกียง (เหนือ) 46.43 44.62
เกาะตะเกียง (ใต้) 71.39 23.77
ปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติตะรุเตา
สถานี
ขนาดของปะการังวัยอ่อนที่สารวจพบ (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
หน้าหน่วยพิทักษ์ฯ 6 16 68
หาดทรายขาว 10 21 38
ทิศเหนือเกาะบาตวง 12 32 149
ทิศใต้เกาะบาตวง 2 10 68
ทิศใต้หินงาม 12
อ่าวสอง 107
ทิศตะวันออก แหลมตันหยงมะระ 2 6 93
เกาะแลน 27 38 182
เกาะตะเกียง (เหนือ) 3 112
เกาะตะเกียง (ใต้) 50
รวม 59 126 879
มีการลงเกาะของปะการังวัยอ่อน ขนาด 1-2 เซนติเมตร 59 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร ขนาด 3-4 เซนติเมตร
126 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร 879 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร ปะการังในอุทยานแห่งชาติ
ตะรุเตาได้รับผลกระทบจากการฟอกขาวน้อยกว่าบริเวณอื่น จึงพบการลงเกาะของปะการังรุ่นใหม่ๆ อยู่ค่อนข้างมาก
ผลการวิเคราะห์ปะการัง
อุทยานแห่งชาติตะรุเตาก่อนการฟอกขาว พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557
58.99
20.83
38.25
44.07
55.81 52.9
16.32
79.17
38.81 36.62
29.62 33.08
0
20
40
60
80
100
เปอร์เซนต์ปะการัง
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ปะการัง
เป็น
ปะการัง
ตาย
ก่อนการฟอกขาว 58.99 16.32
พ.ศ. 2553 (ช่วงฟอกขาว) 20.83 79.17
พ.ศ. 2554 38.25 38.81
พ.ศ. 2555 44.07 36.62
พ.ศ. 2556 55.81 29.62
พ.ศ. 2557 52.9 33.08
ผลการวิเคราะห์ปลา อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
สถานี จานวนชนิด
จานวน (ตัว/100
ตารางเมตร) ของ
ปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่พบ
เด่น (ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
1. หาดทรายขาว 40 159 Plankton (49.86) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. หินงาม (ทิศใต้) 16 44 Plankton (40.50) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ เกาะ
ราวี
32 310 Carnivorous (68.39) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
4. อ่าวสอง 40 230 Plankton (48.21) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
5. เกาะดงทิศเหนือ 39 92 Omnivore (73.06) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
6. เกาะดงทิศใต้ 30 180 Omnivore (61.95) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
7. ทิศตะวันออกแหลม
ตันหยงมะระ
13 25 Plankton (84.96) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
8. เกาะแลน 16 36 Plankton (69.81) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
9. เกาะตะเกียง (เหนือ) 25 330 Omnivore (50.06) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
10. เกาะตะเกียง (ใต้) 29 230 Omnivore (47.96) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
รูปภาพปลา อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ชนิดที่สารวจพบ หน้าหน่วย
หาด
ทรายขาว
หินงาม
เกาะดง
(เหนือ)
เกาะดง
(ใต้)
อ่าวสอง
แหลมตันหยง
มะระ
เกาะแลน
เกาะตะเกียง
เหนือ
เกาะตะเกียงใต้
เม่นทะเล 2064 208 278 403 1844 129 652 14 3
ปลิง 10 1 9 26 29 8
ดาวทะเล 988 2 1 18 24 8
หอยมือเสือ 160 167 44 102 163 156 22 1 2 1
ดอกไม้ทะเล 4 170 19 117 173 64 24 27
ฟองน้า 12 2 3 6 2
ดาวขนนก 123 127 13 11 19 19
เม่นดินสอ 1 3 2 8
เม่นแต่งตัว 2
เพรียงหัวหอม 3 3 1
กัลปังหา 9 1 3
ปะการังอ่อน 1 1 1 1
แซ่ทะเล 4
ดาวหมอนปักเข็ม 1
ดาวมงกุฎหนาม 1
ทากเปลือย 1
ปู 3 1 1
หอยมือหมี 1 9
หนอนท่อ 1
ผลการศึกษาปะการังอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีการติดตามปะการังฟอก
ขาว 7 สถานี คือ เกาะหวาย เกาะใบดั้ง เกาะทองหลาง หิน
เกือกม้า เกาะยักษ์ใหญ่ และเกาะยักษ์เล็ก ซึ่งการปกคลุมของ
ปะการังมากที่สุด ร้อยละ 48 และ 47 คือบริเวณ หินเกือกม้า
และเกาะทองหลาง
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะหวาย
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะใบดั้ง
0
5
10
15
20
25
30
35
40
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะทองหลาง การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะเทียน
0
5
10
15
20
25
30
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณหินเกือกม้า
0
5
10
15
20
25
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
0
10
20
30
40
50
60
70
80
ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย ซากปะการัง ฟองน้า ทราย หิน
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
ลักษณะสภาพทั่วไปบริเวณเกาะหวาย
ลักษณะสภาพทั่วไปบริเวณเกาะใบดั้ง
0
10
20
30
40
50
60
ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย ซากปะการัง ฟองน้า ทราย หิน
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
ประชากรปลาในแนวปะการัง
การศึกษาประชากรปลาในแนวปะการังทั้ง
7 สถานีศึกษา พบปลาทั้งหมด 48 ชนิด ปลาชนิด
เด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides) ปลากะพง
เหลืองตาโต (Lutjanus lutjanus) และปลาสลิด
หินบั้งหางกรรไกร (Abudefduf sexfasciatus)
บริเวณสถานีศึกษาที่มีความหนาแน่นประชากร
ปลามากที่สุดคือ เกาะทองหลางและหินเกือกม้ามี
ความหนาแน่น 889 และ 831 ตัวต่อ 250 ตาราง
เมตร ตามลาดับ และสถานีศึกษาที่มีความ
หนาแน่นประชากรปลากน้อยที่สุดคือ เกาะหวายมี
ความหนาแน่น 165 ตัวต่อ 250 ตารางเมตร
ชนิดและความหนาแน่นของปลาบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
(ตัว/250 ตารางเมตร)
ชนิดและความหนาแน่นของปลาบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง (ต่อ)
อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า – หมู่เกาะเสม็ด มีการติดตาม
ปะการังฟอกขาว 8 สถานี คือ อ่าวพร้าว (เกาะเสม็ด) อ่าวปลาต้ม (เกาะ
เสม็ด) อ่าวกิ่วหน้าใน (เกาะเสม็ด) อ่าวกิ่วหน้านอก (เกาะเสม็ด) อ่าวลุงดา
(เกาะเสม็ด) เกาะจันทร์ เกาะกุฎี และเกาะค้างคาว (กลุ่มเกาะกุฎี) ซึ่งการ
ปกคลุมของปะการังมากที่สุด ร้อยละ 54 และ 42 คือบริเวณ เกาะจันทร์
และอ่าวพร้าว (เกาะเสม็ด)
อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า – หมู่เกาะเสม็ด
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณอ่าวกิ่วหน้านอก การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณอ่าวลุงดา
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณอ่าวพร้าว(เกาะเสม็ด) การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณอ่าวปลาต้ม
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะจันทน์
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณท้ายค้างคาวทิศใต้ (กลุ่มเกาะกุฎี)
ประชากรปลาในแนวปะการัง
จากการศึกษาประชากรปลาในแนวปะการังทั้ง 7 สถานีศึกษา พบ
ปลาทั้งหมด 23 ชนิด ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides) ปลาสลิดหินบั้งหางกรรไกร
(Abudefduf sexfasciatus)และปลากล้วยหางเหลือง (Caesio cuning)
บริเวณสถานีศึกษาที่มีความหนาแน่นประชากรปลามากที่สุดคือ อ่าวปลา
ต้มและอ่าวพร้าวใต้มีความหนาแน่น 397 และ 108 ตัวต่อ 250 ตาราง
เมตร ตามลาดับ และสถานีศึกษาที่มีความหนาแน่นประชากรปลากน้อย
ที่สุดคือ ท้ายค้างคาวทิศใต้ มีความหนาแน่น 22 ตัวต่อ 250 ตารางเมตร
ชนิดและความหนาแน่นของปลาบริเวณอุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า – หมู่เกาะเสม็ด
(ตัว/250 ตารางเมตร)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ เกาะกุฏี ทิศ
ใต้
ท้ายค้างคาวทิศ
ใต้
อ่าวพร้าวใต้ อ่าวปลาต้ม อ่าวกิ่วหน้าใน อ่าวกิ่วหน้านอก เกาะจันทร์ทิศตะวันออก
Sargocentron rubrum ปลากระรอกแดง - - 2 17 2 - -
Cephalopholis boenak ปลากะรังบั้ง - - - 2 2 1 -
Epinephelus quoyanus ปลากะรังลายเสือครีบยาว - - - 1 - - -
Cheilodipterus macrodon ปลาอมไข่เขี้ยวใหญ่ - - - 2 - - -
Caesio cuning ปลากล้วยหางเหลือง - - - 23 - - 10
Scolopsis monogramma ปลาทรายแถบน้าตาล - - - 1 - - -
Pempheris oualensis ปลากระดี่ทะเลครีบดา - - - 5 7 - -
Chaetodon octofasciatus ปลาผีเสื้อแปดขีด 3 1 - 8 2 2 4
Abudefduf sexfasciatus ปลาสลิดหินบั้งหางกรรไกร - - 16 40 13 - -
Abudefduf bengalensis ปลาสลิดหินหางพัด 3 - 1 3 - 3 -
Abudefduf vaigiensis ปลาสลิดหินบั้งเขียวเหลือง - - 8 15 - - -
Amphiprion perideraion ปลาการ์ตูนอินเดียแดง - - - - 3 - -
Neopomacentrus anabatoides ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว 100 20 80 250 60 50 150
Neopomacentrus azysron ปลาสลิดหินเล็กหางเหลือง - - - - - - 10
Pomacentrus chrysurus ปลาสลิดหินหางขาว - - - 7 5 - 2
Dascyllus trimaculatus ปลาสลิดหินสามจุด - - - - 1 - -
Hemiglyphidodon plagiometopon ปลาสลิดหินใหญ่ - - 1 1 - - -
Halichoeres chloropterus ปลานกขุนทองเขียวอ่อน - - - 3 3 - -
Halichoeres nigrescens ปลานกขุนทองเกล็ดด่าง - 1 - - 2 - -
Labroides dimidiatus ปลาพยาบาล - - - - 4 - -
Hemigymnus melapterus ปลานกขุนทองปากหนา - - - 1 - - -
Siganus guttatus ปลาสลิดทะเลจุดเหลือง - - - 8 - - -
Siganus javus ปลาสลิดทะเลแถบ - - - 10 2 2 -
รวม 106 22 108 397 106 58 176
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร มีการติดตามปะการังฟอกขาว 8 สถานี คือ
เกาะกุลา เกาะมะพร้าว เกาะแรด เกาะละวะ เกาะมาตรา เกาะลังกาจิว
เกาะง่ามใหญ่ และเกาะง่ามน้อย และส่วนที่มีปะการังที่มีการปกคลุมที่มาก
ที่สุด ร้อยละ 74 และ 68 คือ เกาะง่ามน้อย และเกาะอีแรด ซึ่งการบริเวณ
เกาะง่ามน้อยมีปะการังเขากวาง (Acropora spp.)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะง่ามใหญ่
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
1.4
1.6
Pocillopora Pavona Favia Favites Platygyra Porites
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะง่ามน้อย
0
10
20
30
40
50
60
70
80
Porites Plerogyra Pavona Pocillopora
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะมาตรา
0
10
20
30
40
50
60
70
80
Pocillopora Pavona Pachyseris Symphyllia Favia Favites Echinopora Porites
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะมะพร้าว
0
10
20
30
40
50
60
70
Pavona Turbinaria Lobophyllia Favia Favites Platygyra Porites Goniopora
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะอีแรด
0
10
20
30
40
50
60
70
80
Porites Plerogyra Pavona Pocillopora
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะละวะ
0
5
10
15
20
25
30
35
40
Pocillopora Plerogyra Galexea Pavona Symphyllia Favia Favites Porites Goniopora
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะลังกาจิว
0
10
20
30
40
50
60
70
Pocillopora Galaxea Galexea Pavona Symphyllia Favia Favites Platygyra Porites
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะกุลา
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
ประชากรปลาในแนวปะการัง
จากการศึกษาประชากรปลาในแนวปะการังทั้ง 7 สถานีศึกษา พบ
ปลาทั้งหมด 54 ชนิด ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides) ปลากะพงข้างปาน (Lutjanus
russelli) และปลากะพงเหลือง(Siganus javus) บริเวณสถานีศึกษาที่มี
ความหนาแน่นประชากรปลามาก คือ เกาะลังกาจิว เกาะง่ามใหญ่ และ
เกาะกุลา มีความหนาแน่น 1,985 , 1,656 และ 1,381 ตัวต่อ 250 ตาราง
เมตร ตามลาดับ และสถานีศึกษาที่มีความหนาแน่นประชากรปลากน้อย
ที่สุดคือ เกาะละวะ มีความหนาแน่น 512 ตัวต่อ 250 ตารางเมตร
ชนิดและความหนาแน่นของปลาบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร
(ตัว/250 ตารางเมตร)
ชนิดและความหนาแน่นของปลาบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร (ต่อ)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง มีการติดตามปะการัง
ฟอกขาว 6 สถานี คือ เกาะท้ายเพลา เกาะหินดับ เกาะวัว
กันตัง เกาะสามเส้า เกาะสามเส้าทิศเหนือ และเกาะสามเส้า
ทิศตะวันออก ซึ่งการปกคลุมของปะการังมากที่สุด ร้อยละ 34
และ 33 คือบริเวณ เกาะวัวกันตัง และเกาะสามเส้าทิศตะวันออก
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะท้ายเพลา การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะหินดับ
0
10
20
30
40
50
60
70
การปกคลุมพื้นที่(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะวัวกันตัง การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะสามเส้าทิศเหนือ
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะสามเส้าทิศตะวันตก
0
2
4
6
8
10
12
14
16
18
20
การปกคลุมพื้นที่ของปะการัง(ร้อยละ)
การปกคลุมพื้นที่ของปะการังบริเวณเกาะสามเส้าทิศตะวันออก
ประชากรปลาในแนวปะการัง
การศึกษาประชากรปลาในแนวปะการังทั้ง 5 สถานีศึกษา พบปลา
ทั้งหมด 24 ชนิด ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides) ปลาสลิดหินสามสี (Chrysiptera
rollandi) และปลาสลิดทะเลแถบ (Siganus javus) บริเวณสถานีศึกษาที่
มีความหนาแน่นประชากรปลามาก คือ เกาะวัวกันตัง เกาะหินดับ และ
สามเส้าทิศตะวันออก มีความหนาแน่น 895, 689 และ 688 ตัวต่อ 250
ตารางเมตร ตามลาดับ และสถานีศึกษาที่มีความหนาแน่นประชากรปลาก
น้อยที่สุดคือ เกาะท้ายเพลามีความหนาแน่น 301 ตัวต่อ 250 ตารางเมตร
ชนิดและความหนาแน่นของปลาบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
(ตัว/250 ตารางเมตร)
วงค์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย เกาะสามเส้าทิศตะวันออก เกาะสามเส้าทิศเหนือ เกาะวัวกันตัง เกาะท้ายเพลา เกาะหินดับ
Serranidae Cephalopholis boenak ปลากะรังบั้ง - 4 - 1 -
Cephalopholis formosa ปลากะรังท้องกาปั่น - - - 2 2
Apogonidae Apogon cyanosoma ปลาอมไข่เส้นเหลือง - - 3 - 3
Cheilodipterus macrodon ปลาอมไข่เขี้ยวใหญ่ - - 22 5 2
Lutjanidae Lutjanus russelli ปลากะพงข้างปาน - 1 - - -
Haemulidae Diagramma pictum ปลาสร้อยนกเขาหางเหยียด - - - - 3
Nemipteridae Scolopsis cilliatus ปลาทรายขาวเส้นขาว - - - 10 21
Scolopsis vosmeri ปลาทรายขาวคอขาว - 1 - 1 -
Chaetodontidae Chaetodon octofasciatus ปลาผีเสื้อแปดขีด 18 2 3 1
Chelmon rostratus ปลาผีเสื้อปากยาว 5 5 2 4 2
Pomacentridae Abudefduf sexfasciatus ปลาสลิดหินบั้งหางกรรไกร - - - - 1
Abudefduf bengalensis ปลาสลิดหินหางพัด 2 1 2 6
Neopomacentrus anabatoides ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว 650 270 850 170 620
Neopomacentrus bankieri ปลาสลิดเทาหางเหลือง - - 5 - 10
Pomacentrus polyspinus ปลาสลิดหินไทย 7 5 7 - -
Chromis flavipectoralis ปลาสลิดหินเทาหางขาว - - - 2 -
Chrysiptera rollandi ปลาสลิดหินสามสี - 20 2 40 4
Labridae Halichoeres nigrescens ปลานกขุนทองเกล็ดด่าง - - - 10 3
Halichoeres sp. ปลานกขุนทอง 5 7 3 -
Scaridae Scarus sp. ปลานกแก้ว - - - 20 -
Mugillidae Liza vaigiensis ปลากระบอกทะเล - - - 1 -
Siganidae Siganus javus ปลาสลิดทะเลแถบ 1 7 - 19 10
Siganus guttatus ปลาสลิดทะเลจุดเหลือง - - - - 1
Siganus virgatus ปลาสลิดทะเลแถบคู่ - - - 11 -
รวม 688 322 895 301 689
ข้อเสนอแนะการจัดการแนวปะการัง
1. สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์แนวปะการังในพื้นที่กับผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียในแนวปะการัง
2. สนับสนุนแนวทางการการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่าง
ยั่งยืน
3. เนื่องจากทุ่นไม่เพียงพอกับการเข้าใช้ประโยชน์ ควรออกแบบทุ่นเพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และเหมาะสมกับการใช้งาน
4. ป้องกันและปราบปรามการทาประมงผิดกฎหมายในเขตอุทยานอย่างเคร่งครัด
เช่น เรือไฟปั่น เรือตังเก ซึ่งปั่นไฟ ในแนวปะการัง
5. จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆในการท่องเที่ยวในแนวปะการังอย่างถูก
วิธี เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
6. สารวจติดตามสถานภาพแนวปะการังอย่างต่อเนื่อง
คณะทางานและผู้เชี่ยวชาญ
ภาพการทางานสารวจปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเล
ภาพปะการัง
www.dnpii.org

More Related Content

What's hot

Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์nopjira
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรAuraphin Phetraksa
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังAuraphin Phetraksa
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อPinNii Natthaya
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
วนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาว
วนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาววนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาว
วนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาวNutDoiy ND Punk
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
ปลูกปะการัง
ปลูกปะการังปลูกปะการัง
ปลูกปะการังsuphakrit
 

What's hot (19)

EcoSystem01
EcoSystem01EcoSystem01
EcoSystem01
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
 
032147
032147032147
032147
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
วนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาว
วนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาววนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาว
วนอุทธยานแห่งชาติภูสอยดาว
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
ปลูกปะการัง
ปลูกปะการังปลูกปะการัง
ปลูกปะการัง
 

Viewers also liked

แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 

Viewers also liked (20)

แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 

Similar to โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว

6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...Prachoom Rangkasikorn
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Attaporn Pituck
 

Similar to โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว (16)

6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
032147
032147032147
032147
 
032147 2
032147 2032147 2
032147 2
 
Coral lec02
Coral lec02Coral lec02
Coral lec02
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...สไลด์  ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
สไลด์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีอยู่ในจังหวัด ป.4+470+dltvsocp4+55t2soc p...
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 

More from Auraphin Phetraksa

แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (17)

แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 

โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว