SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ
พีพี
• การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางทะเล
ข้อมูลทั่วไปของอุทยาน
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะพีพี
แบ่งออกเป็น 7 หน่วยพิทักษ์และ 2 ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.1(หาดนพรัตน์ธารา)
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.2(สุสานหอย)
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.3 (เกาะไม้ไผ่)
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.4 (ทับแขก)
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ. 5 (อ่าวมาหยา)
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.6 (เกาะปอดะ)
 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.7 (เกาะพีพีดอน)
• ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอ่าวไร่เลย์
• ศูนย์ข้อมูลข่าวสารทะเลแขวก
ประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม
2526 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 47 ของประเทศ
ไทย มีเนื้อที่ประมาณ 387.90 ตารางกิโลเมตร
(242,437ไร่) ตั้งอยู่ในท้องที่อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
จัดตั้งขึ้นเนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีความสวยงามของสภาพ
ธรรมชาติเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางบกและมี
ความสาคัญต่อการท่องเที่ยวศึกษาหาความรู้การพักผ่อน
หย่อนใจและมุ้งหวังที่อนุรักษ์ให้คงอยู่สภาพเดิมตลอดไป
79 ม.5 ตาบลออ่าวนาง อาเภอเมือง
จังหวัดกระบี่
โทร 075-656150/075-
661145
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายประยูร พงศ์พันธ์
ตาแหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้อาวุโส
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี
โปรแกรมนาเที่ยวทางทะเล
4 เกาะ
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี
4 เกาะ
ทะเลแหวน,เกาะไก่,เกาะปอดะ,ถ้าพระนาง
เกาะพีพี
เกาะพีพี
เกาะไผ่,อ่าวลิง,อ่าวมาหยา,ถ้าไวกิ้ง,ปิเละลากูน,พีพีดอน
การอนุรักษ์ทรัพยากร
การท่องเที่ยวทางทะเล
• ท้องทะเลของโลกประกอบด้วย 71 เปอร์เซ็นของพื้นที่ทั้งหมดบนโลก อุดมไปด้วยสัตว์น้าหลากหลายเป็นระบบนิเวศสาคัญ
ต่อมนุษย์มาก
• แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมทางทะเลสามารถทาได้ดังนี้
• 1.ลดการใช้ถึงพลาสติก หรือ ใช้วัสดุทางเลือกใหม่ที่ปลอดภัยกว่า
2.ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
• 3.ช่วยกันลดขยะบนชายหาด
• 4.ลดการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นภัยต่อทะเล
การอนุรักษ์ทรัพยากร
การท่องเที่ยวทางทะเล
• 1.ลดการใช้ถึงพลาสติก หรือ ใช้วัสดุทางเลือกใหม่ที่ปลอดภัยกว่า
ทะเลของเราในแต่ละปีต้องเผชิญกับมลภาวะจากถุงพลาสติกประมาณ 17 ล้านปอนด์ที่ลอยอยู่ตามบริเวณต่างๆ ของมหาสมุทร ในแต่ละนาทีจะมีการทิ้งขยะ
จากพรากสติกนับคันรถลงในทะเล และพวกมันก็ไม่ได้ลอยหายไปไหน ดังนั้นสิ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาในระยะยาวได้คือการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการทั้งหลายหันมาลดการ
ใช้วัสดุพลาสติกกันให้น้อยลง เช่น ช้อนซ้อม, หลอด, ถ้วยกาแฟ, ขวดน้า, ถุงพลาสติก และฟิลม์ถนอมอาหาร
• 2.ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
คาร์บอนไดออกไซด์ถือเป็นก๊าซเรือนกระจกทาให้มหาสมุทรของเราเป็นกรดมากยิ่งขึ้น สิ่งนี้มีส่วนทาให้เกิดความเสียหายแก่ปะการังในสเกลระดับโลก เนื่องจากโครง
กระดูกแคลเซียมในปะการังอ่อนแอลงจากกรดที่เพิ่มขึ้นของน้าทะเล เราช่วยแก้ได้คนละไม้คนละมืออย่าง่ายๆ เช่น ปั่นจักรยาน หรือ ใช้รถสารธณะแทนรถยนต์ส่วนตัว,
ปิดไฟทุกครั้งที่เลิกใช้งาน
• 3.ช่วยกันลดขยะบนชายหาด
หนึ่งในปัญหาส่วนใหญ่คือขยะบนชายหาดที่นักท่องเที่ยวมักจะทิ้งเอาไว้ สิ่งนี้เป็นมลพิษต่อทางทะเลอย่างมาก เราควรจะช่วยกันเก็บขยะชายหาดเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม
แล้ว โดยไม่คานึงว่าขยะเหล่านี้เป็นของใคร การทาแบบนี้นอกจากจะช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติแล้ว ยังช่วยรักษาความสะอาดให้แก่ชายหาด ช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยวของ
ท้องถิ่น
• 4.ลดการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นภัยต่อทะเล
มีผลิตภัณฑ์มากมายที่มีส่วนในการทาร้ายสัตว์ใกล้สูญพันธุ์จากการจับของมนุษย์ อย่างเช่น เครื่องสาอางที่ทาจากฉลามสควาลีน, เครื่องประดับทาจากปะการังหรือ
กระดองเต่าทะเล นอกจากนี้สินค้าอานวยความสะดวกอย่าง พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวเช่นหลอดดูดน้า, ขวดน้าพลาสติก ที่จะไปจบลงอยู่ในทะเลในที่สุด
• มาตรการแก้ไขปัญหา
• หลังจากเรารับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และต้นเหตุของปัญหา การแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรก็สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยรวมแล้วจะมีด้วยกัน 8 ข้อ ได้แก่
• การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
• มีระบบจัดการที่ดี มีความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน
• มีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
• ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่
• สร้างกลไกการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
• สร้างองค์ความรู้และนาข้อมูลทางวิชาการมาประกอบการตัดสินใจ
• เสริมสร้างทักษะ ความรู้และความตระหนักที่เหมาะสม
• ฟื้นฟูระบบนิเวศที่เสื่อมโทรมและสร้างภูมิคุ้มกันของระบบนิเวศต่อความเปลี่ยนแปลงต่างๆ
• ด้วยมาตรการเหล่านี้เอง ที่จะช่วยให้การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและแหล่งท่องเที่ยวประสบความสาเร็จ แต่ทุกคนในระบบ องค์กรทุกกลุ่ม
จะต้องมีความร่วมมือ ช่วยเหลือกัน และลงมือปฏิบัติ ซึ่งเชื่อเหลือเกินว่า หากมีการใช้มาตรการเหล่านี้กันทุกภาคส่วนแล้ว การอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่าง
ยั่งยืน จะประสบความสาเร็จอย่างแน่นอน

More Related Content

Similar to อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx

Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
aunun
 

Similar to อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx (7)

พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 

อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx

  • 3. อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะพีพี แบ่งออกเป็น 7 หน่วยพิทักษ์และ 2 ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.1(หาดนพรัตน์ธารา)  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.2(สุสานหอย)  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.3 (เกาะไม้ไผ่)  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.4 (ทับแขก)  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ. 5 (อ่าวมาหยา)  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.6 (เกาะปอดะ)  หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ พพ.7 (เกาะพีพีดอน) • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอ่าวไร่เลย์ • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารทะเลแขวก ประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2526 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 47 ของประเทศ ไทย มีเนื้อที่ประมาณ 387.90 ตารางกิโลเมตร (242,437ไร่) ตั้งอยู่ในท้องที่อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ จัดตั้งขึ้นเนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีความสวยงามของสภาพ ธรรมชาติเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางบกและมี ความสาคัญต่อการท่องเที่ยวศึกษาหาความรู้การพักผ่อน หย่อนใจและมุ้งหวังที่อนุรักษ์ให้คงอยู่สภาพเดิมตลอดไป 79 ม.5 ตาบลออ่าวนาง อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ โทร 075-656150/075- 661145
  • 4. หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายประยูร พงศ์พันธ์ ตาแหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้อาวุโส อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี
  • 10. การอนุรักษ์ทรัพยากร การท่องเที่ยวทางทะเล • ท้องทะเลของโลกประกอบด้วย 71 เปอร์เซ็นของพื้นที่ทั้งหมดบนโลก อุดมไปด้วยสัตว์น้าหลากหลายเป็นระบบนิเวศสาคัญ ต่อมนุษย์มาก • แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมทางทะเลสามารถทาได้ดังนี้ • 1.ลดการใช้ถึงพลาสติก หรือ ใช้วัสดุทางเลือกใหม่ที่ปลอดภัยกว่า 2.ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ • 3.ช่วยกันลดขยะบนชายหาด • 4.ลดการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นภัยต่อทะเล
  • 11. การอนุรักษ์ทรัพยากร การท่องเที่ยวทางทะเล • 1.ลดการใช้ถึงพลาสติก หรือ ใช้วัสดุทางเลือกใหม่ที่ปลอดภัยกว่า ทะเลของเราในแต่ละปีต้องเผชิญกับมลภาวะจากถุงพลาสติกประมาณ 17 ล้านปอนด์ที่ลอยอยู่ตามบริเวณต่างๆ ของมหาสมุทร ในแต่ละนาทีจะมีการทิ้งขยะ จากพรากสติกนับคันรถลงในทะเล และพวกมันก็ไม่ได้ลอยหายไปไหน ดังนั้นสิ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาในระยะยาวได้คือการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการทั้งหลายหันมาลดการ ใช้วัสดุพลาสติกกันให้น้อยลง เช่น ช้อนซ้อม, หลอด, ถ้วยกาแฟ, ขวดน้า, ถุงพลาสติก และฟิลม์ถนอมอาหาร • 2.ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ถือเป็นก๊าซเรือนกระจกทาให้มหาสมุทรของเราเป็นกรดมากยิ่งขึ้น สิ่งนี้มีส่วนทาให้เกิดความเสียหายแก่ปะการังในสเกลระดับโลก เนื่องจากโครง กระดูกแคลเซียมในปะการังอ่อนแอลงจากกรดที่เพิ่มขึ้นของน้าทะเล เราช่วยแก้ได้คนละไม้คนละมืออย่าง่ายๆ เช่น ปั่นจักรยาน หรือ ใช้รถสารธณะแทนรถยนต์ส่วนตัว, ปิดไฟทุกครั้งที่เลิกใช้งาน • 3.ช่วยกันลดขยะบนชายหาด หนึ่งในปัญหาส่วนใหญ่คือขยะบนชายหาดที่นักท่องเที่ยวมักจะทิ้งเอาไว้ สิ่งนี้เป็นมลพิษต่อทางทะเลอย่างมาก เราควรจะช่วยกันเก็บขยะชายหาดเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม แล้ว โดยไม่คานึงว่าขยะเหล่านี้เป็นของใคร การทาแบบนี้นอกจากจะช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติแล้ว ยังช่วยรักษาความสะอาดให้แก่ชายหาด ช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยวของ ท้องถิ่น • 4.ลดการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นภัยต่อทะเล มีผลิตภัณฑ์มากมายที่มีส่วนในการทาร้ายสัตว์ใกล้สูญพันธุ์จากการจับของมนุษย์ อย่างเช่น เครื่องสาอางที่ทาจากฉลามสควาลีน, เครื่องประดับทาจากปะการังหรือ กระดองเต่าทะเล นอกจากนี้สินค้าอานวยความสะดวกอย่าง พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวเช่นหลอดดูดน้า, ขวดน้าพลาสติก ที่จะไปจบลงอยู่ในทะเลในที่สุด
  • 12. • มาตรการแก้ไขปัญหา • หลังจากเรารับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และต้นเหตุของปัญหา การแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรก็สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรวมแล้วจะมีด้วยกัน 8 ข้อ ได้แก่ • การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ • มีระบบจัดการที่ดี มีความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน • มีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ • ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่ • สร้างกลไกการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน • สร้างองค์ความรู้และนาข้อมูลทางวิชาการมาประกอบการตัดสินใจ • เสริมสร้างทักษะ ความรู้และความตระหนักที่เหมาะสม • ฟื้นฟูระบบนิเวศที่เสื่อมโทรมและสร้างภูมิคุ้มกันของระบบนิเวศต่อความเปลี่ยนแปลงต่างๆ • ด้วยมาตรการเหล่านี้เอง ที่จะช่วยให้การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและแหล่งท่องเที่ยวประสบความสาเร็จ แต่ทุกคนในระบบ องค์กรทุกกลุ่ม จะต้องมีความร่วมมือ ช่วยเหลือกัน และลงมือปฏิบัติ ซึ่งเชื่อเหลือเกินว่า หากมีการใช้มาตรการเหล่านี้กันทุกภาคส่วนแล้ว การอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่าง ยั่งยืน จะประสบความสาเร็จอย่างแน่นอน