SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงโครงข่าย
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน
นายจุฬา สุขมานพ
ผู้อำานวยการสำานักงานนโยบายและแผนการ
ขนส่งและจราจร
25 มกราคม
ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน การสร้างประชาคมอาเซียน
เพิ่มพูนความอยู่ดี
กินดีและวิถีชีวิต
ของประชากร
อาเซียน
ความเชื่อมโยงระหว่างกันของ
อาเซียน
ส่งเสริมการใช้กฎ
ระเบียบ
และธรรมภิบาลใน
อาเซียน
ส่งเสริมการใช้กฎ
ระเบียบ
และธรรมภิบาลใน
อาเซียน
เพิ่มพูนการรวมกลุ่มและ
เพิ่มความสามารถในการ
แข่งขันของอาเซียน
เพิ่มพูนการรวมกลุ่มและ
เพิ่มความสามารถในการ
แข่งขันของอาเซียน
ลดช่องว่างการพัฒนาลดช่องว่างการพัฒนา
ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน
การท่องเที่ยว การศึกษา วัฒนธรรม
การเชื่อมโยงทางกายภาพ
(Physical Connectivity)
การขนส่ง : อากาศ ถนน รถไฟ ทะเล
ท่าเรือ การบริการขนส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร:
โครงข่ายใยแก้วนำาแสง
พลังงาน : การเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้า
อาเซียน เขตเศรษฐกิจพิเศษ
การระดมทรัพยากร
ทรัพยากรของอาเซียน ธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคี
ประเทศคู่เจรจา ภาคเอกชน
2
การเชื่อมโยงทางสถาบัน
(Institutional Connectivity)
การเปิดเสรีอาเซียน : ความตกลงการค้าสินค้าใน
อาเซียน มาตรฐาน การบริการศุลกากร ณ จุดเดียว
การรวมศุลกากร
การเปิดเสรีการลงทุน :
ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน
การเปิดเสรีบริการ ข้อตกลงยอมรับร่วม ความตกลง
การขนส่งในภูมิภาค
โครงการเสริมสร้างศักยภาพ
0.0 5,000.0 10,000.0 15,000.0 20,000.0 25,000.0 30,000.0
No. of tourists (in thousand arrivals)
: ASEAN ปี 2011
Tourist arrivals in ASEAN
Malaysia 30.4%
Thailand 23.5%
Singapore 16.2%
Indonesia 9.4%
Viet Nam 7.4%
The Philippines 4.8%
Cambodia 3.55%
Lao PDR 3.3%
Myanmar 1.0%
Brunei Darussalam 0.3%
19 ล้านคน
80% เดินทางโดยเครื่องบิน
EVERY ROAD leads to Thailand
ท่าเรือพาณิชย์
เชียงแสน
สะพานข้ามแม่นำ้าโขง แห่งที่
4
ด่านหนองคาย
ด่านแม่สอด
ด่านอรัญประเทศ
ท่าเรือแหลม
ฉบัง
ท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ
ด่าน
สะเดา
ประตูการค้าหลัก
ประตูการค้าชายแดนที่สำาคัญ
 ท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ
 ท่าเรือแหลมฉบัง
ประตูการค้า
ชายแดน
เชื่อมต่อ
ท่าเทียบเรือพาณิชย์
เชียงแสน
สปป.ลาว
และจีน
สะพานข้ามแม่นำ้า
โขง แห่งที่ 4
สปป.ลาว
และจีน
ด่านหนองคาย จ.
หนองคาย
สปป.ลาว
ด่านอรัญประเทศ
จ.สระแก้ว
กัมพูชา
ด่านสะเดา จ.สงขลา มาเลเซีย 20
สถานภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน
คมนาคมขนส่งในปัจจุบัน
โครงข่ายทางหลวง โครงข่ายทางรถไฟ
สถานภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน
คมนาคมขนส่งในปัจจุบัน (ต่อ)
เส้นทางขนส่งท่าเรือ
ชายฝั่ง
โครงข่ายทางอากาศ
มาตรการสำาคัญในการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่าง
ประเทศ
รูปแบบ
การขนส่ง
การเชื่อมโยงทาง
กายภาพ
(Physical
Connectivity)
การเชื่อมโยงกฎ
ระเบียบ
(Institutional
Connectivity)
ทางนำ้า/
ทาง
อากาศ
ท่าเรือและการบริการ
ขนส่งทางเรือ/
ท่าอากาศยาน
และการบริการขนส่ง
ทางอากาศ
การอำานวยความ
สะดวกทางการค้า /
National Single
Window
ทางบก โครงข่ายถนนภายใน
ประเทศ และ โครงข่าย
ถนนระหว่างประเทศ
กฎระเบียบการขนส่ง
ทางถนน
ระหว่างประเทศ
การเชื่อมโยงทางกายภาพ และ กฎระเบียบ (Physical
and Institutional Connectivity) เป็นปัจจัยสำาคัญใน
การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี และทำาให้เกิดการเชื่อมโยง
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
เชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางอากาศ
Myanmar
Thailand
Singapore
Indonesia
Philippines
BruneiMalaysia
Vietnam
Singapore
Indonesia
Laos
Cambodia
Macau
2012 2013 2014 2015 ROUTE DEVELOPMENTROUTE DEVELOPMENT
การพัฒนาเส้น
ทางการบินใน
อนาคต
ในตลาด
อาเซียน
คาดการณ์ว่า
นักท่องเที่ยว
ในปี 2558 จะ
มีปริมาณผู้
โดยสาร
ประมาณ 28.6
ล้านคน (จากปี
2554 จำานวน
19.2 ล้านคน)
วิเคราะห์ SWOTการขนส่งทางอากาศของไทย
จุดแข็ง
-ที่ตั้งของไทยเป็นศูนย์กลางกลุ่มอาเซียน
-ไทยเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว
-โครงสร้างพื้นฐานอยู่ในเกณฑ์ดี
- มีสายการบินให้บริการครอบคลุมทุก
ระดับ
จุดอ่อน
-ท่าอากาศยานในภูมิภาคยังใช้ประโยชน์
ไม่เต็มที่
-ผลิตภัณฑ์การให้บริการบนเครื่องบิน
ไม่ทันสมัย
-ต้นทุนสูงกว่าเพื่อนบ้าน
-กฎ/ระเบียบ มีขั้นตอนมาก
-ขาดการเชื่อมโยงการเดินทางรูปแบบอื่น
โอกาส
-การเปิดตลาดการบินเสรีในอาเซียน
-AEC ผู้ประกอบการไทยลงทุนต่าง
ประเทศ
มากขึ้น
-จีน/อินเดีย เป็นตลาดการเดินทาง/ขนส่ง
ขนาดใหญ่
-สายการบินต้นทุนตำ่าได้รับความนิยม
-อัตราการขยายตัวของการขนส่งใน
เอเชียแปซิฟิค
ภัยคุกคาม
-มาตรการเข้มงวดเกี่ยวกับผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม เช่น EU เรียกเก็บ Carbon
Tax -ขนส่งทางอากาศอ่อนไหวต่อสภาวะ
แวดล้อมที่ผันผวนสูง
-เทคโนโลยีเครื่องบินพัฒนาให้บินได้ไกล
ขึ้น
-เกิดการเปลี่ยนแปลงเส้นทางบินของ
สายการบิน
-ธุรกิจการบินมีการแข่งขันสูง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบขนส่ง : การขนส่งทาง
อากาศ
วิสัยทัศน์ในช่วง 10 ปี ข้างหน้า
(พ.ศ. 2554-2563)
“เป็นศูนย์กลางการขนส่ง
ทางอากาศ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้
ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
พร้อมให้บริการทุกระดับที่
ปลอดภัย”• เพื่อให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็น
ศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศยานใน
ภูมิภาค (Aviation Hub)
• เพื่อให้การเดินทางทางอากาศมีค่าบริการ
ที่เหมาะสม แข่งขันได้กับรูปแบบการ
ขนส่งอื่นในระยะทางไกล
• เพื่อให้การขนส่งทางอากาศมีความ
ปลอดภัย 11
ครม. อนุมัติโครงการ 24 ส.ค.
53
ระยะเวลาดำาเนินการ 6 ปี
วงเงิน 62,503.214 ล้าน
บาท (รวมสำารองราคาและปริมาณงาน
เปลี่ยนแปลง 10% ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
และดอกเบี้ยระหว่างก่อสร้าง)
วัตถุประสงค์ เพิ่มขีดความ
สามารถในการรองรับจำานวนผู้โดยสาร
จาก 45 ล้านคนต่อปี เป็น 60 ล้านคน
ต่อปี แบ่งเป็น
ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 48 ล้าน
คนต่อปี (ปัจจุบัน 33)
ผู้โดยสารภายในประเทศ 12 ล้าน
คนต่อปี (ปัจจุบัน 12)
ประกอบด้วย
(1) กลุ่มงานอาคารเทียบเครื่องบินรอง
โครงการพัฒนา ทสภ.
(ปีงบประมาณ 54-60)
Concourse D SAT-1
2
1
ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
Suvarnabhumi Airport ประตูการค้าหลัก
โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 (ปี 54-60)
เปิดให้บริการ พ.ย. 60ติ 24 ส.ค. 53 วงเงินรวม 62,503.214 ล้านบาท
1.1 งานออกแบบและ
ก่อสร้างอาคารเทียบ
เครื่องบินรองหลังที่ 1
งบประมาณ
27,864.653 ล้านบาท
2.2 งานออกแบบและ
ก่อสร้างส่วนขยายอาคาร
ผู้โดยสารด้านทิศตะวัน
ออก
งบประมาณ 6,780.190
ล้านบาท
1.2 งานก่อสร้างลาน
จอดอากาศยาน
ประชิดอาคารเทียบ
เครื่องบินรองหลังที่ 1
งบประมาณ
4,907.342 ล้านบาท
2.1 งานออกแบบและ
ก่อสร้างอาคารสำานักงาน
สายการบินและที่จอดรถ
ด้านทิศตะวันออก (อาคาร
จอดรถ 1)
งบประมาณ 625.673 ล้าน
บาท
(3) งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค งบ
ประมาณ 2,693.219 ล้านบาท
(4) งานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ (PMC) งบ
ประมาณ 763.00 ล้านบาท
East R/W 4,000 m
West R/W
3,700 m
1.3 งานออกแบบและ
ก่อสร้างส่วนต่อเชื่อม
อุโมงค์ด้านทิศใต้ และ
ระบบขนส่งผู้โดยสาร
(APM)
งบประมาณ 7,973.072
ล้านบาท
คลัง
สินค้า
23
ขีดความสามารถในการรองรับสินค้า
ท่าอากาศยานสุวรร
ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
อาคารตัวแทนขนส่งสินค้า
ทางอากาศ
อาคารคลังสินค้า
อาคารผู้บริหารจัดการ
Free Zone
อาคารขนถ่ายสินค้า
(บกท.)
อาคารขนถ่ายสินค้า
(WFSPG)
สภาพปัจจุบัน พื้นที่ขนส่งสินค้าของ ทสภ. มีการบริหารจัดการแบบเขต
ปลอดพิธีการศุลกากร (Custom Free Zone) มีขนาดพื้นที่ตาม
แผนแม่บททั้งสิ้นประมาณ 660,573 ตารางเมตร สามารถรองรับ
ปริมาณสินค้าได้ประมาณ 3 ล้านตันต่อปี เมื่อทำาการขยายเต็ม
พื้นที่ โดยปัจจุบันพื้นที่ปลอดอากรของ ทสภ. มีการดำาเนินกิจกรรม
ดังนี้
1. การดำาเนินกิจกรรมการนำาเข้า ส่งออกสินค้าตามปกติ
(Direct Import and Export Transshipment Cargo and Transit
Cargo) ทอท.ได้ให้สิทธิในการบริหารจัดการคลังสินค้า แก่ บกท. และ
WFSPG
2. การดำาเนินกิจกรรมการเพิ่มมูลค่าสินค้า (Value Added
Area : VAA) ทอท. ได้ก่อสร้างอาคารคลังสินค้าเพิ่มมูลค่าไว้รองรับผู้
ประกอบการที่ประสงค์จะทำากิจกรรมเพิ่มมูลค่าจำานวน 3 หลังพื้นที่ประมาณ
9,250 ตารางเมตรต่อหลัง และจัดให้มีคลังสินค้าที่ผู้ประกอบการสามารถ
เข้ามาเช่าหรือใช้บริการเป็นรายวัน หรือรายเดือน เพื่อตอบสนองการเป็น
ศูนย์กระจายสินค้าแบบครบวงจรจำานวน 1 หลัง
ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
Cargo
(Thousand
Tonnes)
ปี
Total
Inbound &
Outbound
&Transit
Capacit
yค.ศ. พ.ศ.
Domest
ic
Interna
tional
200
6
254
9
1,264.8
1 59.9
1,204.9
1 1,700
200
7
255
0
1,294.9
4 54.01
1,240.9
4 1,700
200
8
255
1
1,242.5
0 51.33
1,191.1
7 1,700
200
9
255
2
1,083.9
8 49.21
1,034.7
7 1,700
201
0
255
3
1,352.2
8 57.19
1,295.0
9 1,700
201
1
255
4
1,354.7
2 60.55
1,294.1
7 1,700
201
2
255
5
1,471.8
8 60.99
1,410.8
9 1,700
201
3
255
6
1,533.9
8 63.55
1,470.4
3 1,700
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) มีปริมาณขนถ่ายสินค้าทาง
อากาศเข้า-ออก ในปี 54 เป็น 1.35 ล้านตัน โดยมีสัดส่วนร้อยละ 97
เป็นการขนถ่ายสินค้าระหว่างประเทศ
การเปรียบเทียบขีดความสามารถและการคาดการ
ปริมาณสินค้า ณ ทสภ
Capacity 1.7 Million tonnes/Yr
ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
FUTURE FUTURE
FUTURE
มีพื้นทีสำารองรอการพัฒนาเพื่อขยายขีดความ
สามารถในการรองรับสินค้าอีกประมาณ
124,203 ตารางเมตร โดยในปัจจุบัน WFSPG
ได้แจ้งความประสงค์ของขยายพื้นที่ให้บริการ
แล้ว
บกท.
พื้นที่จัดเก็บสินค้า
95,284 ตร.ม.
ขีดความสามารถ 1.2
ล้านตันตอปี
WFSPG
พื้นที่จัดเก็บสินค้า
44,880 ตร.ม.
ขีดความสามารถ 0.5
ล้านตันต่อปี
ปัจจุบัน
1.7 ล้านตันต่อปี
เมื่อพัฒนาเต็มพื้นที่ 3
ล้านตันต่อปี
ขีดความสามารถ
รองรับสินค้า
ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
1. โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่
2
2. ถนน 2 เส้นทาง
(1) สาย ฉช. 3001 แยก ทล. 314 - ลาดกระบัง –
จ.ฉะเชิงเทรา
(2) ถนนท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ A11
ถนนวัดกิ่งแก้ว – สาย A6 สมุทรปราการ
โครงการสนับสนุน ก่อน 55 55 56 57 58
ปี 59
เป็นต้นไป
สิ้นสุดปี 62
ก่อสร้างเสร็จ
หลังปี 2558
ลาดกระบัง - จ.ฉะเชิงเทราA11
–
ถนนวัดกิ่งแก้ว สาย A6
1
โครงข่ายคมนาคมรองรับ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
2
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ระยะที่ 2 เพิ่มขีดความ
สามารถรองรับผู้โดยสารได้
60 ล้านคน/ปี
25
2555
ขีดความสามารถ 16.5 MAP
การพัฒนาระยะที่ 1
นการปรับปรุงระหว่างช่วงปี 55
ดำาเนินการระหว่างปี 2556-59
ขีดความสามารถ 22.5 MAP
การพัฒนาระยะที่ 2
รองรับได้ถึงปี 65
ดำาเนินการระหว่างปี 2560-6
ขีดความสามารถ 27.5 MA
การพัฒนาระยะที่ 3
รองรับได้ถึงปี 70
20
แนวทางพัฒนาท่าอากาศยานดอนเมือง
ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
ลักษณะทางกายภาพ ท่า
อากาศยานภูเก็ต (ทภก)
นที่รวมประมาณ 1,500 ไร่
ทางวิ่ง 1 เส้น ขนาด
45x3,000 ม.
09
27
ทางวิ่ง 1 เส้น ขีดความสามารถ 20
เที่ยวบินต่อชั่วโมง
หลุมจอดอากาศยาน 15 หลุมจอด
แบ่งเป็น หลุมจอดประชิด
อาคาร 7 หลุมจอด
หลุมจอดระยะไกล 8 หลุม
จอด
อาคารผู้โดยสาร 6.5 ล้านคนต่อปี
แบ่งเป็น ผู้โดยสารระหว่างประเทศ
3.5 ล้านคนต่อปี
ผู้โดยสารภายในประเทศ
3 ล้านคนต่อปี
โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต
26ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยาน
- งานขยายทางขับ และ
ลานจอดอากาศยาน
595.92 ล้านบาท
- งานปรับปรุงระบบเติม
นำ้ามันอากาศยานทางท่อ
66.56 ล้านบาท
อาคาร GSE & OM
30.16 ล้านบาท
ระบบถนน 270.4 ล้าน
บาท ระบบ
สาธารณูปโภค 262.08
ล้านบาท
อาคารผู้โดยสาร
ระหว่างประเทศใหม่
2,288 ล้านบาท
อาคารสำานักงาน
ทภก.
126.88 ล้านบาท
อาคารบำารุง
รักษา และ คลัง
17.68 ล้านบาทอาคารจอด
รถยนต์
458.64 ล้านบาท
อาคารคลังสินค้า
88.4 ล้านบาท
อาคารดับเพลิง
และกู้ภัย
60.32 ล้านบาท
ปรับปรุงอาคารเดิม
เป็นอาคารผู้
โดยสารภายใน
ประเทศ
551.2 ล้านบาท
สรุปโครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต
ได้รับอนุมัติจาก ครม. เมื่อ 1 ธ.ค. 52 โดยมีระยะเวลาดำาเนินการรวม
47 เดือน
วงเงินลงทุนรวม 5,791.122 ล้านบาท (รวมสำารองราคาปริมาณงานเปลี่ยนแปลง
10% และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)
งานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 32 ล้านบาท
งานจ้างที่ปรึกษาบริหารโครงการ 72 ล้านบาท
เปิดให้บริการ ก.พ. 58นรวม 5,791.122 ล้านบาท 27
Contract FarmingEducation/Training
ท่าอากาศยาน
แม่สอด
ย่างกุ้ง
ทวาย
พิษณุโล
ก
ลำาปาง
เชียงให
ม่
แผนพัฒนาท่าอากาศยานแม่สอด
1. ขยายทางวิ่ง รองรับเครื่องบินขนาดใหญ่ขึ้น
2. ก่อสร้างอาคารผู้โดยสารใหม่
บรรทุกผู้โดยสาร
75 ลำา
27 ล้านบาท แบ่งเป็น
4-60 จำานวน 37 ลำา
1-65 จำานวน 38 ลำา
การ บกท.
นฝูงบิน 122 ลำา
 ดัดแปลงเครื่องบินบรรทุกสินค้า
(Freighter) B747-400 จำานวน 2 ลำา
ให้บริการแล้ว
วงเงินประมาณ 1,400 ล้านบาท
บรรทุกสินค้าได้ 100 ตันต่อเที่ยวบิน
 จะจัดหาเครื่องบิน
บรรทุกสินค้า
อีก 3 ลำา
ระหว่างปี 55-58
28
การจัดหาเครื่องบินของ บกท.
โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบ
บริการการเดินอากาศของ บวทบริการการเดินอากาศของ บวท ..
ปีงบประมาณปีงบประมาณ 2554 – 25562554 – 2556 วงเงินวงเงิน
4,460.314,460.31 ล้านบาทล้านบาท
ในอนาคตในอนาคต
New Air TrafficNew Air Traffic
ManagementManagement
เปลี่ยนถ่ายเทคโนโลยีการเดินอากาศจากเรดาร์เป็นระบบเปลี่ยนถ่ายเทคโนโลยีการเดินอากาศจากเรดาร์เป็นระบบ
ดาวเทียมเพื่อรองรับการจราจรได้มากขึ้น
29
• หลายประเทศแข่งขันเพื่อเป็นศูนย์กลางการบิน (Hub)
• ความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Mutual
Cooperation) เพื่อผลักดันให้ไทยเป็น Hub
ความท้าทายในอนาคต
30
• ประเทศเพื่อนบ้านเร่งพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และ
ลดการพึ่งพาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยมี
เที่ยวบินตรงสู่ต่างประเทศมากขึ้น
www.otp.go.th

More Related Content

What's hot

8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
apple_clubx
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
pongpangud13
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
Nattakorn Sunkdon
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
Pyns Fnm
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
Nattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
3012 bdc412-bb qplaza
3012 bdc412-bb qplaza3012 bdc412-bb qplaza
3012 bdc412-bb qplaza
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Presentation google
Presentation  googlePresentation  google
Presentation google
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 

Viewers also liked

บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
재 민 Praew 김
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
praphol
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
재 민 Praew 김
 
การตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบินการตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบิน
Mint NutniCha
 
ข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอท
ข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอทข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอท
ข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอท
guest8c0648
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
Netsai Tnz
 
การรถไฟแห่งประเทศไท1
การรถไฟแห่งประเทศไท1การรถไฟแห่งประเทศไท1
การรถไฟแห่งประเทศไท1
Puripat Duangin
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
praphol
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 
921201 air transport system-songkran-week1
921201 air transport system-songkran-week1921201 air transport system-songkran-week1
921201 air transport system-songkran-week1
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
 
การตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบินการตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบิน
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชร
 
Unit6 1
Unit6 1Unit6 1
Unit6 1
 
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
 
Internal audit ท่าเรือแหลมฉบัง
Internal audit ท่าเรือแหลมฉบังInternal audit ท่าเรือแหลมฉบัง
Internal audit ท่าเรือแหลมฉบัง
 
ข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอท
ข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอทข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอท
ข้อมูลการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ ทอท
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
การรถไฟแห่งประเทศไท1
การรถไฟแห่งประเทศไท1การรถไฟแห่งประเทศไท1
การรถไฟแห่งประเทศไท1
 
Jpff
JpffJpff
Jpff
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Case Study : E-bay
Case Study : E-bayCase Study : E-bay
Case Study : E-bay
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1
 

More from CATC-ACM

ข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิด
ข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิดข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิด
ข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิด
CATC-ACM
 

More from CATC-ACM (8)

AIR CARGO BUSINESS 2023.pdf
AIR CARGO BUSINESS 2023.pdfAIR CARGO BUSINESS 2023.pdf
AIR CARGO BUSINESS 2023.pdf
 
Air Transport courses Lesson plan by SONGKRAN CHAIHAWONG
Air Transport courses  Lesson plan by SONGKRAN CHAIHAWONG  Air Transport courses  Lesson plan by SONGKRAN CHAIHAWONG
Air Transport courses Lesson plan by SONGKRAN CHAIHAWONG
 
ข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิด
ข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิดข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิด
ข้อดีและข้อเสียของพาเลทแต่ละชนิด
 
The value chain
The value chainThe value chain
The value chain
 
cargo tool- week 3 by AJ'SONGKRAN
cargo tool- week 3 by AJ'SONGKRANcargo tool- week 3 by AJ'SONGKRAN
cargo tool- week 3 by AJ'SONGKRAN
 
Air cargo indutry week 4
Air cargo indutry  week 4 Air cargo indutry  week 4
Air cargo indutry week 4
 
Week 2-2
Week 2-2 Week 2-2
Week 2-2
 
Week 2-1 Foundations of Air cargo Industry
Week 2-1 Foundations of Air cargo Industry Week 2-1 Foundations of Air cargo Industry
Week 2-1 Foundations of Air cargo Industry
 

การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่

Editor's Notes

  1. หลักการและเหตุผลการจัดตั้งการเชื่อมต่ออาเซียน เป็นก้าวสำคัญสู่การเป็นประชาคมอาเซียน เป็นกลไกสำคัญในการลดช่องว่างของการพัฒนาระหว่างชาติสมาชิก เป็นกุญแจของการบรรลุการเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เป็นกลไกสำคัญของการป้องกันและแก้ไขปัญหาระหว่างชาติสมาชิก หลักการสำคัญของแผนแม่บทการเชื่อมต่ออาเซียน เร่งรัดแต่ไม่เป็นอุปสรรค์ต่อข้อริเริ่มที่มีอยู่แล้ว ตลอดจนส่งเสริมการเป็นประชาคมอาเซียน สร้างผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย สร้างความสอดประสานระหว่างยุทธศาสตร์และแผนงานต่างๆ สร้างความสมดุลย์ของผลประโยชน์ของทุกฝ่าย สร้างการเชื่อมโยงระหว่างแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะ ส่งเสริมพลวัตรของการแข่งขัน สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน การมีรูปแบบระดมทุนที่ชัดเจน องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออาเซียน ทางกายภาพ เพื่อพัฒนาโครงข่ายการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และพลังงาน ให้มีบูรณาการและประสิทธิภาพ ทางสถาบัน เพื่อให้มียุทธศาสตร์ ข้อตกลง กลไกทางกฎหมายและทางสถาบัน ทางประชาชน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีพ รวมถึงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างกัน
  2. ซึ่งประเทศไทยนั้นเมื่อพิจารณาจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์แล้วมีความได้เปรียบเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่แล้ว ดังนั้นประเด็นนี้จึงต้องเป็นโจทย์ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของทั้ง หน่วยที่รับผิดชอบบริหารท่าอากาศยาน และหน่วยที่บริหารสายการบินแห่งชาติที่จะต้องกำหนดแผนในการรองรับ scenario ดังกล่าว