SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
การติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
ในอุทยานแห่งชาติทางทะเล
ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๗
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พื้นที่ชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะส่วนใหญ่เป็นพื้นที่หาดทราย เนื่องจากเป็น
พื้นที่เปราะบางและอ่อนไหวต่อการกัดเซาะเนื่องจากอิทธิพลของกระแสลมและ
กระแสน้้าและเกิดขึ้นรุนแรงในช่วงฤดูมรสุม การเปลี่ยนแปลงพื้นหาดทรายหรือ
หาดทรายที่ถูกกัดเซาะ จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศที่สัมพันธ์และเชื่อมโยงกัน
ในหลายระบบ เช่น ระบบนิเวศชายหาด ระบบนิเวศป่าชายเลน ปะการัง และ
แหล่งหญ้าทะเล และระบบนิเวศอื่น ๆ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและติดตามการเปลี่ยนแปลงหาดทราย ในช่วงเดือน
ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557
2. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงหาดทราย
3. เพื่อเสนอแนวทางการจัดการพื้นที่กัดเซาะในอุทยานแห่งชาติโดยเน้น
กระบวนการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน
4. เพื่อวางระบบการติดตามตรวจสอบ (monitoring) ในระยะยาวอย่างเป็น
ระบบเพื่อเป็นหลักประกันความยั่งยืนของความหลากหลายทางชีวภาพทั้งใน
พื้นที่
พื้นที่ดาเนินงาน
มีเป้าหมายในการด้าเนินการเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเล รวมทั้งสิ้น
จ้านวน 12 อุทยานแห่งชาติ ได้แก่
1) ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล
จังหวัดตรัง รับผิดชอบ
- อุทยานแห่งชาติเกาะลันตา
- อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี
- อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
- อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
2) ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
รับผิดชอบ
- พื้นที่ตอนเหนือของอุทยานแห่งชาติสิรินาถ
- พื้นที่ด้านทิศตะวันตกของอุทยานแห่งชาติเขาล้าปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ เขาหลัก- ล้ารู่
- อุทยานแห่งชาติแหลมสน
3) ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร
รับผิดชอบ
- อุทยานแห่งชาติหาดวนกร
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร
- อุทยานแห่งชาติธารเสด็จ-เกาะพงัน
- อุทยานแห่งชาติหาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
วิธีการดาเนินงาน
1. รวบรวมข้อมูลการกัดเซาะหาดทรายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและข้อมูลอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นลักษณะของชายหาดและข้อมูลน้้าขึ้น-น้้าลง และก้าหนดเป็น
พื้นที่เป้าหมาย
2. การส้ารวจพื้นที่
(1) ท้าการส้ารวจพื้นที่ชายหาดที่ต้องการท้าภาพตัดขวางความสูง-ต่้า
ของชายหาด
(2) ก้าหนดพื้นที่เป้าหมาย โดยศึกษาจากลักษณะของชายหาด เพื่อ
ก้าหนดต้าแหน่งส้าหรับท้าภาพตัวขวางความสูง-ต่้าของชายหาด (Beach
Profile) ในพื้นที่ศึกษา
วิธีการดาเนินงาน (ต่อ)
2.1 เลือกและก้าหนดจุดเริ่มต้นของแต่ละแนว โดยการเลือก
จุดที่สามารถมองเห็นชัดเจนและมั่นคงถาวร เช่น แนวต้นไม้หรือโขดหิน เพื่อ
เป็นจุดอ้างอิงส้าหรับการส้ารวจในครั้งต่อไป
2.2 ก้าหนดแนวส้ารวจที่ตั้งฉากกับแนวชายฝั่ง ส้ารวจโดย
เลือกพื้นที่ที่มีปัญหาการกัดเซาะและพื้นที่ตัวแทนแต่ละสถานการณ์
(3) ก้าหนดระยะในแต่ละแนวส้ารวจจากจุดเริ่มต้น (จุดอ้างอิง : B.M.)
ไปจนถึงแนวน้้าลงต่้าสุดตามความกว้างของหาดทราย และท้าเครื่องหมาย
จุดอ้างอิงในแต่ละแนวส้ารวจ พร้อมทั้งบันทึกต้าแหน่งจุดอ้างอิงด้วยเครื่องบอก
พิกัดต้าแหน่งทางภูมิศาสตร์ (GPS)
วิธีการดาเนินงาน(ต่อ)
(4) ท้าการวัดค่าระดับความสูงของพื้นชายหาดด้วยวิธีระบบแนวเล็ง
(collimation system of reduction) โดยเริ่มที่จุด B.M.ที่ก้าหนดไว้แล้ว
ข้างต้น (B.M. = 0.000 เมตร) ไปตามแนวส้ารวจไปถึงแนวเขตน้้าทะเล
(5) วัดค่าระดับทุกๆ 2 เมตรไปจนถึงแนวเขตน้้าทะเล บันทึกผลใน
ตารางบันทึกผลสนาม(ภาคผนวก)
(6) บันทึกระยะทางจากจุด B.M. ถึงจุดสุดท้ายที่วัดค่าระดับความสูง
ของพื้นชายหาด
(7) ค้านวณผลและสร้างภาพหน้าตัดขวางความสูง-ต่้าของพื้นที่
ชายหาด และน้าไปเปรียบเทียบวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงหาดทราย
และค้านวณหาปริมาณมวลทรายที่เปลี่ยนแปลง โดยการใช้สูตรการหาพื้นที่ใต้
กราฟ (สูตรพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู) ของภาพตัดขวางความสูง-ต่้าของชายหาด
สูตรการหาพื้นที่ใต้กราฟ
จากสูตรพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูจะได้ พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูรูปที่ i คือ
𝐴𝑖 =
Δ𝑋
2
[𝑓 𝑋𝑖−1 + 𝑓 𝑋𝑖 ]
อินทิกรัลจ้ากัดเขต 𝑓 𝑥 𝑑𝑥
𝑏
𝑎
มีค่าประมาณเท่ากับ 𝐴0 + 𝐴1 + 𝐴2 + ⋯ 𝐴 𝑛
ซึ่งเท่ากับ Δ𝑋
2
𝑓(𝑋0 + 𝑓(𝑋1)] +
Δ𝑋
2
𝑓(𝑋1 + 𝑓(𝑋2)] +
Δ𝑋
2
𝑓(𝑋2 + 𝑓(𝑋3)] +
…+
Δ𝑋
2
𝑓(𝑋 𝑛−1 + 𝑓(𝑋 𝑛)]
(๘) ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงชายหาดกับภาพถ่ายดาวเทียมในปีที่ผ่านมา
ติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยการ
แปลความหมายจากภาพถ่ายดาวเทียม โดยวิธีการแปลความหมายด้วยสายตา
(Visual Interpretation) ซึ่งกาหนดขอบเขตชายฝั่งจากแนวของต้นไม้หรือพืช
พันธุ์บริเวณชายหาด (Vegetation line) และใช้ข้อมูลนี้เป็นตัวแทนเส้นแนว
ชายฝั่งทะเล โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมไทยโชต ปี พ.ศ. 2553 ถึงปี พ.ศ. 2557
นาข้อมูลเส้นแนวชายฝั่งทะเลที่ได้จากการแปลความหมายจากภาพถ่ายดาวเทียม
ไทยโชต ปี พ.ศ. 2553 ถึงปี พ.ศ. 2557 มาเปรียบเทียบกัน เพื่อประเมินการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เกิดขึ้นกับแนวชายฝั่งทะเลในช่วงระยะเวลา 5 ปี และ
คานวณหาอัตราการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น พื้นที่
ถูกกัดเซาะ พื้นที่ที่มีการสะสมตัว พื้นที่คงสภาพ โดยใช้เทคนิคการซ้อนทับข้อมูล
(Overlay) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ของโปรแกรม ArcGIS
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา Beach Profile
GPS
กล้องระดับอัตโนมัติ
SOKKIA AUTOMATIC LEVEL
เส้นเทปวัดระยะ
ขากล้องระดับ ไม้ระดับความสูง
กล้องถ่ายรูป
โครงการติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
ในอุทยานแห่งชาติทางทะเล
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง
พื้นที่ศึกษา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของ
ชายหาดและความกว้างของชายหาดในบริเวณ
อุทยานแห่งชาติ 4 แห่ง คือ
1. อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา –
หมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่
2. อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
จังหวัดกระบี่
3. อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
จังหวัดตรัง
4. อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล
พื้นที่ทาการศึกษา
การติดตามการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาด
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา–หมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่
1. หาดนพรัตน์ธาราและอ่าวนาง(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ พพ.1)
2. เกาะไก่ (หน่วยบริการข้อมูลข่าวสารทะเลแหวก)
3. เกาะปอดะ(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ พพ.6)
4. เกาะไม้ไผ่ (หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ พพ.3)
ผลการศึกษา หาดนพรัตน์ธาราและอ่าวนาง
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ พพ.1)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษาพบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 1,220 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 3,263 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 1,016.50 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 5 ปี ย้อนหลัง
ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 ถึงปี พ.ศ.2557 แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาด
โดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินประมาณ 5 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปี
ละ 1 เมตร
ผลการศึกษา เกาะพีพี
เกาะพีพีมีชายหาด 2 ฝั่ง คือ อ่าวต้นไทรเมตร และ
อ่าวโละดาลัมรวมทั้ง 2 อ่าว ยาว 2,352 เมตร
ผลของการศึกษาของพื้นที่ชายฝั่ง พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 960.50 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 1,147.70 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 187.50 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 5 ปี ย้อนหลัง
ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 - 2557 แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัด
เซาะเข้าไปในแผ่นดินประมาณ 1 - 12 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ
2.40 เมตร
ผลการศึกษาเกาะไก่
(หน่วยบริการข้อมูลข่าวสารทะเลแหวก)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษาพบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 277 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 143.80 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 16 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 5 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดิน
ประมาณ 1 - 4 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 0.8 เมตร
ผลการศึกษาเกาะปอดะ
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ พพ.6)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 650.80 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 624.80 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 67 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 5 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดิน
ประมาณ 5 - 20 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 4 เมตร
ผลการศึกษาเกาะไม้ไผ่
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ พพ.3)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 807 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 311.50 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 76.70 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 5 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดที่อยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ ของ
เกาะไม้ไผ่โดนกัดเซาะรุนแรงมากที่สุดเข้าไปในแผ่นดินและแนว
ต้นสนประมาณ 10 – 20 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 4 เมตร
พื้นที่ทาการศึกษา
การติดตามการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาด
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตาจังหวัดกระบี่
1.แหลมโตนดเกาะลันตาใหญ่
2.เกาะไหง(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ลต.2)
3.เกาะรอก(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ลต.1)
ผลการศึกษา แหลมโตนด เกาะลันตาใหญ่
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 278 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีเป็นระยะทางรวม 99.70 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีเป็นระยะทาง 102 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 4 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินประมาณ
1-5 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 1.25 เมตร
ผลการศึกษาเกาะรอก
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ลต.1)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 620 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 312.50 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 418 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 4 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดิน
ประมาณ 1 – 3 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 0.75 เมตร
ผลการศึกษาเกาะไหง
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ลต.2)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 902.90 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 639 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 492 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 4 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดิน
ประมาณ 1 - 5 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 1.25 เมตร
พื้นที่ทาการศึกษา
การติดตามการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาด
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมจังหวัดตรัง
1.หาดปากเมง(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ จม.4)
2.เกาะกระดาน(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ จม.3)
ผลการศึกษาหาดปากเมง
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ จม.4)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่มีการกัดเซาะมีระยะทางรวม 9,270 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 3,059 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 1,925 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 4 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินประมาณ
5 – 20 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 5 เมตร
ผลการศึกษาเกาะกระดาน
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ จม.3)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 1,126 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 786 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 164 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 4 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินประมาณ
1 - 6 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 1.5 เมตร
พื้นที่ทาการศึกษา
การติดตามการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาด
อุทยานแห่งชาติตะรุเตาจังหวัดสตูล
1.แหลมสนเกาะอาดัง(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตต.5)
2.หาดทรายขาวเกาะราวี (หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตต.6)
3.อ่าวพันเตมะละกาเกาะตะรุเตา
แหลมสนเกาะอาดัง
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตต.5)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 432 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว)มีระยะทางรวม 368.50 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 194.60 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 1 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดด้านตะวันตกของแหลมสนโดนกัด
เซาะเข้าไปในแผ่นดินประมาณ 3 - 14 เมตร
หาดทรายขาวเกาะราวี
(หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตต.6)
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 404 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีระยะทางรวม 74 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 166 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 3 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินประมา
1 – 10 เมตร เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 3.3 เมตร
อ่าวพันเตมะละกา เกาะตะรุเตา
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมผลของการศึกษา พบว่า
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ มีระยะทางรวม 945.60 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว)มีระยะทางรวม 523 เมตร
- พื้นที่ชายฝั่งทะเลที่คงสภาพ มีระยะทางรวม 169 เมตร
จากการส้ารวจแปลภาพถ่ายดาวเทียม 3 ปี ย้อนหลัง
แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายหาดโดนกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดิน
ประมาณ 5 -12 เฉลี่ยถูกกัดเซาะปีละ 4 เมตร
ผลการศึกษา อ่าวพันเตมะละกา เกาะตะรุเตา
ก่อนมรสุม ช่วงมรสุม
จากการส้ารวจอ่าวพันเตมะละกา ได้ท้าการส้ารวจ
ในช่วงก่อนมรสุม(เมษายน) และช่วงมรสุม(กรกฎาคม)
พบว่าในช่วงก่อนมรสุม มีปริมาณมวลทรายที่เข้ามา
สะสมตัวที่ชายหาดจ้านวนมากตลอดทั้งแนว แต่ช่วงมรสุมพบว่า
ชายหาดมีลักษณะลาดชันลงสู่ทะเลปริมาณมวลทรายถูกพัดออก
สู่ทะเลเป็นจ้านวนมาก แสดงว่าช่วงมรสุมมวลทรายมีการ
เคลื่อนย้ายออกจากชายหาดในปริมาณมากกว่าช่วงก่อนมรสุม
คือ -945.4997 ลูกบาศก์เมตร สาเหตุเกิดจากได้รับอิทธิพลจาก
ลมมรสุมและพายุคลื่นลมแรงที่พัดสู่เข้าฝั่งจึงท้าให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงของมวลทรายอย่างเห็นได้ชัดเจน
ผลการศึกษา
ติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด โดยการแปลความหมายจาก
ภาพถ่ายดาวเทียมด้วยวิธีการแปลความหมายด้วยสายตา (Visual Interpretation)
ภาพถ่ายดาวเทียม
ไทยโชต ปี 2553
ภาพถ่ายดาวเทียม
ไทยโชต ปี 2557
การเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง
ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะรุนแรง (severe erosion coast)
มีอัตราการกัดเซาะต่อปี มากกว่า 5 เมตร ขึ้นไป มีการสูญเสียที่ดินมาก
ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะปานกลาง (moderate erosion coast)
มีอัตราการกัดเซาะต่อปี 1-5 เมตร มีการสูญเสียที่ดินชายฝั่งแบบค่อยเป็นค่อยไป
ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว (depositional coast)
มีอัตราการสะสมตัวของตะกอนในพื้นที่ตั้งแต่ 1-5 เมตรต่อปี
ชายฝั่งคงสภาพ (stable coast)
มีอัตราการกัดเซาะและสะสมตัวทั้งสองฤดูในปริมาณที่เท่ากันหรือเกือบเท่ากัน ± 1เมตรต่อปี
สรุปผลการศึกษา
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา หมู่เกาะพีพี จ.กระบี่
จากการศึกษาพบว่ามีพื้นที่ที่วิกฤต เนื่องจากมีการ
กัดเซาะรุนแรง คือมีการสูญเสียที่ดินมาก เกิดความเสียหายต่อ
ทรัพยากรและทรัพย์สินที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ เกาะไม้ไผ่ และ
เกาะพีพี ถูกกัดเซาะ 5 – 20 เมตร ในระยะเวลา 4 ปีย้อนหลัง
เฉลี่ย 5 เมตร/ปี
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จ.กระบี่
จากการศึกษาพบว่าเป็นพื้นที่ที่มีการกัดเซาะปาน
กลาง คือ มีการสูญเสียที่ดินชายฝั่งแบบค่อยเป็นค่อยไป การกัด
เซาะยังคงเกิดขึ้นและทวีความรุนแรง ได้แก่ แหลมโตนด ถูกกัด
เซาะ 1 – 5 เมตร ในระยะเวลา 4 ปีย้อนหลัง เฉลี่ย 1.25 เมตร/
ปี
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง
จากการศึกษาพบว่ามีพื้นที่ที่วิกฤต เนื่องจากมีการ
กัดเซาะรุนแรง คือมีการสูญเสียที่ดินมาก เกิดความเสียหายต่อ
ทรัพยากรและทรัพย์สินที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ หาดปากเมง ถูก
กัดเซาะ5 – 20 เมตร ในระยะเวลา 4 ปีย้อนหลัง เฉลี่ย 5 เมตร/
ปี
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จ.สตูล
จากการศึกษาพบว่ามีพื้นที่ที่วิกฤต เนื่องจากมีการ
กัดเซาะรุนแรง คือมีการสูญเสียที่ดินมาก เกิดความเสียหายต่อ
ทรัพยากรและทรัพย์สินที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ แหลมสน เกาะอา
ดัง ถูกกัดเซาะ 5 – 12 เมตร ในระยะเวลา 2 ปีย้อนหลัง เฉลี่ย 6
เมตร/ปี
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ช่วงฤดูกาล ทิศทางของคลื่น ลม ปริมาณการ
ขึ้นลงของน้าทะเล ลมมรสุมต่างๆ สิ่งปลูกสร้างและกิจกรรมของมนุษย์ รวมทั้งระดับของน้า
ทะเลปัจจุบันที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ทาให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของชายหาดทั้งสิ้น
สรุปผลการศึกษา (ต่อ)
ภาพการปฏิบัติงานติดตามการเปลี่ยนแปลงชายหาด
สภาพการถูกกัดเซาะของชายหาด
โครงการติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
ในอุทยานแห่งชาติทางทะเล
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
พื้นที่ศึกษา
อุทยานแห่งชาติแหลมสน
อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลารู่
อุทยานแห่งชาติเขาลาปี-หาดท้ายเหมือง
อุทยานแห่งชาติสิรินาถ
วิธีการศึกษา
การส้ารวจภาคสนาม (Field Survey)
ส้ารวจระดับสูง-ต่้าของชายหาด (Beach Profile) ก้าหนดแนวส้ารวจ
ที่ตั้งฉากกับแนวชายฝั่ง จ้านวน 116 แนวส้ารวจ
- หาดประพาส อช.แหลมสน จ้านวน 28 แนว
- หาดประพาส อช.แหลมสน จ้านวน 28 แนว
- หาดเล็ก อช.เขาหลัก-ล้ารู่ จ้านวน 4 แนว
- หาดท้ายเหมือง อช.เขาล้าปี-หาดท้ายเหมือง จ้านวน 45 แนว
- หาดไม้ขาวและในยาง อช.สิรินาถ จ้านวน 39 แนว
สารวจระดับสูง-ต่าของชายหาด (Beach Profile) (ต่อ)
- ก้าหนดจุดอ้างอิง โดยการโยงยึดค่าระดับความสูงของพื้นที่
- ก้าหนดระยะในแต่ละแนวส้ารวจจากจุดอ้างอิง ไปจนถึงแนวน้้าลง
ต่้าสุดตามความกว้างของหาดทราย พร้อมและบันทึกพิกัดจากหมุดหลักฐาน
อ้างอิง GPS และท้าหมุดหลักฐานชั่วคราววัดค่าระดับความสูงของพื้น
ชายหาดด้วยกล้องระดับ จากจุดอ้างอิงไปถึงแนวเขตน้้าทะเล และอ่านค่า
ระดับทุกๆ 5 เมตรส้ารวจความสูง-ต่้าของชายหาด 2 ครั้ง แบ่งเป็นช่วงฤดู
ปลอดมรสุม และช่วงฤดูมรสุม
อุทยานแห่งชาติแหลมสน อุทยานแห่งเขาหลัก-ลารู่
อุทยานแห่งชาติเขาลาปี-หาดท้ายเหมือง อุทยานแห่งสิรินาถ
ตาแหน่งของขอบเขตเส้นชายฝั่งที่ทาการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง
ตัวแปรที่ใช้คานวณระยะทางที่ตั้งฉากกับชายฝั่ง (กรมทรัพยากรธรณี (2549))
การเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของ สิน สินสกุลและคณะ (2545)
ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะรุนแรง มีอัตราการกัดเซาะ มากกว่า 5 เมตรต่อปี
ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะปานกลาง มีอัตราการกัดเซาะ 1-5 เมตรต่อปี
ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว มีอัตราการสะสมตัว มากกว่า 1 เมตรต่ อปี
ชายฝั่งคงสภาพ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงไม่เกิน 1 เมตรต่อปี
การแปลผลการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง
ผลการศึกษา
สัณฐานชายหาดอุทยานแห่งชาติแหลมสน
การกัดเซาะชายฝั่งเกิดขึ้นทั้งสองฤดูกาลอัตราต่างกัน ในช่วงฤดูมรสุม
เกิดการกัดเซาะมากกว่าทั้งในระยะทางราบและระยะทางดิ่ง กัดเซาะไปจนถึง
แนวสนท้าให้ต้นสนล้มหน้าหาดจ้านวนหลายต้น มวลทรายเคลื่อนตัวจากหน้า
หาดจ้านวนมาก ท้าให้ชายหาดมีความชันมากขึ้นและเกิดการกัดเซาะเป็น
แนวดิ่ง เกิดการกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินในระยะทางราบประมาณ 1-10 เมตร
และระยะทางดิ่ง 0-1 เมตร การกัดเซาะชายหาดเกิดขึ้นมากที่สุดในระยะราบ
ประมาณ 10 เมตร มีความสูงมากที่สุดประมาณ 1 เมตร
สัณฐานชายหาดอุทยานแห่งชาติแหลมสน
-2.00
-1.50
-1.00
-0.50
0.00
0.50
1.00
1.50
2.00
2.50
3.00
0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 140.0
ระดับความสูง(เมตร)
ความกว้างของหาด
แนวสารวจที่ 3
ม.ค.
ส.ค.
-1.50
-1.00
-0.50
0.00
0.50
1.00
1.50
2.00
2.50
3.00
3.50
4.00
0 20 40 60 80 100 120
ระดับความสูง(เมตร)
ความกว้างของหาด (เมตร)
แนวสารวจที่ 18
ม.ค.
ส.ค.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายชายฝั่งอุทยานแห่งชาติแหลมสน
แนวสารวจ
ปริมาณทราย (ลูกบาศก์เมตร)
ปริมาณทรายสุทธิ
มกราคม สิงหาคม
ปริมาณทราย
เพิ่มขึ้น
ปริมาณทราย
ลดลง
แนวสารวจที่ 3-5 18,080.34 14,581.27 130.45 3,629.52 -3,499.07
แนวสารวจที่ 27-28 11,010.37 14,173.22 2.58 3,165.43 -3,162.86
โครงสร้าง 3 มิติของชายหาดบริเวณแนวสารวจที่ 27 ถึง 28
เดือนมกราคม เดือนมิถุนายน
- ปริมาณมวลทรายลดลง
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งอุทยานแห่งชาติแหลมสน
ระยะเวลา 7 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2549 ถึงปี พ.ศ. 2556
พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ 48,451.14 ตารางเมตร (30.28 ไร่)
พื้นที่สะสมตัวประมาณ 27,408.94 ตารางเมตร (17.13 ไร่) อัตราการ
กัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตรต่อปี มีแนวกัดเซาะกว้างสุดประมาณ 32.6 เมตร จัดอยู่
ในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง
อัตราการสะสมทรายชายฝั่งเฉลี่ย 11.11 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบ
ชายฝั่งสะสมตัว ซึ่งการสะสมตัวเกิดขึ้นมากที่สุดบริเวณปากคลองก้า พวน ด้าน
ทิศเหนือสุดของหาดประพาส
อุทยานแห่งชาติแหลมสน
พื้นที่ชายฝั่งที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะชายฝั่งอุทยานแห่งชาติแหลมสน
บริเวณตอนเหนือของหาดประพาส ห่างจากปากคลองก้าพวนมาทาง
ทิศใต้ประมาณ 500 เมตร กัดเซาะระดับปานกลางเป็นระยะทางยาว 1.44
กิโลเมตร
สัณฐานชายหาดอุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ล้ารู่
ชายหาดมีความกว้างประมาณ 60-70 เมตร พื้นที่หลังหาดเป็นแนวป่าเชิงเขาถัด
เขาไปในแผนดินเป็นป่าดิบชื้น ส่วนหลังหาดมีความสูงมากกว่าหน้าหาดประมาณ 80-90
เซนติเมตร การกัดเซาะชายฝั่งเกิดขึ้นทั้งสองฤดูกาลเล็กน้อย ฤดูมรสุมมวลทรายเคลื่อนตัว
จากหาด ท้าให้ชายหาดมีความสูงจากระดับน้้าทะเลลดลงและมีความลาดชันมากขึ้นและ
เกิดการกัดเซาะหาดส่วนหน้าและไปทับถมบริเวณหาดด้านในท้าให้เห็นเป็นเนินทราย
ชัดเจน ความสูงประมาณ 0.6 เมตร
20.00
20.50
21.00
21.50
22.00
22.50
23.00
23.50
24.00
24.50
25.00
25.50
0 10 20 30 40 50 60 70
ระดับความสูง(เมตร)
ความกว้างของหาด (เมตร)
แนวสารวจที่ 1
มิ.ย.
ม.ค.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายชายฝั่งอุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลารู่
แนวสารวจ
ปริมาณทราย (ลูกบาศก์เมตร)
ปริมาณทรายสุทธิ
มกราคม มิถุนายน
ปริมาณทราย
เพิ่มขึ้น
ปริมาณทราย
ลดลง
แนวสารวจที่ 1-4 109,544.9
1
107,831.8
9
224.67 1,937.69 -1,713.02
- ปริมาณมวลทรายลดลง
โครงสร้าง 3 มิติของชายหาดบริเวณแนวสารวจที่ 1 ถึง 4
เดือนมกราคม เดือนมิถุนายน
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งอุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลารู่
1. ช่วงเวลา 5 ปี (2547-2552) พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ 664.37 ตาราง
เมตร (0.42 ไร่) และพื้นที่สะสมตัวประมาณ 90.82 ตารางเมตร (0.06 ไร่)
อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 0.57 เมตรต่อปี และอัตราการสะสมทรายชายฝั่งเฉลี่ย
0.30 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบชายฝั่งคงสภาพ
2. ช่วงเวลา 4 ปี (2552-2556) พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ
281.49 ตารางเมตร (0.18 ไร่) พื้นที่สะสมตัวประมาณ 615.11 ตารางเมตร
(0.38 ไร่)
อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 0.71 เมตรต่อปี พื้นที่กัดเซาะมากที่สุดเกิด
การกัดเซาะในอัตรา 1.06 เมตรต่อปี และอัตราการสะสมทรายชายฝั่งเฉลี่ย
0.95 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบชายฝั่งคงสภาพ
อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลารู่
สัณฐานชายหาด อุทยานแห่งชาติเขาล้าปี-หาดท้ายเหมือง
การกัดเซาะชายฝั่งเกิดขึ้นทั้งสองฤดูกาลในอัตราที่ต่างกัน ในช่วงฤดูมรสุมมวล
ทรายเคลื่อนตัวจากหาดจ้านวนมาก ท้าให้ชายหาดมีความสูงจากระดับน้้าทะเลลดลง
และมีความลาดชันมากขึ้น เกิดการกัดเซาะหาดส่วนหน้าและหาดส่วนหลังลึกเข้าไปใน
แผ่นดินในระยะทางราบมากที่สุดประมาณ 4.1 เมตรและระยะทางดิ่งมากที่สุดประมาณ
1 เมตร บริเวณแนวส้ารวจที่ 11 คือบริเวณการใช้ประโยชน์จอดเรือประมงพื้นที่หลังหาด
เป็นสวนมะพร้าว
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
0 10 20 30 40 50 60 70 80
ระดับความสูง(เมตร)
ความกว้างของหาด (เมตร)
แนวสารวจที่ 3
มี.ค.
ส.ค.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายชายฝั่งอุทยานแห่งชาติลาปี-หาดท้ายเหมือง
แนวสารวจ
ปริมาณทราย (ลูกบาศก์เมตร)
ปริมาณ
ทรายสุทธิมีนาคม สิงหาคม
ปริมาณทราย
เพิ่มขึ้น
ปริมาณ
ทรายลดลง
แนวสารวจที่ 1-2 221,981.29 214,906.89 45.36 7,119.76 -7,074.40
แนวสารวจที่ 33-34 2,881,609.45 2,823,956.13 251.25 57,904.56 -57,653.31
* เก็บข้อมูลในเดือนเมษายน
- ปริมาณมวลทรายลดลง
โครงสร้าง 3 มิติของชายหาดบริเวณแนวสารวจที่ 1 ถึง 2
เดือนมีนาคม เดือนสิงหาคม
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งอุทยานแห่งชาติเขาลาปี-หาดท้ายเหมือง
1. ช่วงเวลา 3 ปี (2545-2548) พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ 44,746.33 ตาราง
เมตร (27.97 ไร่) และพื้นที่สะสมตัวประมาณ 11,105.86 ตารางเมตร (6.94 ไร่)
อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.26 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง
พื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะมากที่สุดอัตรา 3.7 เมตรต่อปี มีแนวกัดเซาะกว้างสุด 5 เมตร
2. ช่วงเวลา 8 ปี (2548 -2556) พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ 25,024.93 ตารางเมตร
(15.64 ไร่) พื้นที่สะสมตัวประมาณ 40,867.36 ตารางเมตร (25.54 ไร่)
อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 0.59 เมตรต่อปี พื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะมากที่สุดอัตรา
1.65 เมตรต่อปี มีแนวกัดเซาะกว้างสุด 9.22 เมตร และอัตราการสะสมทรายชายฝั่งเฉลี่ย
0.64 เมตรต่อปี
อุทยานแห่งชาติเขาลาปี-หาดท้ายเหมือง
พื้นที่ชายฝั่งที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะชายฝั่งอุทยานแห่งชาติเขาลาปี-หาดท้ายเหมือง
ชายหาดบริเวณเขาหน้ายักษ์ กัดเซาะระดับปานกลางเป็นระยะทางยาว 783.77 เมตร อัตรา
การกัดเซาะเฉลี่ย 0.56 เมตรต่อปี เป็นแนวกว้างประมาณ 1.3 เมตรต่อปี
ชายหาดบริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ (ปาง) กัดเซาะระดับปานกลางระยะทางยาว
230.41 เมตร อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 0.78 เมตรต่อปี แนวกว้างประมาณ 1.3 เมตรต่อปี
ชายหาดเขาหน้ายักษ์
ชายหาดหน่วยพิทักษ์
สัณฐานชายหาดอุทยานแห่งชาติสิรินาถ
สัณฐานของชายฝั่งเกิดจากการทับถมของตะกอนชายฝั่งทะเลรูปแบบต่างๆ มี
ลักษณะะเป็นหัวแหลมยื่นไปในทะเลเกิดจากการงอกของทราย ช่วงฤดูมรสุมจะเกิดการกัด
เซาะที่รุนแรงกว่า เนื่องจากการกระท้าของคลื่นลมก้าลังแรงพัดพาเอาตะกอนทรายออก
จากหน้าหาดจ้านวนมากและเกิดการกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินไปจนถึงแนวต้นสน ท้าให้ต้น
สนหลังหาดล้มเป็นแนวยาว การกัดเซาะเกิดขึ้นมากที่สุดบริเวณหาดในยาง ซึ่งเกิดการกัด
เซาะเข้าไปในแผ่นดินเป็นระยะทางราบประมาณ 9 เมตร และระยะทางดิ่งประมาณ 0.4
เมตร และบริเวณหาดไม้ขาว เกิดการกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินมากที่สุดเป็นระยะทางราบ
ประมาณ 5.7 เมตรและระยะทางดิ่งประมาณ 1 .6เมตร
-2
-1
0
1
2
3
4
0 10 20 30 40 50 60 70
ระดับความสูง(เมตร)
ความกว้างของหาด (เมตร)
แนวสารวจที่ 13
พ.ค.
ก.ย.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายชายฝั่งอุทยานแห่งชาติสิรินาถ
แนวสารวจ
ปริมาณทราย (ลูกบาศก์เมตร)
ปริมาณทรายสุทธิ
พฤษภาคม กันยายน
ปริมาณทราย
เพิ่มขึ้น
ปริมาณทราย
ลดลง
แนวสารวจที่ 13-14 13,417.13 13,515.64 913.93 815.43 98.51
แนวสารวจที่ 32-33 212,137.66 250,893.84 39,442.27 686.08 38,756.18
โครงสร้าง 3 มิติของชายหาดบริเวณแนวสารวจที่ 13 ถึง 14
เดือนพฤษภาคม เดือนกันยายน
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งอุทยานแห่งชาติสิรินาถ
1. ช่วงเวลา 2 ปี (2545-2547) พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ 15,087.37 ตารางเมตร
(28.68 ไร่) และพื้นที่ที่สะสมตัวประมาณ 37,399.68 ตารางเมตร (24.18 ไร่)
หาดไม้ขาว อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.66 เมตรต่อปี รูปแบบการกัดเซาะปานกลาง
พื้นที่กัดเซาะมากที่สุดอัตราเฉลี่ย 2.84 เมตรต่อปี แนวกัดเซาะกว้างสุด 10 เมตร และอัตรา
การสะสมทรายเฉลี่ย 1.35 เมตรต่อปี อัตราการสะสมตัวมากที่สุด 5.25 เมตรต่อปี จัดอยู่ใน
รูปแบบชายฝั่งสะสมตัว
หาดในยาง อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.97 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบการกัดเซาะ
ปานกลาง พื้นที่กัดเซาะมากที่สุดอัตราเฉลี่ย 4.13 เมตรต่อปี มีแนวกัดเซาะกว้างสุด 20 เมตร
และอัตราการสะสมทรายเฉลี่ย 3.01 เมตรต่อปี จัดอยู่รูปแบบชายฝั่งสะสมตัว อัตราการ
สะสมตัวมากที่สุด 5.67 เมตรต่อปี
2. ช่วงเวลา 8 ปี (2547-2555) พื้นที่กัดเซาะชายฝั่งประมาณ 70,279.60 ตารางเมตร
(133.61 ไร่) พื้นที่สะสมตัวประมาณ 12,721.13 ตารางเมตร (24.18ไร่)
หาดไม้ขาว อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.53 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบการกัด
เซาะปานกลาง พื้นที่กัดเซาะมากที่สุดอัตราเฉลี่ย 2.41 เมตรต่อปี มีแนวกัดเซาะกว้างสุด
45 เมตร และอัตราการสะสมทรายชายฝั่งเฉลี่ย 2.01 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบชายฝั่ง
สะสมตัว
หาดในยาง มีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.42 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบการกัด
เซาะปานกลาง พื้นที่กัดเซาะมากที่สุดอัตราเฉลี่ย 1.88 เมตรต่อปี มีแนวกัดเซาะกว้างสุด
35 เมตร และอัตราการสะสมทรายเฉลี่ย 1.19 เมตรต่อปี จัดอยู่ในรูปแบบชายฝั่งสะสม
ตัว อัตราการสะสมตัวมากที่สุด 16 เมตร
อุทยานแห่งชาติสิรินาถ
พื้นที่ชายฝั่งที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะชายฝั่งอุทยานแห่งชาติสิรินาถ หาดไม้ขาว
ชายหาดบริเวณเหนือสุดติดกับช่องปากพระถึงหาดทรายแก้ว กัดเซาะระดับปานกลางเป็น
ระยะทางยาว 1.66 กิโลเมตร อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.64 เมตรต่อปี แนวกว้างประมาณ 5.6 เมตรต่อปี
ชายหาดหินลูกเดียว กัดเซาะระดับปานกลางเป็นระยะทางยาว 408.72 เมตร อัตราการกัดเซาะ
เฉลี่ย 2.01 เมตรต่อปี แนวกว้างประมาณ 1.8 เมตรต่อปี
ชายหาดบริเวณหน้าโรงแรมมาริออท กัดเซาะระดับปานกลางเป็นระยะทางยาว 785 เมตร มี
อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.54 เมตรต่อปี เกิดการกัดเซาะเข้าไปในแผ่นดินเป็นแนวกว้างประมาณ 3 เมตรต่อปี
พื้นที่ชายฝั่งที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะชายฝั่งอุทยานแห่งชาติสิรินาถ หาดในยาง
ชายหาดหน้าสนามบิน กัดเซาะระดับปานกลางระยะทางยาว 408.19 เมตร อัตราการกัดเซาะ
เฉลี่ย 1.88 เมตรต่อปี แนวกว้างประมาณ 2.75 เมตรต่อปี
ชายหาดบริเวณหน้าที่ท้าการอุทยานฯ กัดเซาะระดับปานกลางระยะทางยาว 1.54 กิโลเมตร
อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 1.75 เมตรต่อปี แนวกว้างประมาณ 4 เมตรต่อปี
ชายหาดอ่าวปอ กัดเซาะระดับปานกลางระยะทางยาว 415.8 เมตร อัตราการกัดเซาะเฉลี่ย
1.19 เมตรต่อปี แนวกว้างประมาณ 1.88 เมตรต่อปี
หาดทรายแก้ว
ช่องปากพระ
หาดหินลูกเดียว
หาดหน้า
สนามบิน
หาดหน้าที่ท้า
การอุทยานฯ
www.nprcenter.com
Contact us: ฝ่ายวิจัยฯ email : hnukool@hotmail.com

More Related Content

Similar to การกัดเซาะชายหาด ๕๗

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยpiyanatpatitang
 
8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิง8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิงPinNii Natthaya
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังAuraphin Phetraksa
 
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdfคู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdfSuthat Wannalert
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...Dr.Choen Krainara
 

Similar to การกัดเซาะชายหาด ๕๗ (9)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
 
8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิง8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิง
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
 
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdfคู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
 

More from Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (20)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 

การกัดเซาะชายหาด ๕๗