SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
3. ปลาในแนวปะการัง
3.1 ประชาคมปลา
จากการสํารวจประชากรปลาโดยวิธี การทําสํามะโนประชากรปลาด้วยสายตา (Fish visual
census) พบปลาทั้งหมด 238 ชนิด จาก 104 สกุล 38 วงศ์ ดังตารางภาคผนวกที่ 1 โดยปลาที่เป็นกลุ่ม
เด่น ได้แก่ ปลานกขุนทอง ในวงศ์ Labridae ซึ่งมีประชากรมากในแง่ของสมาชิกในวงศ์ (43 ชนิด 22
สกุล) และจํานวนตัวที่พบ กลุ่มรองลงมาได้แก่ปลาสลิดหิน ในวงศ์ Pomacentridae ซึ่งมีประชากรมาก
ทั้งในแง่ของสมาชิกในวงศ์และจํานวนตัวที่พบ (29 ชนิด 10 สกุล) ปลาผีเสื้อในวงศ์ Chaetodontidae
(20 ชนิด 4 สกุล) และปลานกแก้ววงศ์ Scaridae (17 ชนิด 4 สกุล) และปลาขี้ตังเบ็ด (16 ชนิด 4 สกุล)
รายละเอียดประชาคมปลาในแนวปะการังที่พบในสถานีศึกษาต่างๆ รายอุทยาน ดังนี้คือ
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์
1. สถานีที่ 1 (SR.1) อ่าวไม้งาม พบปลาทั้งสิ้น 53 ชนิด 36 สกุล 18 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ ปลาอมไข่ Apogon sp. รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis และ
P.philippinus
2. สถานีที่ 2 (SR.2) อ่าวแม่ยาย พบปลาทั้งสิ้น 54 ชนิด 26 สกุล 14 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis
ternatensis, Pomacentrus chrsurus, P. amboinensis, Abudefduf vaigiensis, และ Chromis
atripectoralis ตามลําดับ
3. สถานีที่ 3 (SR.3) อ่าวจาก พบปลาทั้งสิ้น 52 ชนิด 35 สกุล 12 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่
ปลาสลิดหิน (Pomacentrus lepidogenys) ปลาสลิดหินมะนาว (Pomacentrus moluccensis) ปลา
สลิดหิน (Plectoglyphidodon lacrymatus)
4. สถานีที่ 4 (SR.4) เกาะสต๊อค พบปลาทั้งสิ้น 44 ชนิด 29 สกุล 13 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ ปลากล้วยชนิด Pterocaesio chrysozona และ Pterocaesio pisang รองลงมาได้แก่ ปลา
นกขุนทองชนิด Cirrhilabrus cyanopleura ปลาสลิดหินชนิด Chrysiptera rollandi และ
Pomacentrus amboinensis ตามลําดับ
5. สถานีที่ 5 (SR.5) อ่าวผักกาด พบปลาทั้งสิ้น 64 ชนิด 38 สกุล 18 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ xปลากล้วยชนิด Pterocaesio chrysozona, P. pisang และปลาสลิดหินชนิด
Neopomacentrus sororius รองลงมาได้แก่ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys,
P.moluccensis และ P. philippinus
6. สถานีที่ 6 (SR.6) อ่าวสุเทพ พบปลาทั้งสิ้น 59 ชนิด 36 สกุล 13 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่
ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis และ Neopomacentrus sororius รองลงมาได้แก่
ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys, P. pavo และ P. azuremaculatus ตามลําดับ
60
7. สถานีที่ 7 (SR.7) เกาะตอรินลา พบปลาทั้งสิ้น 59 ชนิด 38 สกุล 15 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ปลาอมไข่ Apogon sp.รองลงมาได้แก่ ปลาอมไข่ชนิด Archamia fucata ปลากล้วยชนิด
Pterocaesio pisang ปลากระดี่ทะเลชนิด Pempheris vanicolensis และ ปลาสลิดหินเขียวอกดํา
(Chromis atripectoralis) ตามลําดับ
8. สถานีที่ 8 (SR.8) เกาะมังกร พบปลาทั้งสิ้น 61 ชนิด 41 สกุล 14 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ ปลาสลิดหินมะนาว (Pomacentrus moluccensis) ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus
lepidogenys รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus philippinus) ปลาสลิดหินชนิด
Plectoglyphidodon lacrymatus และ ปลานกขุนทอง (Cirrhilabrus cyanopleura) ตามลําดับ
9. สถานีที่ 9 (SR.9) อ่าวเต่า พบปลาทั้งสิ้น 51 ชนิด 31 สกุล 14 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่
ปลาสลิดหินมะนาว (Pomacentrus moluccensis) รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus
philippinus) และปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys ตามลําดับ
10. สถานีที่ 10 (SR.10) หินแพ พบปลาทั้งสิ้น 66 ชนิด 42 สกุล 16 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ
ได้แก่ ปลาสลิดหิน Neopomacentrus anabatoides รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus
azuremaculatus) และ ปลากล้วย (Pterocaesio pisang) ตามลําดับ
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
1. สถานีที่ 1 (SML.1) หาดเล็ก เกาะสี่ พบปลาทั้งสิ้น 56 ชนิด 39 สกุล 17 วงศ์ ปลาชนิดที่มี
ความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis ปลา
อมไข่ชนิด Apogon cyanosoma ปลานกขุนทองชนิด Cirrhilabrus cyanopleura ปลาสลิดหินชนิด
Amblyglyphidodon aureus, Chromis flavipectoralis, C. ternatensis, Chrysiptera rollandi,
Pomacentrus amboinensis และ P.lepidogenys
2. สถานีที่ 2 (SML.2) เกาะหก ฝั่งตะวันตก (West of Eden) พบปลาทั้งสิ้น 45 ชนิด 28 สกุล
11 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่ สลิดหินชนิด Pomacentrus chrysurus, P. lepidogenys รองลงมา
ได้แก่ ปลาสลิดหิน Chromis ternatensis, Pomacentrus amboinensis, P.moluccensis และ P.
philippinus
3. สถานีที่ 3 (SML.3)เกาะห้า (หินม้วนเดียว) พบปลาทั้งสิ้น 54 ชนิด 36 สกุล 15 วงศ์ ปลาชนิด
ที่มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis weibeli, P.
lepidogenys และ ปลาทองชนิด Pseudanthia squamippinis รองลงมาได้แก่ ปลา
Parapriacanthus ransoneti, ปลาสลิดหินชนิด Chromis weibeli และ Pomacentrus chrysurus
4. สถานีที่ 4 (SML.4) เกาะหกด้านตะวันออก (East of Eden) พบปลาทั้งสิ้น 79 ชนิด 54 สกุล
22 วงศ์ ปลาชนิดที่มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ปลากะรังจิ๋วชนิด Pseudanthias
squamippinis รองลงมาได้แก่ ปลากล้วยชนิด Pterocaesio pisang ปลากระดี่ทะเลชนิด Pempheris
61
vanicolensis ปลาสลิดหินชนิด Amblyglyphidodon aureus, Chromis weibeli,
Plectoglyphidodon lacrymatus, Pomacentrus lepidogenys และ P, philippinus
5. สถานีที่ 5.(SML.5) 5 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด พบปลาทั้งสิ้น 54 ชนิด 34 สกุล 16 วงศ์ ปลา
ชนิดที่มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis flavipectoralis,
Chrysiptera rollandi, Pomacentrus amboinensis รองลงมาได้แก่ ปลากะพงเหลืองขมิ้น Lutjanus
lutjanus ปลาสลิดหินชนิด Amblyglyphidodon aureus และ Pomacentrus lepidogenys
6. สถานีที่ 6 (SML.6) อ่าวนําชัย เกาะแปด พบปลาทั้งสิ้น 70 ชนิด 43 สกุล 20 วงศ์ ปลาชนิดที่
มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis dimidiatus และ
Pomacentrus lepidogenys รองลงมาได้แก่ ปลานกขุนทองชนิด Cirrhilabrus cyanopleura ปลา
สลิดหิน ชนิด Chromis weibeli, Plectoglyphidodon lacrymatus และ Pomacentrus
philippinus
3.2 ความชุกชุมของประชากรปลา
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า สถานีที่พบความชุกชุมของปลามากที่สุดได้แก่แนวปะการังบริเวณ
เกาะห้า โดยมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 3,117 ตัวต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบความชุก
ชุมของปลาน้อยที่สุดได้แก่ แนวปะการังหน้าอ่าวนําชัยมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 2,322 ตัว/ 300
ตารางเมตร (ตารางที่ 38) สถานีที่พบจํานวนชนิดของปลามากที่สุดได้แก่ แนวปะการังบริเวณเกาะหกฝั่ง
ตะวันออก โดยมีชนิดปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 79 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบจํานวน
ชนิดของปลาน้อยที่สุดได้แก่ แนวปะการังบริเวณเกาะหกฝั่งตะวันตก โดยมีชนิดปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 45
ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า สถานีที่พบความชุกชุมของปลามากที่สุดได้แก่แนวปะการังบริเวณอ่าว
ผักกาด โดยมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 4,329 ตัวต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบความชุก
ชุมของปลาน้อยที่สุดได้แก่ แนวปะการังเกาะสต๊อคมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 456 ตัว/ 300 ตาราง
เมตร (ตารางที่ 36) สถานีที่พบจํานวนชนิดของปลามากที่สุดได้แก่ แนวปะการังบริเวณหินแพ โดยมีชนิด
ปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 66 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบจํานวนชนิดของปลาน้อยที่สุด
ได้แก่ แนวปะการังบริเวณเกาะสต๊อค โดยมีชนิดปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 44 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร
62
ตารางที่ 38 จํานวนชนิดและจํานวนตัวปลาที่พบจากการศึกษาในสถานีต่างๆ
สถานีสํารวจ
ชื่อสถานีสํารวจ อุทยานแห่งชาติ
จํานวนชนิด
(เฉลี่ย/ 300 ม.2
)
จํานวนตัว
(เฉลี่ย/ 300 ม.2
)
SML. 01 หาดเล็ก หมู่เกาะสิมิลัน 56 2,599
SML. 02 เกาะหก ฝั่งตะวันตก หมู่เกาะสิมิลัน 45 2,430
SML. 03 เกาะห้า หมู่เกาะสิมิลัน 54 3,117
SML 04 เกาะหก ฝั่งตะวันออก หมู่เกาะสิมิลัน 79 2,436
SML.05 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด หมู่เกาะสิมิลัน 54 2,891
SML.06 อ่าวนําชัย หมู่เกาะสิมิลัน 70 2,322
SR. 01 อ่าวไม้งาม หมู่เกาะสุรินทร์ 53 1,242
SR. 02 อ่าวแม่ยาย หมู่เกาะสุรินทร์ 45 1,180
SR. 03 อ่าวจาก หมู่เกาะสุรินทร์ 52 728
SR. 04 เกาะสต๊อค หมู่เกาะสุรินทร์ 44 445
SR. 05 อ่าวผักกาด หมู่เกาะสุรินทร์ 64 4,328
SR. 06 อ่าวสุเทพ หมู่เกาะสุรินทร์ 59 1,938
SR. 07 เกาะตอรินลา หมู่เกาะสุรินทร์ 59 2,376
SR. 08 เกาะมังกร หมู่เกาะสุรินทร์ 61 1,919
SR.09 อ่าวเต่า หมู่เกาะสุรินทร์ 51 2,216
SR.10 หินแพ หมู่เกาะสุรินทร์ 66 1,695
ในด้านสถานภาพของปลาที่พบในพื้นที่สํารวจสามารถจําแนกออกตามความสําคัญของปลาเป็น
กลุ่มต่างๆ ได้ตาม สถานภาพการพบ การใช้ประโยชน์ พฤติกรรมการกินอาหาร และแหล่งอาศัย (ตาราง
ภาคผนวกที่ 2) รายละเอียดตามตารางที่ 39
63
ตารางที่ 39 สถานภาพของปลาที่พบจากการศึกษาแบ่งตามเกณฑ์ต่างๆ
สถานภาพ จํานวนชนิด (%)
การใช้ประโยชน์
ชนิดปลาที่ใช้เป็นอาหาร 98 41
ชนิดปลาที่ใช้ประโยชน์ทางการเลี้ยงปลาสวยงาม 130 55
ชนิดปลาที่ไม่ทราบการใช้ประโยชน์ 9 4
พฤติกรรมการกินอาหาร
กินแพลงตอน 13 6
กินพืช 41 17
กินสัตว์ 139 59
ปลากินปลา
ปลากินทั้งพืชสัตว์
19
25
6
12
แหล่งอาศัย
ว่ายในมวลน้ํา 8 8
อาศัยตามพื้นผิวแนวปะการัง 194 82
หลบซ่อนในโครงสร้างแนวปะการัง 12 5
อยู่ในพื้นทรายใกล้ๆหรือในแนวปะการัง 12 5
3.3 ความหลากหลายของชนิดปลาที่พบในแนวปะการัง
จากการศึกษาโดยวิเคราะห์ดัชนีความหลากหลายของปลาที่พบในแนวปะการังในสถานีศึกษา
ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์และหมู่เกาะสิมิลัน พบว่า แนวปะการังบริเวณเกาะสต๊อค มีค่า
ดัชนีความหลากชนิดของปลา และดัชนีความสม่ําเสมอการกระจายจํานวนสูงที่สุดคือ 3.423 และ 0.635
ส่วนสถานีที่มีความหลากหลายของปลาและความสม่ําเสมอในการกระจายจํานวนต่ําที่สุดคือ แนวปะการัง
บริเวณอ่าวผักกาด คือ 2.930 และ 0.544 (ตารางที่ 40)
64
ตารางที่ 40 จํานวนชนิด ความชุกชุม ความหลากหลายและความสม่ําเสมอ ของปลาในแนวปะการัง
ชื่อสถานีสํารวจ อุทยาน
แห่งชาติ
จํานวนชนิด
(เฉลี่ย/ 300 ม.2
)
จํานวนตัว
(เฉลี่ย/ 300 ม.2
)
ดัชนีความ
หลากหลาย
ดัชนีความ
สม่ําเสมอ
หาดเล็ก หมู่เกาะสิมิลัน 56 2,599 2.916 0.7244
เกาะหก ฝั่งตะวันตก หมู่เกาะสิมิลัน 45 2,430 2.405 0.6318
เกาะห้า หมู่เกาะสิมิลัน 54 3,117 2.52 0.6317
เกาะหก ฝั่งตะวันออก หมู่เกาะสิมิลัน 79 2,436 2.906 0.6651
อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด หมู่เกาะสิมิลัน 54 2,891 2.313 0.5799
อ่าวนําชัย หมู่เกาะสิมิลัน 70 2,322 2.327 0.5478
อ่าวไม้งาม หมู่เกาะสุรินทร์ 53 1,242 2.901 0.7307
อ่าวแม่ยาย หมู่เกาะสุรินทร์ 45 1,180 2.308 0.6063
อ่าวจาก หมู่เกาะสุรินทร์ 52 728 2.583 0.6537
เกาะสต๊อค หมู่เกาะสุรินทร์ 44 445 3.105 0.8205
อ่าวผักกาด หมู่เกาะสุรินทร์ 64 4,328 2.471 0.5941
อ่าวสุเทพ หมู่เกาะสุรินทร์ 59 1,938 2.382 0.5842
เกาะตอรินลา หมู่เกาะสุรินทร์ 59 2,376 2.858 0.7009
เกาะมังกร หมู่เกาะสุรินทร์ 61 1,919 1.978 0.4812
อ่าวเต่า หมู่เกาะสุรินทร์ 51 2,216 2.755 0.7007
หินแพ หมู่เกาะสุรินทร์ 66 1,695 2.354 0.5619
3.4 รูปแบบของโครงสร้างประชาคมปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆ
จากการศึกษารูปแบบองค์ประกอบประชาคมปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆในอุทยานแห่งชาติ
หมู่เกาะสุรินทร์ และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน โดยใช้การวิเคราะห์จัดกลุ่มข้อมูล (Cluster
analysis) พบว่า อุทยานแห่งชาติทั้ง 2 แห่ง มีประชากรปลาที่แบ่งกลุ่มออกจากกันเป็นสองกลุ่มใหญ่คือ
ปลาในกลุ่มหมู่เกาะสุรินทร์ และปลาในกลุ่มหมู่เกาะสิมิลัน แต่จะมีกลุ่มประชากรปลาของเกาะสุรินทร์ใน
สถานีอ่าวผักกาด เกาะมังกร และอ่าวเต่า ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ กลุ่มประชากรปลาในหมู่เกาะสิมิลัน
(ภาพที่ 34)
65
ภาพที่ 34 แสดงแผนภูมิความสัมพันธ์ของชนิดพันธุ์ปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆ
เมื่อพิจารณาถึงความแตกต่างความคล้ายคลึงกันของกลุ่มประชากรปลาที่พบในแต่ละสถานีพบว่า
ประชากรปลาที่พบในสถานีต่างๆของหมู่เกาะสุรินท์จะมีการกระจายกันออกไปซึ่งแสดงถึงความแตกต่าง
หลากหลายของประชากรปลาที่พบในสถานีต่างๆมากกว่าประชากรปลาในสถานีต่างๆของหมู่เกาะสิมิลัน
ที่ค่อนข้างเกาะกลุ่มกันมากกว่า ดังภาพที่ 35
ภาพที่ 35 ลักษณะการกระจายของความสัมพันธ์ของกลุ่มปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆ
66
จากภาพที่ 34 จะเห็นได้ว่าในกลุ่มประชากรปลาที่พบในหมู่เกาะสิมิลันค่อนข้างเกาะกลุ่มกัน
มากกว่ากลุ่มปลาในหมู่เกาะสุรินทร์ แต่จะมีประชากรปลาในสถานีอ่าวผักกาด เกาะมังกร และอ่าวเต่า ที่
แสดงความคล้ายคลึงกัน ซึ่งอาจแสดงถึงความเชื่อมโยงกัน ระหว่างประชากรปลาในหมู่เกาะสิมิลันและ
หมู่เกาะสุรินทร์ ซึ่งหมู่เกาะสุรินทร์แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างหลากหลายของปลาที่พบในสถานีต่างๆ
มากกว่าในหมู่เกาะสิมิลัน
4. ปะการังอ่อน
การประเมินสถานภาพปะการังอ่อนโดยใช้การประเมินด้วยการดู (visual estimate) จํานวน 12
สถานีในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลันและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ พบปะการังอ่อนทั้งหมด
10 สกุล (ตารางที่ 41) และพบว่า หมู่เกาะสิมิลันมีความชุกชุมและความหลากหลายของปะการังอ่อน
มากกว่าบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์
ตารางที่ 41 แสดงข้อมูลสกุลของปะการังอ่อนที่พบในแนวสํารวจและนอกแนวสํารวจบริเวณหมู่เกาะ
สิมิลันและหมู่เกาะสุรินทร์
สกุลของปะการังอ่อน
อช.หมู่เกาะสิมิลัน อช.หมู่เกาะสุรินทร์
สถานีที่01
สถานีที่02
สถานีที่03
สถานีที่04
สถานีที่05
สถานีที่06
สถานีที่07
สถานีที่08
สถานีที่09
สถานีที่10
สถานีที่11
สถานีที่12
Dendronephthya
spp.
√ √ √
Scleronephthya spp. √ √ √ √ √
Chironephthya spp. √ √ √
Nephthea sp. √ √ √ √ √
Siphonogorgia sp. √ √ √
Lobophytum spp. √ √ √ √
Sarcophyton spp. √ √ √ √ √ √
Eleutherobia sp. √ √
Nidalia sp. √ √
Sinularia spp. √ √
67
จากการประเมินสถานภาพของปะการังอ่อนในเขตอุทยานแห่งชาติทั้ง 2 แห่ง คือ อุทยาน
แห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน ในแต่ละสถานีที่ศึกษามีรายละเอียดดังนี้
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
1. สถานีที่ 1 เกาะเจ็ดด้านตะวันออก (East of Eden) พบปะการังอ่อนมีระดับความชุกชุมสูง
จํานวน 9 สกุล เรียงตามลําดับความชุกชุมได้ดังนี้ Dendronephthya spp. Scleronephthya spp.
Chironephthya spp. Nephthea sp. Siphonogorgia sp. Lobophytum spp. Sarcophyton spp.
Eleutherobia sp. และ Nidalia sp.
ในบริเวณนี้พบปะการังอ่อนสกุลหายากคือ Nidalia sp. ซึ่งพบเฉพาะบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่
เกาะสิมิลัน มักปรากฏอยู่ในซอกหลืบ มีขนาดโคโลนีไม่ใหญ่มาก สําหรับสถานภาพของปะการังอ่อนใน
บริเวณนี้เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีการศึกษาก่อนหน้าในปี 2548 โดย Chanmethakul (2009) พบว่า
มีการเปลี่ยนในเชิงที่ลดลง โดยเฉพาะอย่างในปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ภาพที่ 36 ก)
พบว่าจากที่เคยมีความชุกชุมสูงลดลงเหลือชุกชุมปานกลาง สําหรับสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ทั่วไปยังคงอยู่ใน
สภาวะปกติ (ภาพที่ 36 ข)
ภาพที่ 36 ปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
2. สถานีที่ 2 เกาะห้า (หินม้วนเดียว) พบปะการังจํานวน 7 สกุล โดยเรียงลําดับตามความชุก
ชุมดังนี้ Dendronephthya spp. Scleronephthya spp. Chironephthya spp. Siphonogorgia sp.
Nephthea sp. Eleutherobia sp. และ Nidalia sp. สถานภาพของปะการังอ่อนในบริเวณนี้อยู่ใน
ระดับ 3 ซึ่งเป็นความชุกชุมระดับสูง แม้ว่าผลจากการประเมินด้วยการดู (visual estimate) นั้นมีจุดด้อย
ในเชิงปริมาณ แต่ก็สามารถสรุปผลได้อย่างกว้าง ๆ ว่าความชุกชุมของปะการังอ่อนสกุล
Dendronephthya spp. (ภาพที่ 37 ก-ข) มีจํานวนลดลงจากระดับสูงมากลงมาเหลือเพียงระดับสูง เมื่อ
เปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีการศึกษาก่อนหน้า (Chanmethakul , 2009)
ก ข
68
ประเด็นที่น่าสนใจเพิ่มเติมของสถานีที่ศึกษานี้คือ บริเวณนี้มีปะการังอ่อนสกุลที่หายากปรากฏอยู่
ด้วยคือปะการังอ่อนสกุล Nidalia sp. ผลจากการประเมินครั้งนี้ยังคงพบเห็นอยู่เล็กน้อยเช่นเดิม
ภาพที่ 37 ปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
3 สถานีที่ 3 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด บริเวณนี้ไม่พบปะการังในแนวและนอกแนวสํารวจ
4. สถานีที่ 4 เกาะหก ฝั่งตะวันตก (West of Eden) พบปะการังอ่อนทั้งสิ้น 7 สกุล โดยเรียง
ตามความชุกชุมที่พบได้ดังนี้ Dendronephthya spp. Scleronephthya spp. Nephthea sp.
Chironephthya spp. Siphonogorgia sp. Lobophytum spp. และ Sarcophyton spp. สภาพ
โดยทั่วไปของแนวปะการังในบริเวณนี้เป็นหินชายฝั่งขนาดใหญ่ มีลักษณะสูงชัน ลักษณะทางกายภาพ
เช่นนี้มักจะพบปะการังอ่อนค่อนข้างชุกชุม สําหรับผลการประเมินความชุกชุมพบว่าแนวปะการังใน
บริเวณนี้มีความชุกชุมระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับความลึก 10 - 15 เมตรเป็นบริเวณที่พบความ
ชุกชุมของปะการังอ่อนมากที่สุด สําหรับพื้นทรายด้านนอกแนวปะการังนั้นพบว่ามีปะการังอ่อนปรากฏอยู่
บนพื้นทราย โดยกระจายตัวห่าง ๆ กัน (ภาพที่ 38)
ก ข
69
ภาพที่ 38 ปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ก) และปะการัง Nephthea sp. (ข)
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ ได้แก่
1. สถานีที่ 5 เกาะตอรินลา พบปะการังอ่อนจํานวน 2 สุกลได้แก่ Nephthea sp. และ
Sarcophyton sp. โดยพบว่าปะการังอ่อนส่วนใหญ่เจริญเติบโตได้ดีบริเวณตอนล่างของแนวปะการัง ใน
บริเวณนี้พบความชุกชุมของปะการังอ่อน Nephthea sp. ในปริมาณที่สูง (ภาพที่ 39 ก) สําหรับปะการัง
อ่อนสกุล Sarcophyton sp. พบเพียงสามโคโลนีเท่านั้น (ภาพที่ 39 ข)
ภาพที่ 39 ความชุกชุมของปะการังอ่อน Nephthea sp. ในปริมาณที่สูง. (ก) และปะการังอ่อนสกุล
Sarcophyton sp. (ข)
ก ข
ก ข
70
2 สถานีที่ 6 อ่าวผักกาด มีความชุกชุมของปะการังอ่อนน้อย โดยพบปะการังอ่อนสกุล
Lobophytum sp. เพียงสองโคโลนีเท่านั้น (ภาพที่ 40 ก) ลักษณะทั่วไปของแนวปะการังในบริเวณนี้
เหมาะสมสําหรับการพัฒนาของปะการังแข็งมากกว่าดังนั้นจึงพบว่าสิ่งมีชีวิตบนพื้นแนวปะการังส่วนใหญ่
เป็นปะการังแข็ง (ภาพที่ 40 ข)
ภาพที่ 40 ปะการังอ่อนสกุล Lobophytum sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
3 สถานีที่ 7 อ่าวแม่ยาย มีปะการังอ่อนในแนวสํารวจเพียง 1 สกุลเท่านั้นคือ สกุล Sinularia
sp. (ภาพที่ 41 ก) ระดับความชุกชุมของปะการังมีน้อย สําหรับในบริเวณนี้เคยมีปะการังอ่อน
Sarcophyton sp. แต่จากการประเมินในครั้งนี้ไม่พบปะการังอ่อนในสกุลดังกล่าว สภาพทั่วไปพบกลุ่ม
ปะการังแข็งเป็นสิ่งมีชีวิตหลักในแนวปะการัง (ภาพที่ 41 ข)
ภาพที่ 41 ปะการังอ่อนสกุล Sinularia sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
ก ข
ก ข
71
4 สถานีที่ 8 อ่าวเต่า ผลจากการประเมินพบปะการังอ่อนเพียงสกุลเดียวเท่านั้นคือ
Scleronephthya sp. (ภาพที่ 42 ก ) โดยมีตําแหน่งที่พบเป็นตําแหน่งเดียวเดียวที่ระดับความลึก 15
เมตร ระดับความชุกชุมน้อย สภาพโดยทั่วไปเป็นแนวปะการังที่มีปะการังแข็งเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลัก
(ภาพที่ 42 ข)
ภาพที่ 42 ปะการังอ่อนสกุล Scleronephthya sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
5 สถานีที่ 9 อ่าวไม้งาม ไม่พบปะการังอ่อนในแนวสํารวจ อย่างไรก็ตามพบว่ามีปะการังสกุล
Sarcophyton sp. (ภาพที่ 43 ก) บริเวณตอนล่างของ reef slope โดยมีความชุกชุมน้อย อย่างไรก็ตาม
บริเวณตอนล่างของ reef slope นี้เคยมีปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. ในระดับปานกลาง แต่
หลังจากเกิดการฟอกขาวในปี 2553 จํานวนของปะการังอ่อนได้ลดลงอย่างมาก คาดว่าจํานวนปะการัง
อ่อนในบริเวณน่าจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในอนาคต สําหรับสภาพทั่วไปของแนวปะการังยังคงอยู่ในสภาพ
ปกติ (ภาพที่ 43 ข)
ภาพที่ 43 ปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
ก ข
ก ข
72
6 สถานีที่ 10 อ่าวจาก ไม่พบปะการังอ่อนในแนวเส้นสํารวจ แต่นอกแนวสํารวจบริเวณตอนล่าง
ของแนวปะการังพบปะการังอ่อน 1 สกุลคือ Sarcophyton sp. (ภาพที่ 44 ก) สภาพแนวปะการัง
โดยทั่วไปยังคงอยู่สภาพปกติดี (ภาพที่ 44 ข)
ภาพที่ 44 ปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
7 สถานีที่ 11 เกาะสต๊อค ไม่พบปะการังอ่อนบริเวณแนวเส้นสํารวจ แต่พบปะการังอ่อนสกุล
Nephthea sp. (ภาพที่ 45 ก) บริเวณตอนล่างของแนวปะการัง ความชุกชุมที่พบอยู่ในระดับน้อย
สําหรับสภาพแนวปะการังโดยทั่วไปถูกปกคลุมด้วยสิ่งมีชีวิตกลุ่มพรมทะเล (ภาพที่ 45 ข)
ภาพที่ 45 ปะการังอ่อนสกุล Nephthea sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข)
ก ข
ก ข
73
8 สถานีที่ 12 อ่าวสุเทพ ไม่พบปะการังอ่อนในแนวสํารวจ แต่พบปะการังบริเวณตอนล่าง
จํานวน 4 สกุล เรียงตามลําดับความชุกชุมได้แก่ Sinularia sp. Scleronephthya sp. Lobophytum
sp. และ Sarcophyton sp. (ภาพที่ 46 ก - ง)
ภาพที่ 46 ปะการังอ่อนสกุล Sinularia sp. (ก) ปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ข) ปะการังอ่อน
สกุล Scleronephthya sp. (ค) และปะการังอ่อนสกุล Lobophytum sp. (ง)
ก ข
ค ง

More Related Content

Similar to 6.2ผลการศึกษา

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรAuraphin Phetraksa
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
ปลาทอง
ปลาทองปลาทอง
ปลาทองsittichart
 

Similar to 6.2ผลการศึกษา (9)

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
 
Coral lec02
Coral lec02Coral lec02
Coral lec02
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
032147
032147032147
032147
 
032147
032147032147
032147
 
032147 2
032147 2032147 2
032147 2
 
ปลาทอง
ปลาทองปลาทอง
ปลาทอง
 

More from PinNii Natthaya

8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิง8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิงPinNii Natthaya
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการPinNii Natthaya
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสารPinNii Natthaya
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อPinNii Natthaya
 
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัยการเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัยPinNii Natthaya
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์PinNii Natthaya
 

More from PinNii Natthaya (13)

carrying capacity
carrying capacitycarrying capacity
carrying capacity
 
Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015
 
ปกหลัง
ปกหลังปกหลัง
ปกหลัง
 
9.ภาคผนวก
9.ภาคผนวก9.ภาคผนวก
9.ภาคผนวก
 
8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิง8.เอกสารอ้างอิง
8.เอกสารอ้างอิง
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา
 
5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร
 
3.คำนำ
3.คำนำ3.คำนำ
3.คำนำ
 
2.สารบัญ
2.สารบัญ2.สารบัญ
2.สารบัญ
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ
 
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัยการเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัย
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
 

6.2ผลการศึกษา

  • 1. 3. ปลาในแนวปะการัง 3.1 ประชาคมปลา จากการสํารวจประชากรปลาโดยวิธี การทําสํามะโนประชากรปลาด้วยสายตา (Fish visual census) พบปลาทั้งหมด 238 ชนิด จาก 104 สกุล 38 วงศ์ ดังตารางภาคผนวกที่ 1 โดยปลาที่เป็นกลุ่ม เด่น ได้แก่ ปลานกขุนทอง ในวงศ์ Labridae ซึ่งมีประชากรมากในแง่ของสมาชิกในวงศ์ (43 ชนิด 22 สกุล) และจํานวนตัวที่พบ กลุ่มรองลงมาได้แก่ปลาสลิดหิน ในวงศ์ Pomacentridae ซึ่งมีประชากรมาก ทั้งในแง่ของสมาชิกในวงศ์และจํานวนตัวที่พบ (29 ชนิด 10 สกุล) ปลาผีเสื้อในวงศ์ Chaetodontidae (20 ชนิด 4 สกุล) และปลานกแก้ววงศ์ Scaridae (17 ชนิด 4 สกุล) และปลาขี้ตังเบ็ด (16 ชนิด 4 สกุล) รายละเอียดประชาคมปลาในแนวปะการังที่พบในสถานีศึกษาต่างๆ รายอุทยาน ดังนี้คือ อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ 1. สถานีที่ 1 (SR.1) อ่าวไม้งาม พบปลาทั้งสิ้น 53 ชนิด 36 สกุล 18 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาอมไข่ Apogon sp. รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis และ P.philippinus 2. สถานีที่ 2 (SR.2) อ่าวแม่ยาย พบปลาทั้งสิ้น 54 ชนิด 26 สกุล 14 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis ternatensis, Pomacentrus chrsurus, P. amboinensis, Abudefduf vaigiensis, และ Chromis atripectoralis ตามลําดับ 3. สถานีที่ 3 (SR.3) อ่าวจาก พบปลาทั้งสิ้น 52 ชนิด 35 สกุล 12 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus lepidogenys) ปลาสลิดหินมะนาว (Pomacentrus moluccensis) ปลา สลิดหิน (Plectoglyphidodon lacrymatus) 4. สถานีที่ 4 (SR.4) เกาะสต๊อค พบปลาทั้งสิ้น 44 ชนิด 29 สกุล 13 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลากล้วยชนิด Pterocaesio chrysozona และ Pterocaesio pisang รองลงมาได้แก่ ปลา นกขุนทองชนิด Cirrhilabrus cyanopleura ปลาสลิดหินชนิด Chrysiptera rollandi และ Pomacentrus amboinensis ตามลําดับ 5. สถานีที่ 5 (SR.5) อ่าวผักกาด พบปลาทั้งสิ้น 64 ชนิด 38 สกุล 18 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ xปลากล้วยชนิด Pterocaesio chrysozona, P. pisang และปลาสลิดหินชนิด Neopomacentrus sororius รองลงมาได้แก่ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys, P.moluccensis และ P. philippinus 6. สถานีที่ 6 (SR.6) อ่าวสุเทพ พบปลาทั้งสิ้น 59 ชนิด 36 สกุล 13 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis และ Neopomacentrus sororius รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys, P. pavo และ P. azuremaculatus ตามลําดับ
  • 2. 60 7. สถานีที่ 7 (SR.7) เกาะตอรินลา พบปลาทั้งสิ้น 59 ชนิด 38 สกุล 15 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ปลาอมไข่ Apogon sp.รองลงมาได้แก่ ปลาอมไข่ชนิด Archamia fucata ปลากล้วยชนิด Pterocaesio pisang ปลากระดี่ทะเลชนิด Pempheris vanicolensis และ ปลาสลิดหินเขียวอกดํา (Chromis atripectoralis) ตามลําดับ 8. สถานีที่ 8 (SR.8) เกาะมังกร พบปลาทั้งสิ้น 61 ชนิด 41 สกุล 14 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินมะนาว (Pomacentrus moluccensis) ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus philippinus) ปลาสลิดหินชนิด Plectoglyphidodon lacrymatus และ ปลานกขุนทอง (Cirrhilabrus cyanopleura) ตามลําดับ 9. สถานีที่ 9 (SR.9) อ่าวเต่า พบปลาทั้งสิ้น 51 ชนิด 31 สกุล 14 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินมะนาว (Pomacentrus moluccensis) รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus philippinus) และปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus lepidogenys ตามลําดับ 10. สถานีที่ 10 (SR.10) หินแพ พบปลาทั้งสิ้น 66 ชนิด 42 สกุล 16 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหิน Neopomacentrus anabatoides รองลงมาได้แก่ ปลาสลิดหิน (Pomacentrus azuremaculatus) และ ปลากล้วย (Pterocaesio pisang) ตามลําดับ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน 1. สถานีที่ 1 (SML.1) หาดเล็ก เกาะสี่ พบปลาทั้งสิ้น 56 ชนิด 39 สกุล 17 วงศ์ ปลาชนิดที่มี ความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ปลาสลิดหินชนิด Pomacentrus moluccensis ปลา อมไข่ชนิด Apogon cyanosoma ปลานกขุนทองชนิด Cirrhilabrus cyanopleura ปลาสลิดหินชนิด Amblyglyphidodon aureus, Chromis flavipectoralis, C. ternatensis, Chrysiptera rollandi, Pomacentrus amboinensis และ P.lepidogenys 2. สถานีที่ 2 (SML.2) เกาะหก ฝั่งตะวันตก (West of Eden) พบปลาทั้งสิ้น 45 ชนิด 28 สกุล 11 วงศ์ ปลาชนิดเด่นที่พบได้แก่ สลิดหินชนิด Pomacentrus chrysurus, P. lepidogenys รองลงมา ได้แก่ ปลาสลิดหิน Chromis ternatensis, Pomacentrus amboinensis, P.moluccensis และ P. philippinus 3. สถานีที่ 3 (SML.3)เกาะห้า (หินม้วนเดียว) พบปลาทั้งสิ้น 54 ชนิด 36 สกุล 15 วงศ์ ปลาชนิด ที่มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis weibeli, P. lepidogenys และ ปลาทองชนิด Pseudanthia squamippinis รองลงมาได้แก่ ปลา Parapriacanthus ransoneti, ปลาสลิดหินชนิด Chromis weibeli และ Pomacentrus chrysurus 4. สถานีที่ 4 (SML.4) เกาะหกด้านตะวันออก (East of Eden) พบปลาทั้งสิ้น 79 ชนิด 54 สกุล 22 วงศ์ ปลาชนิดที่มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ปลากะรังจิ๋วชนิด Pseudanthias squamippinis รองลงมาได้แก่ ปลากล้วยชนิด Pterocaesio pisang ปลากระดี่ทะเลชนิด Pempheris
  • 3. 61 vanicolensis ปลาสลิดหินชนิด Amblyglyphidodon aureus, Chromis weibeli, Plectoglyphidodon lacrymatus, Pomacentrus lepidogenys และ P, philippinus 5. สถานีที่ 5.(SML.5) 5 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด พบปลาทั้งสิ้น 54 ชนิด 34 สกุล 16 วงศ์ ปลา ชนิดที่มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis flavipectoralis, Chrysiptera rollandi, Pomacentrus amboinensis รองลงมาได้แก่ ปลากะพงเหลืองขมิ้น Lutjanus lutjanus ปลาสลิดหินชนิด Amblyglyphidodon aureus และ Pomacentrus lepidogenys 6. สถานีที่ 6 (SML.6) อ่าวนําชัย เกาะแปด พบปลาทั้งสิ้น 70 ชนิด 43 สกุล 20 วงศ์ ปลาชนิดที่ มีความเด่นทั้งในด้านจํานวน และความถี่ที่พบได้แก่ ปลาสลิดหินชนิด Chromis dimidiatus และ Pomacentrus lepidogenys รองลงมาได้แก่ ปลานกขุนทองชนิด Cirrhilabrus cyanopleura ปลา สลิดหิน ชนิด Chromis weibeli, Plectoglyphidodon lacrymatus และ Pomacentrus philippinus 3.2 ความชุกชุมของประชากรปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า สถานีที่พบความชุกชุมของปลามากที่สุดได้แก่แนวปะการังบริเวณ เกาะห้า โดยมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 3,117 ตัวต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบความชุก ชุมของปลาน้อยที่สุดได้แก่ แนวปะการังหน้าอ่าวนําชัยมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 2,322 ตัว/ 300 ตารางเมตร (ตารางที่ 38) สถานีที่พบจํานวนชนิดของปลามากที่สุดได้แก่ แนวปะการังบริเวณเกาะหกฝั่ง ตะวันออก โดยมีชนิดปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 79 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบจํานวน ชนิดของปลาน้อยที่สุดได้แก่ แนวปะการังบริเวณเกาะหกฝั่งตะวันตก โดยมีชนิดปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 45 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า สถานีที่พบความชุกชุมของปลามากที่สุดได้แก่แนวปะการังบริเวณอ่าว ผักกาด โดยมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 4,329 ตัวต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบความชุก ชุมของปลาน้อยที่สุดได้แก่ แนวปะการังเกาะสต๊อคมีปริมาณปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 456 ตัว/ 300 ตาราง เมตร (ตารางที่ 36) สถานีที่พบจํานวนชนิดของปลามากที่สุดได้แก่ แนวปะการังบริเวณหินแพ โดยมีชนิด ปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 66 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร ส่วนสถานีที่พบจํานวนชนิดของปลาน้อยที่สุด ได้แก่ แนวปะการังบริเวณเกาะสต๊อค โดยมีชนิดปลาที่พบเฉลี่ยเท่ากับ 44 ชนิดต่อพื้นที่ 300 ตารางเมตร
  • 4. 62 ตารางที่ 38 จํานวนชนิดและจํานวนตัวปลาที่พบจากการศึกษาในสถานีต่างๆ สถานีสํารวจ ชื่อสถานีสํารวจ อุทยานแห่งชาติ จํานวนชนิด (เฉลี่ย/ 300 ม.2 ) จํานวนตัว (เฉลี่ย/ 300 ม.2 ) SML. 01 หาดเล็ก หมู่เกาะสิมิลัน 56 2,599 SML. 02 เกาะหก ฝั่งตะวันตก หมู่เกาะสิมิลัน 45 2,430 SML. 03 เกาะห้า หมู่เกาะสิมิลัน 54 3,117 SML 04 เกาะหก ฝั่งตะวันออก หมู่เกาะสิมิลัน 79 2,436 SML.05 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด หมู่เกาะสิมิลัน 54 2,891 SML.06 อ่าวนําชัย หมู่เกาะสิมิลัน 70 2,322 SR. 01 อ่าวไม้งาม หมู่เกาะสุรินทร์ 53 1,242 SR. 02 อ่าวแม่ยาย หมู่เกาะสุรินทร์ 45 1,180 SR. 03 อ่าวจาก หมู่เกาะสุรินทร์ 52 728 SR. 04 เกาะสต๊อค หมู่เกาะสุรินทร์ 44 445 SR. 05 อ่าวผักกาด หมู่เกาะสุรินทร์ 64 4,328 SR. 06 อ่าวสุเทพ หมู่เกาะสุรินทร์ 59 1,938 SR. 07 เกาะตอรินลา หมู่เกาะสุรินทร์ 59 2,376 SR. 08 เกาะมังกร หมู่เกาะสุรินทร์ 61 1,919 SR.09 อ่าวเต่า หมู่เกาะสุรินทร์ 51 2,216 SR.10 หินแพ หมู่เกาะสุรินทร์ 66 1,695 ในด้านสถานภาพของปลาที่พบในพื้นที่สํารวจสามารถจําแนกออกตามความสําคัญของปลาเป็น กลุ่มต่างๆ ได้ตาม สถานภาพการพบ การใช้ประโยชน์ พฤติกรรมการกินอาหาร และแหล่งอาศัย (ตาราง ภาคผนวกที่ 2) รายละเอียดตามตารางที่ 39
  • 5. 63 ตารางที่ 39 สถานภาพของปลาที่พบจากการศึกษาแบ่งตามเกณฑ์ต่างๆ สถานภาพ จํานวนชนิด (%) การใช้ประโยชน์ ชนิดปลาที่ใช้เป็นอาหาร 98 41 ชนิดปลาที่ใช้ประโยชน์ทางการเลี้ยงปลาสวยงาม 130 55 ชนิดปลาที่ไม่ทราบการใช้ประโยชน์ 9 4 พฤติกรรมการกินอาหาร กินแพลงตอน 13 6 กินพืช 41 17 กินสัตว์ 139 59 ปลากินปลา ปลากินทั้งพืชสัตว์ 19 25 6 12 แหล่งอาศัย ว่ายในมวลน้ํา 8 8 อาศัยตามพื้นผิวแนวปะการัง 194 82 หลบซ่อนในโครงสร้างแนวปะการัง 12 5 อยู่ในพื้นทรายใกล้ๆหรือในแนวปะการัง 12 5 3.3 ความหลากหลายของชนิดปลาที่พบในแนวปะการัง จากการศึกษาโดยวิเคราะห์ดัชนีความหลากหลายของปลาที่พบในแนวปะการังในสถานีศึกษา ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์และหมู่เกาะสิมิลัน พบว่า แนวปะการังบริเวณเกาะสต๊อค มีค่า ดัชนีความหลากชนิดของปลา และดัชนีความสม่ําเสมอการกระจายจํานวนสูงที่สุดคือ 3.423 และ 0.635 ส่วนสถานีที่มีความหลากหลายของปลาและความสม่ําเสมอในการกระจายจํานวนต่ําที่สุดคือ แนวปะการัง บริเวณอ่าวผักกาด คือ 2.930 และ 0.544 (ตารางที่ 40)
  • 6. 64 ตารางที่ 40 จํานวนชนิด ความชุกชุม ความหลากหลายและความสม่ําเสมอ ของปลาในแนวปะการัง ชื่อสถานีสํารวจ อุทยาน แห่งชาติ จํานวนชนิด (เฉลี่ย/ 300 ม.2 ) จํานวนตัว (เฉลี่ย/ 300 ม.2 ) ดัชนีความ หลากหลาย ดัชนีความ สม่ําเสมอ หาดเล็ก หมู่เกาะสิมิลัน 56 2,599 2.916 0.7244 เกาะหก ฝั่งตะวันตก หมู่เกาะสิมิลัน 45 2,430 2.405 0.6318 เกาะห้า หมู่เกาะสิมิลัน 54 3,117 2.52 0.6317 เกาะหก ฝั่งตะวันออก หมู่เกาะสิมิลัน 79 2,436 2.906 0.6651 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด หมู่เกาะสิมิลัน 54 2,891 2.313 0.5799 อ่าวนําชัย หมู่เกาะสิมิลัน 70 2,322 2.327 0.5478 อ่าวไม้งาม หมู่เกาะสุรินทร์ 53 1,242 2.901 0.7307 อ่าวแม่ยาย หมู่เกาะสุรินทร์ 45 1,180 2.308 0.6063 อ่าวจาก หมู่เกาะสุรินทร์ 52 728 2.583 0.6537 เกาะสต๊อค หมู่เกาะสุรินทร์ 44 445 3.105 0.8205 อ่าวผักกาด หมู่เกาะสุรินทร์ 64 4,328 2.471 0.5941 อ่าวสุเทพ หมู่เกาะสุรินทร์ 59 1,938 2.382 0.5842 เกาะตอรินลา หมู่เกาะสุรินทร์ 59 2,376 2.858 0.7009 เกาะมังกร หมู่เกาะสุรินทร์ 61 1,919 1.978 0.4812 อ่าวเต่า หมู่เกาะสุรินทร์ 51 2,216 2.755 0.7007 หินแพ หมู่เกาะสุรินทร์ 66 1,695 2.354 0.5619 3.4 รูปแบบของโครงสร้างประชาคมปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆ จากการศึกษารูปแบบองค์ประกอบประชาคมปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆในอุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน โดยใช้การวิเคราะห์จัดกลุ่มข้อมูล (Cluster analysis) พบว่า อุทยานแห่งชาติทั้ง 2 แห่ง มีประชากรปลาที่แบ่งกลุ่มออกจากกันเป็นสองกลุ่มใหญ่คือ ปลาในกลุ่มหมู่เกาะสุรินทร์ และปลาในกลุ่มหมู่เกาะสิมิลัน แต่จะมีกลุ่มประชากรปลาของเกาะสุรินทร์ใน สถานีอ่าวผักกาด เกาะมังกร และอ่าวเต่า ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ กลุ่มประชากรปลาในหมู่เกาะสิมิลัน (ภาพที่ 34)
  • 7. 65 ภาพที่ 34 แสดงแผนภูมิความสัมพันธ์ของชนิดพันธุ์ปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆ เมื่อพิจารณาถึงความแตกต่างความคล้ายคลึงกันของกลุ่มประชากรปลาที่พบในแต่ละสถานีพบว่า ประชากรปลาที่พบในสถานีต่างๆของหมู่เกาะสุรินท์จะมีการกระจายกันออกไปซึ่งแสดงถึงความแตกต่าง หลากหลายของประชากรปลาที่พบในสถานีต่างๆมากกว่าประชากรปลาในสถานีต่างๆของหมู่เกาะสิมิลัน ที่ค่อนข้างเกาะกลุ่มกันมากกว่า ดังภาพที่ 35 ภาพที่ 35 ลักษณะการกระจายของความสัมพันธ์ของกลุ่มปลาระหว่างสถานีศึกษาต่างๆ
  • 8. 66 จากภาพที่ 34 จะเห็นได้ว่าในกลุ่มประชากรปลาที่พบในหมู่เกาะสิมิลันค่อนข้างเกาะกลุ่มกัน มากกว่ากลุ่มปลาในหมู่เกาะสุรินทร์ แต่จะมีประชากรปลาในสถานีอ่าวผักกาด เกาะมังกร และอ่าวเต่า ที่ แสดงความคล้ายคลึงกัน ซึ่งอาจแสดงถึงความเชื่อมโยงกัน ระหว่างประชากรปลาในหมู่เกาะสิมิลันและ หมู่เกาะสุรินทร์ ซึ่งหมู่เกาะสุรินทร์แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างหลากหลายของปลาที่พบในสถานีต่างๆ มากกว่าในหมู่เกาะสิมิลัน 4. ปะการังอ่อน การประเมินสถานภาพปะการังอ่อนโดยใช้การประเมินด้วยการดู (visual estimate) จํานวน 12 สถานีในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลันและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ พบปะการังอ่อนทั้งหมด 10 สกุล (ตารางที่ 41) และพบว่า หมู่เกาะสิมิลันมีความชุกชุมและความหลากหลายของปะการังอ่อน มากกว่าบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ตารางที่ 41 แสดงข้อมูลสกุลของปะการังอ่อนที่พบในแนวสํารวจและนอกแนวสํารวจบริเวณหมู่เกาะ สิมิลันและหมู่เกาะสุรินทร์ สกุลของปะการังอ่อน อช.หมู่เกาะสิมิลัน อช.หมู่เกาะสุรินทร์ สถานีที่01 สถานีที่02 สถานีที่03 สถานีที่04 สถานีที่05 สถานีที่06 สถานีที่07 สถานีที่08 สถานีที่09 สถานีที่10 สถานีที่11 สถานีที่12 Dendronephthya spp. √ √ √ Scleronephthya spp. √ √ √ √ √ Chironephthya spp. √ √ √ Nephthea sp. √ √ √ √ √ Siphonogorgia sp. √ √ √ Lobophytum spp. √ √ √ √ Sarcophyton spp. √ √ √ √ √ √ Eleutherobia sp. √ √ Nidalia sp. √ √ Sinularia spp. √ √
  • 9. 67 จากการประเมินสถานภาพของปะการังอ่อนในเขตอุทยานแห่งชาติทั้ง 2 แห่ง คือ อุทยาน แห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน ในแต่ละสถานีที่ศึกษามีรายละเอียดดังนี้ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน 1. สถานีที่ 1 เกาะเจ็ดด้านตะวันออก (East of Eden) พบปะการังอ่อนมีระดับความชุกชุมสูง จํานวน 9 สกุล เรียงตามลําดับความชุกชุมได้ดังนี้ Dendronephthya spp. Scleronephthya spp. Chironephthya spp. Nephthea sp. Siphonogorgia sp. Lobophytum spp. Sarcophyton spp. Eleutherobia sp. และ Nidalia sp. ในบริเวณนี้พบปะการังอ่อนสกุลหายากคือ Nidalia sp. ซึ่งพบเฉพาะบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะสิมิลัน มักปรากฏอยู่ในซอกหลืบ มีขนาดโคโลนีไม่ใหญ่มาก สําหรับสถานภาพของปะการังอ่อนใน บริเวณนี้เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีการศึกษาก่อนหน้าในปี 2548 โดย Chanmethakul (2009) พบว่า มีการเปลี่ยนในเชิงที่ลดลง โดยเฉพาะอย่างในปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ภาพที่ 36 ก) พบว่าจากที่เคยมีความชุกชุมสูงลดลงเหลือชุกชุมปานกลาง สําหรับสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ทั่วไปยังคงอยู่ใน สภาวะปกติ (ภาพที่ 36 ข) ภาพที่ 36 ปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) 2. สถานีที่ 2 เกาะห้า (หินม้วนเดียว) พบปะการังจํานวน 7 สกุล โดยเรียงลําดับตามความชุก ชุมดังนี้ Dendronephthya spp. Scleronephthya spp. Chironephthya spp. Siphonogorgia sp. Nephthea sp. Eleutherobia sp. และ Nidalia sp. สถานภาพของปะการังอ่อนในบริเวณนี้อยู่ใน ระดับ 3 ซึ่งเป็นความชุกชุมระดับสูง แม้ว่าผลจากการประเมินด้วยการดู (visual estimate) นั้นมีจุดด้อย ในเชิงปริมาณ แต่ก็สามารถสรุปผลได้อย่างกว้าง ๆ ว่าความชุกชุมของปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ภาพที่ 37 ก-ข) มีจํานวนลดลงจากระดับสูงมากลงมาเหลือเพียงระดับสูง เมื่อ เปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีการศึกษาก่อนหน้า (Chanmethakul , 2009) ก ข
  • 10. 68 ประเด็นที่น่าสนใจเพิ่มเติมของสถานีที่ศึกษานี้คือ บริเวณนี้มีปะการังอ่อนสกุลที่หายากปรากฏอยู่ ด้วยคือปะการังอ่อนสกุล Nidalia sp. ผลจากการประเมินครั้งนี้ยังคงพบเห็นอยู่เล็กน้อยเช่นเดิม ภาพที่ 37 ปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) 3 สถานีที่ 3 อ่าวไฟแว๊บ เกาะแปด บริเวณนี้ไม่พบปะการังในแนวและนอกแนวสํารวจ 4. สถานีที่ 4 เกาะหก ฝั่งตะวันตก (West of Eden) พบปะการังอ่อนทั้งสิ้น 7 สกุล โดยเรียง ตามความชุกชุมที่พบได้ดังนี้ Dendronephthya spp. Scleronephthya spp. Nephthea sp. Chironephthya spp. Siphonogorgia sp. Lobophytum spp. และ Sarcophyton spp. สภาพ โดยทั่วไปของแนวปะการังในบริเวณนี้เป็นหินชายฝั่งขนาดใหญ่ มีลักษณะสูงชัน ลักษณะทางกายภาพ เช่นนี้มักจะพบปะการังอ่อนค่อนข้างชุกชุม สําหรับผลการประเมินความชุกชุมพบว่าแนวปะการังใน บริเวณนี้มีความชุกชุมระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับความลึก 10 - 15 เมตรเป็นบริเวณที่พบความ ชุกชุมของปะการังอ่อนมากที่สุด สําหรับพื้นทรายด้านนอกแนวปะการังนั้นพบว่ามีปะการังอ่อนปรากฏอยู่ บนพื้นทราย โดยกระจายตัวห่าง ๆ กัน (ภาพที่ 38) ก ข
  • 11. 69 ภาพที่ 38 ปะการังอ่อนสกุล Dendronephthya spp. (ก) และปะการัง Nephthea sp. (ข) อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ ได้แก่ 1. สถานีที่ 5 เกาะตอรินลา พบปะการังอ่อนจํานวน 2 สุกลได้แก่ Nephthea sp. และ Sarcophyton sp. โดยพบว่าปะการังอ่อนส่วนใหญ่เจริญเติบโตได้ดีบริเวณตอนล่างของแนวปะการัง ใน บริเวณนี้พบความชุกชุมของปะการังอ่อน Nephthea sp. ในปริมาณที่สูง (ภาพที่ 39 ก) สําหรับปะการัง อ่อนสกุล Sarcophyton sp. พบเพียงสามโคโลนีเท่านั้น (ภาพที่ 39 ข) ภาพที่ 39 ความชุกชุมของปะการังอ่อน Nephthea sp. ในปริมาณที่สูง. (ก) และปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ข) ก ข ก ข
  • 12. 70 2 สถานีที่ 6 อ่าวผักกาด มีความชุกชุมของปะการังอ่อนน้อย โดยพบปะการังอ่อนสกุล Lobophytum sp. เพียงสองโคโลนีเท่านั้น (ภาพที่ 40 ก) ลักษณะทั่วไปของแนวปะการังในบริเวณนี้ เหมาะสมสําหรับการพัฒนาของปะการังแข็งมากกว่าดังนั้นจึงพบว่าสิ่งมีชีวิตบนพื้นแนวปะการังส่วนใหญ่ เป็นปะการังแข็ง (ภาพที่ 40 ข) ภาพที่ 40 ปะการังอ่อนสกุล Lobophytum sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) 3 สถานีที่ 7 อ่าวแม่ยาย มีปะการังอ่อนในแนวสํารวจเพียง 1 สกุลเท่านั้นคือ สกุล Sinularia sp. (ภาพที่ 41 ก) ระดับความชุกชุมของปะการังมีน้อย สําหรับในบริเวณนี้เคยมีปะการังอ่อน Sarcophyton sp. แต่จากการประเมินในครั้งนี้ไม่พบปะการังอ่อนในสกุลดังกล่าว สภาพทั่วไปพบกลุ่ม ปะการังแข็งเป็นสิ่งมีชีวิตหลักในแนวปะการัง (ภาพที่ 41 ข) ภาพที่ 41 ปะการังอ่อนสกุล Sinularia sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) ก ข ก ข
  • 13. 71 4 สถานีที่ 8 อ่าวเต่า ผลจากการประเมินพบปะการังอ่อนเพียงสกุลเดียวเท่านั้นคือ Scleronephthya sp. (ภาพที่ 42 ก ) โดยมีตําแหน่งที่พบเป็นตําแหน่งเดียวเดียวที่ระดับความลึก 15 เมตร ระดับความชุกชุมน้อย สภาพโดยทั่วไปเป็นแนวปะการังที่มีปะการังแข็งเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลัก (ภาพที่ 42 ข) ภาพที่ 42 ปะการังอ่อนสกุล Scleronephthya sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) 5 สถานีที่ 9 อ่าวไม้งาม ไม่พบปะการังอ่อนในแนวสํารวจ อย่างไรก็ตามพบว่ามีปะการังสกุล Sarcophyton sp. (ภาพที่ 43 ก) บริเวณตอนล่างของ reef slope โดยมีความชุกชุมน้อย อย่างไรก็ตาม บริเวณตอนล่างของ reef slope นี้เคยมีปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. ในระดับปานกลาง แต่ หลังจากเกิดการฟอกขาวในปี 2553 จํานวนของปะการังอ่อนได้ลดลงอย่างมาก คาดว่าจํานวนปะการัง อ่อนในบริเวณน่าจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในอนาคต สําหรับสภาพทั่วไปของแนวปะการังยังคงอยู่ในสภาพ ปกติ (ภาพที่ 43 ข) ภาพที่ 43 ปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) ก ข ก ข
  • 14. 72 6 สถานีที่ 10 อ่าวจาก ไม่พบปะการังอ่อนในแนวเส้นสํารวจ แต่นอกแนวสํารวจบริเวณตอนล่าง ของแนวปะการังพบปะการังอ่อน 1 สกุลคือ Sarcophyton sp. (ภาพที่ 44 ก) สภาพแนวปะการัง โดยทั่วไปยังคงอยู่สภาพปกติดี (ภาพที่ 44 ข) ภาพที่ 44 ปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) 7 สถานีที่ 11 เกาะสต๊อค ไม่พบปะการังอ่อนบริเวณแนวเส้นสํารวจ แต่พบปะการังอ่อนสกุล Nephthea sp. (ภาพที่ 45 ก) บริเวณตอนล่างของแนวปะการัง ความชุกชุมที่พบอยู่ในระดับน้อย สําหรับสภาพแนวปะการังโดยทั่วไปถูกปกคลุมด้วยสิ่งมีชีวิตกลุ่มพรมทะเล (ภาพที่ 45 ข) ภาพที่ 45 ปะการังอ่อนสกุล Nephthea sp. (ก) และสภาพทั่วไปของแนวปะการัง (ข) ก ข ก ข
  • 15. 73 8 สถานีที่ 12 อ่าวสุเทพ ไม่พบปะการังอ่อนในแนวสํารวจ แต่พบปะการังบริเวณตอนล่าง จํานวน 4 สกุล เรียงตามลําดับความชุกชุมได้แก่ Sinularia sp. Scleronephthya sp. Lobophytum sp. และ Sarcophyton sp. (ภาพที่ 46 ก - ง) ภาพที่ 46 ปะการังอ่อนสกุล Sinularia sp. (ก) ปะการังอ่อนสกุล Sarcophyton sp. (ข) ปะการังอ่อน สกุล Scleronephthya sp. (ค) และปะการังอ่อนสกุล Lobophytum sp. (ง) ก ข ค ง