SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
- 1 -
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครองโครงการ CATSPA
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง มีวิธีการที่ได้กาหนดขึ้นเพื่อ
ให้ผู้บริหารและกากับนโยบายใช้ในการพิจารณาสนับสนุนตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการ
พื้นที่ของแต่ละประเทศหรือภูมิภาคให้มีประสิทธิภาพ หลักการพิจารณาแนวทางการดาเนินงาน
จะประกอบด้วย
1. การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
2.การวิเคราะห์ขอบเขต ความรุนแรงและการกระจายของภัยคุกคาม
3. การวิเคราะห์เขตพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ ที่มีความสาคัญและคุณค่าของระบบนิเวศเศรษฐกิจ
และสังคม
4.การกาหนด การดาเนินงานตามระดับความสาคัญของการจัดการหรือความเร่งด่วน
ในการแก้ไขปัญหา
5. เทคนิคการพัฒนาในด้านต่างๆ ตามความสาคัญของนโยบายและแผนการติดตามผล
ตามขั้นตอนเพื่อสนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
ในการดาเนินงานตามแผนงานเพื่อการประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
สามารถดาเนินการได้โดยวิธีการสัมภาษณ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการทั่วไป หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการใน
พื้นที่ เพื่อให้ผู้เข้าประชุมที่ประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยงานระดับพื้นที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ประจา ผู้กากับ
นโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามาให้ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ผล และจัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม
ที่จะดาเนินการต่อไป ในการดาเนินงานของผู้ประเมินจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 การพิจารณาขอบเขตของการประเมินผล
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินผลข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินผล
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์กิจกรรมที่จะดาเนินการต่อไปพร้อมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
การประเมินผลการจัดการตามแผนยุทธศาสตร์ จะเป็นการประเมินตามข้อกาหนด
ระยะเวลาของแผนและขั้นตอน ในการประเมิน มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับพื้นที่และข้อมูลที่ต้องการ
ซึ่งจะประกอบด้วย
- 2 -
1. วิสัยทัศน์ เป้าหมายและวัตถุประสงค์เพื่อให้โครงการบรรลุผลที่วางไว้
2.ประเมินผลสภาพแวดล้อม สถานภาพ แรงกดดัน ภัยคุกคาม และปัจจัยภายนอก
ที่มีผลทาให้ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์
3. ประเมินผลความเหมาะสมของแผนและการจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
4. ประเมินผลด้านทรัพยากรที่นามาใช้ในการจัดการ
5. ประเมินผลด้านกระบวนการการจัดการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
6. ประเมินผลความสาเร็จที่เกิดขึ้น
7. ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบ เช่น ข้อด้อยของพื้นที่
กรอบของกระบวนการในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ขึ้นอยู่กับผลที่ได้รับและ
แรงจูงใจ โดยพิจารณาตามขั้นตอนในกระบวนการจัดการตามหลัก 6 ประการ คือ เนื้อหา (Context) แผน
(Planning) ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Outputs) และผลที่ได้รับ (Outcome)
วิสัยทัศน์ เป้าหมาย
และวัตถุประสงค์
การประเมินผลและ
สิ่งที่สะท้อนให้เห็น
สภาพแวดล้อม
และสถานภาพ
ผลที่ได้รับ
ผลลัพธ์ของ
การจัดการ
การวางแผน
และรูปแบบ
วัสดุอุปกรณ์
และเครื่องมือที่ใช้
กระบวนการจัดการ
จุดด้อย จุดแข็ง
ของแผนยุทธศาสตร์ เราต้องการทราบอะไร
ปัจจัยภายนอกอะไรบ้าง
ที่กระทบกับวัตถุประสงค์
แผนการสนับสนุน
ตามวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ที่ใช้กระบวนการจัดการเป็นไป
ตามวัตถุประสงค์หรือไม่
ผลลัพธ์เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์หรือไม่
การปฏิบัติตาม
วัตถุประสงค์สาเร็จหรือไม่
- 3 -
1. context เป็นการอธิบายถึงพื้นที่โดยทั่วไป ประกอบด้วย คุณค่า ภัยคุกคามที่เกิดขึ้น
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพแวดล้อมของการจัดการและนโยบายทางการเมือง
2. planning จะประกอบด้วย วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ และยุทธศาสตร์การจัดการ
และการลดภัยคุกคาม
3. input ปัจจัยนาเข้าเพื่อใช้ในการจัดการตามแผน เช่น พนักงานเจ้าหน้าที่ งบประมาณ
เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ตามแผน
4. process กระบวนการจัดการหรือการดาเนินงาน
5. outputs ผลลัพธ์ ผลที่ได้รับตามแผนยุทธศาสตร์หรือแผนการจัดการ
6. outcomes ผลที่ได้รับจากการดาเนินการกิจกรรมการจัดการต่างๆ
โดยทั่วไปในการดาเนินงานของแต่ละพื้นที่คุ้มครอง สามารถกาหนดและหาคาตอบ
ได้ตามลาดับความสาคัญ เช่น มีภัยคุกคามที่สาคัญอะไรบ้างเกิดขึ้น มีความรุนแรงมากน้อยแค่ไหน
เมื่อเปรียบกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ความสามารถในการจัดการของพนักงานเจ้าหน้าที่ มีกิจกรรมใดบ้าง
ที่จะต้องมีการแก้ไข ระดับการลดลงของพื้นที่คุ้มครอง นโยบายของรัฐบาลระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
มีส่วนสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างไรบ้าง มียุทธศาสตร์การจัดการอะไรบ้าง
ที่ปฏิบัติแล้วมีประสิทธิภาพ การปรับแผนการจัดการสามารถหาคาตอบจากคาถามดังกล่าวได้ เช่น
มีขั้นตอนลดภัยคุกคามอย่างไรบ้าง มีความต้องการอะไรบ้างที่ต้องเติมให้เต็ม มีการพัฒนาบุคลากรในพื้นที่
เนื้อหา
(Context)
แผน
(planning)
ปัจจัยนาเข้า
(Inputs)
กระบวนการ
(Processes)
ผลลัพท์
(Outputs)
ผลที่ได้
(Outcomes)
1. ภัยคุกคาม
2. ความสาคัญ
ของความหลาก
หลายทางชีวภาพ
3. ความสาคัญ
ทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคม
4. ความเปราะ -
บางไม่มั่นคง
5. นโยบายของ
พื้นที่คุ้มครอง
6. นโยบาย
สิ่งแวดล้อม
1. วัตถุประสงค์
2. กฎหมายที่
เกี่ยวข้อง
3. การกาหนด
พื้นที่ตามแผน
4. การกาหนด
ระบบพื้นที่
คุ้มครอง
1. พนักงาน
เจ้าหน้าที่
2. ข้อมูลและ
การสื่อสาร
3. สิ่งก่อสร้าง
4. งบประมาณ
1. แผนการจัดการ
2. การปฏิบัติตาม
แผน
3. การวิจัย การ
ติดตามและ
ประมินผล
1. ป้ องกันภัยคุกคาม
2. การปรับปรุงพื้นที่
คุ้มครอง
3. การจัดการสัตว์ป่า
4. การจัดการอย่างมี
ส่วนร่วม
5. การจัดการการ
ท่องเที่ยว
6. สิ่งก่อสร้าง
7. ผลลัพธ์ตามแผน
8. การติดตามผล
9. การฝึกอบรม
10. การวิจัย
ความกดดันและ
ภัยคุกคามลดลง
- 4 -
ต้องการสิ่งก่อสร้างอะไรบ้าง ที่จะทาให้พื้นที่คุ้มครองสามารถรับรองความปลอดภัยของความหลากหลาย
ทางชีวภาพได้
สมมติฐาน
วิธีการที่จะดาเนินการประเมินผลพื้นที่คุ้มครองจะขึ้นอยู่กับข้อสมมติฐาน ดังนี้
1. การรับบทบาทหน้าที่ในการประเมินเปรียบเสมือนการทางานอยู่ในอากาศที่ว่างเปล่า
คุณค่าของข้อมูลจะขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่และผู้บริหาร อากาศที่ว่างเปล่า
ก็เสมือนว่าเป็นช่องว่างในการรับข้อมูลที่บุคคลดังกล่าวจัดหาให้และใช้ผลลัพธ์ที่ได้รับ
2. ต้องยอมรับว่า บทนิยามของพื้นที่คุ้มครอง หมายถึง “พื้นที่ดินหรือพื้นที่ทางทะเล
ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นการป้ องกันและบารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางทัศนียภาพ ดาเนินงานโดยใช้กฎหมายจัดตั้งและบริหารจัดการ”
3. วิธีการที่จะดาเนินการนี้เป็นวิธีการเบื้องต้นที่เหมาะสมในการใช้ประเมินผลพื้นที่
คุ้มครองของรัฐมากกว่าพื้นที่คุ้มครองของเอกชน แต่สามารถนาไปปรับปรุงใช้ได้ซึ่งคาถามบางข้อต้องปรับ
ให้เหมาะสม
4. วิธีการนี้สามารถนาไปปรับใช้การประเมินผลพื้นที่ป่าไม้หรือทุ่งหญ้าหรือพื้นที่ชุ่มน้า
โดยปรับคาถามเสียใหม่ให้สอดคล้องกับพื้นที่ ปัจจุบันได้มีการปรับวิธีการใช้กับระบบนิเวศทางทะเล
5. วิธีการนี้สามารถใช้ได้กับพื้นที่คุ้มครองทั้ง 6 ประเภท (จัดแบ่งโดยองค์การ IUCN )โดย
มีความเหมาะสมสาหรับประเภทที่ 1-4 ส่วนประเภทที่ 5 Protected Landscape/Seascape ต้องการตัวชี้วัดที่
ชัดเจนเข้าใจได้ง่ายและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นอย่างมาก และประเภทที่ 6 Managed Resources ต้องการตัวชี้วัด
ด้านการจัดการป่าไม้ที่มีหลักการและหลักเกณฑ์ที่ยั่งยืน
6. ผู้บริหารและหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลและคุ้นเคย
กับข้อมูลดังกล่าว
7. วิธีการนี้สามารถนาไปใช้กับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ได้โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเอกเทศหรือ
พื้นที่จัดตั้งตามวัตถุประสงค์เดียว การเก็บข้อมูลจะมีไม่มาก แต่ข้อมูลเหล่านี้ส่วนใหญ่จะใช้ได้ดีกับพื้นที่
ใหญ่และกว้างขวาง
8. ประโยชน์ของการใช้ข้อมูลแต่ละพื้นที่สามารถนาไปเปรียบเทียบกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ
ที่ดาเนินการตามวัตถุประสงค์คล้ายกันหรือต่างกัน ผู้ดาเนินการจะแยกออกเป็นกลุ่มๆ ได้ตามต้องการ
ขั้นตอนการดาเนินการประเมินผล
ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดขอบเขตของการประเมินผล
การพิจารณาขอบเขตของการประเมินผลจะต้องเขียนให้เข้าใจง่าย โดยมีแนวทางดังนี้
1. วัตถุประสงค์ของการประเมินผลพื้นที่คุ้มครองคืออะไร
2. ข้อมูลที่ได้จะใช้อย่างไร โดยใคร
- 5 -
3.มีใครบ้างที่จะเป็นผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน
4. ผลที่ได้จะใช้ทาอะไรต่อไป
5. ทรัพยากรที่จะใช้มีอะไรบ้าง ต้องเตรียมให้พร้อม
6. ใครเป็นผู้มีหน้าที่ดาเนินการประเมินผล
7. ใช้เวลาในการดาเนินงานนานเท่าไร
8. มีขั้นตอนอย่างไร
การพิจารณาขอบเขตของการประเมินผลจะรวมถึงวิธีการคัดเลือกพื้นที่ที่จะทาการ
ในประเทศที่มีพื้นที่คุ้มครองไม่มาก เช่น ประเทศเม็กซิโก เนปาล แอลจีเรีย ดาเนินการคัดเลือกได้ง่าย
ส่วนประเทศที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีพื้นที่คุ้มครองมากมาย เช่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บราซิล
สหรัฐอเมริกา การดาเนินการในทุกๆ พื้นที่ทาได้ยาก ยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานสามารถทาได้ในวงจากัด
คือ
1. ดาเนินการเฉพาะพื้นที่ เช่น ภายในจังหวัด อาเภอ รัฐหรือภูมิภาค
2. เป็นพื้นที่คุ้มครองที่ได้มีการจัดการแบ่งตามหลักการแบ่งประเภทขององค์การ IUCN
3. มีการจัดการที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินผลจากข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
ในหลายๆ ประเทศได้มีการดาเนินการประเมินผลประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่
คุ้มครองและการอนุรักษ์ที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ทั้งปริมาณและคุณภาพของการประเมินผล มีข้อมูล
ดาเนินการในแต่ละพื้นที่ที่มีอุปกรณ์พร้อมจะได้รับการคัดเลือกให้มีการประเมิน มีการวิเคราะห์
ความแตกต่างของข้อมูล และมีการเพิ่มข้อมูลบางส่วนให้เหมาะสมแนวทางการพิจารณาประกอบด้วย
1. แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
2. การทบทวนความหลากหลายทางชีวภาพ
3. การประเมินเพื่อการฝึกอบรมและการเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถของพนักงาน
เจ้าหน้าที่
4. การวิเคราะห์ภัยคุกคาม
5. การค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์
6. การศึกษาทางด้านสังคมและมนุษยวิทยา
7. การรายงานจากภาคสนาม
8. การรายงานจากหน่วยงานภายนอก
9. การทบทวนกฎหมายและนโยบาย
ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสามารถได้จากการประชุมเชิงปฏิบัติการหรือกาหนดโดยบุคคลที่มี
ความรู้ความชานาญ กาหนดวิธี การประเมินผล เช่น แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อใช้ในการกาหนดพื้นที่
ที่มีแรงกดดันและภัยคุกคาม การสารวจชุมชนเพื่อให้ทราบถึงสถานภาพของเศรษฐกิจและสังคม
- 6 -
ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อใช้เป็นหลักฐานยืนยันว่ามีเหตุผลการดาเนินงานที่มีผลความสาเร็จ
ตามวัตถุประสงค์
ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสามารถนาไปใช้ได้โดยตรงหรือโดยทางอ้อม บางส่วนของข้อมูล
จะต้องพิจารณารวมถึงความเชื่อถือจากแหล่งของข้อมูลที่มีและความถูกต้อง ซึ่งหัวหน้าหน่วยงาน ผู้บริหาร
หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม จะต้องมีการพิจารณาอย่างละเอียด
ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดแบบสอบถามข้อมูล
ขั้นตอนนี้เป็ นส่วนสาคัญในการเก็บข้อมูลโดยการกาหนดแบบสอบถามที่ได้จาก
การประชุมเชิงปฏิบัติการที่ประกอบด้วยหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง ผู้บริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้เข้าประชุม
จะต้องมีการอภิปรายร่วมกันในการใช้คาถาม การสื่อความหมายและการเสนอความเห็น
การวิเคราะห์ร่วมกัน การรับฟังข้อเสนอแนะและการดาเนินงานขั้นตอนต่อไป
การดาเนินการเพื่อให้ได้คาถามที่ดีโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บข้อมูล
เป็นวิธีการที่ใช้ดาเนินการกันทั่วไปและได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความคิดเห็น
และแสดงออกเพิ่มเติมมากขึ้น ผู้เข้าประชุมได้พิจารณามาตรฐานของคาถามที่จะใช้เป็นระบบ แต่บางครั้งการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการอาจจะใช้ไม่ได้ผลและไม่ได้คาถามที่ถูกต้อง ขึ้นอยู่กับประเพณีวัฒนธรรม
และหลักสูตรที่จะใช้ในการประเมิน การสัมภาษณ์ภาคเอกชนหรือจัดประชุมย่อยจะได้ผลมากกว่า
การประชุมใหญ่ รวมถึงพิจารณาถึงหลักการของการประเมินผลทางประเพณีวัฒนธรรม สถานภาพ
ของความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าไม้การประชุมเชิงปฏิบัติการสามารถดาเนินการได้ดังนี้
1. การปรับปรุงตัวชี้วัดเฉพาะในแต่ละคาถาม
2. การเพิ่มเติมคาถามที่ต้องการ
3. การปรับคาหรือคาพูดหรือการสื่อความหมาย
4. ลดคาถามบางข้อออก
ความถูกต้องของข้อมูลจะมีข้อสังเกตขึ้นอยู่กับ
1. ความรับผิดชอบ ถ้าหากหัวหน้าผู้รับผิดชอบเข้าร่วมด้วยเขาจะต้องมีความเป็นกันเองและ
ซื่อสัตย์ต่อประชาชนผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผล ฉะนั้นความสาคัญของวิธีการคือ จะต้องบริหารการเก็บ
ข้อมูลโดยผู้ที่มีความรู้ความชานาญและความเข้าใจถึงวิธีการ วัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าได้รับ
2. การใช้ข้อมูล หัวหน้าผู้รับผิดชอบพื้นที่มีความจาเป็ นที่จะต้องรู้ถึงข้อมูลและ
การนาไปใช้ หากมีข้อด้อยในการจัดการจาเป็นต้องเพิ่มงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์เพื่อให้ได้ผลในอนาคต
หรือการลดความจาเป็นในกรณีพิเศษ หรือเพิ่มความเข้มแข็งในการทางานควรมีการตอบแทนโดยในการ
ให้รางวัล หรือมีการจัดการพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพที่เป็นเป้ าหมายเพื่อการท่องเที่ยวหรือการพัฒนาด้านอื่นๆ
ความสาคัญของพื้นที่ในด้านความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจ-สังคม ใครเป็นผู้ตัดสินใจในการ
ทางานตามแผน
3. การกาหนดข้อมูล ข้อมูลที่ได้รับควรมีความเป็นอิสระในการใช้ ต้องมีความเชื่อถือได้
ถึงแม้ว่าจะเป็นข้อมูลจากองค์กรภาคเอกชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการใช้เทคนิคอย่างง่ายๆ เช่น การใช้
- 7 -
ภาพถ่ายทางอากาศหรือภาพถ่ายดาวเทียม การประชุมเชิงปฏิบัติการสามารถทาได้ง่ายและมีคุณสมบัติ
ที่จะต้องมีผลเกิดขึ้น
4. ความสม่าเสมอของการสื่อความหมาย การประชุมเชิงปฏิบัติการที่ผู้เข้าประชุมต้องมี
ความเข้าใจในทางเดียวกัน ถ้าหากจะมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงคาถามและการวิเคราะห์ การตอบ
คาถามจะมีการบ่งบอกถึงลักษณะที่ดี มีความสอดคล้อง ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ การสื่อความหมายควร
จะเป็นคาถามที่ง่ายในการสร้างความเข้าใจและง่ายต่อผู้เข้าร่วมประชุมสามารถสื่อสารกันได้ง่ายและมีการ
ตกลงกันในการใช้คาที่เหมาะสมสาหรับคาถาม
5. การใช้ตัวเลือกในการตอบคาถามต้องมีความชัดเจนและง่ายต่อการตอบ คือ(1) เห็นด้วย
อย่างยิ่ง (2) เห็นด้วย (3) ไม่เห็นด้วย และ(4) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง การใช้ตัวเลือกในการตอบคาถามโดยมี 4
ตัวเลือกดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ตอบเข้าใจง่าย เช่น คาถามถามว่า ควรให้มีแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ถ้าตอบว่า เห็นด้วย ก็แสดงว่าควรมีแผนการจัดการพื้นที่มาใช้ หรือถ้าหากจะตอบว่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง พื้นที่
คุ้มครองต้องมีแผนการจัดการที่แน่นอน ถ้าตอบว่า ไม่เห็นด้วย แสดงว่าไม่จาเป็นต้องใช้แผนการจัดการ และ
หากตอบว่าไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จะทาให้เห็นว่าไม่จาเป็นต้องมีการใช้แผนยุทธศาสตร์การจัดพื้นที่อย่างยิ่ง
ฉะนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการใช้ในการประเมินผลเพื่อการดาเนินงานจึงได้แบ่งออก
เป็นส่วนๆ ดังนี้
1. ข้อมูลเบื้องต้น จะประกอบด้วย
1.1 ชื่อพื้นที่คุ้มครอง
1.2 วันเดือนปีที่ประกาศจัดตั้ง
1.3 ขนาดของพื้นที่
1.4 ผู้ตอบ
1.5 วันสัมภาษณ์
1.6 งบประมาณที่ได้รับ
1.7 วัตถุประสงค์เฉพาะของการจัดการ
1.8 กิจกรรมของพื้นที่คุ้มครองที่วิกฤติ
2. แรงกดดันและภัยคุกคาม
ข้อมูลที่ต้องการแยกออกเป็น 2 ประเด็น คือ (1) แรงกดดันและภัยคุกคามที่เกิดขึ้น
ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา และ (2) แรงกดดันและภัยคุกคามที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า
แรงกดดันและภัยคุกคามจากกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นและส่งผลกระทบกับพื้นที่คุ้มครองอย่างไร เช่น ทาให้
ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง ประชากรของชนิดพันธุ์ลดลง ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมลง
จะรวมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ทั้งถูกต้องตามกฎหมายและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และพื้นที่ได้รับผลกระทบโดย
ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากกิจกรรมต่างๆ ภัยคุกคามเป็นแรงกดดันที่เกิดขึ้นย่อมมีผลกระทบกับทรัพยากร
- 8 -
ในพื้นที่ทั้งปัจจุบันและอาจจะเกิดเพิ่มขึ้นในอนาคต ตัวอย่างแรงกดดันและภัยคุกคามที่พบในพื้นที่คุ้มครอง
เช่น
1. การทาไม้ทั้งที่กระทาโดยถูกต้องและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น การจัดสร้างที่พัก สาหรับ
ผู้อพยพหนีภัย การสร้างที่พักสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ การสร้างถนน พื้นที่การเกษตร การปลูกป่าและ
การใช้ประโยชน์อย่างอื่น
3. การทาเหมืองแร่ ไม่ว่าจะเป็นเหมืองขุดหรืออย่างอื่น เป็นการทาลายทรัพยากร
ใต้พื้นดิน ทาให้เกิดมลพิษ
4. การเลี้ยงปศุสัตว์ภายในพื้นที่คุ้มครอง และการเก็บเกี่ยวอาหารสัตว์ในพื้นที่
5. การสร้างเขื่อนพลังไฟฟ้ าหรือเพื่อการเกษตร บางพื้นที่ใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ
หรือกีฬาตกปลา เป็นต้น
6. การลักลอบล่าสัตว์ป่า
7. การเก็บหาของป่า เพื่อนาไปใช้ประกอบเป็นอาหาร การเก็บพืชสมุนไพร การตัดไม้
เพื่อการก่อสร้าง การเก็บยางไม้หรืออย่างอื่น เพื่อการบริโภคหรือเพื่อการค้า
8. การท่องเที่ยวและการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การปีนเขา การจัดตั้งแคมป์ พัก การขี่ม้า
ล่องแพ หรือขับรถวิบากในป่า
9. มลพิษที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
10. การรบกวนจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การเผาไร่ สารพิษฆ่าแมลงหรือวัชพืช
11. การทาให้เกิดการพังทลายของดิน น้าไหลบ่า น้าท่วมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศ
12. ภัยที่เกิดจากการรุกรานของสัตว์ต่างถิ่น ทั้งชนิดพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
ขอบเขต
แรงกดดันและภัยคุกคามที่เกิดขึ้นมีมากน้อยกว้างขวางขนาดไหน เช่น กีฬาตกปลา
มีนักกีฬาตกปลาเพิ่มขึ้นจะทาความเสียหายให้แก่พื้นที่ได้การลักลอบล่าสัตว์ป่าเป็นการทาลายประชากรสัตว์
ป่าบางชนิด มลพิษจากสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยการบุกรุกพื้นที่ดินเพื่อประโยชน์
ในทางการเกษตรหรืออย่างอื่น การเกิดขึ้นของแรงกดดันและภัยคุกคามในพื้นที่มากกว่า 50%
จะถูกถามว่าเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างทั่วไป หรือกระจายอยู่ทั่วไปประมาณ 15-50% หรือกระจายอยู่ทั่วไป
ประมาณ 5-15% หรือเป็นบางจุดไม่เกิน 5%
- 9 -
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ความมากน้อยของแรงกดดันและภัยคุกคามที่เป็นอันตรายต่อพื้นที่หรือมีผลกระทบกับ
ทรัพยากรในพื้นที่ เช่น การพังทลายของดิน ดินแน่น มีตะกอนในลาธารมาก เสียงรบกวน ทาลายพืชท้องถิ่น
ทาลายความหนาแน่นของชนิดพันธุ์หรือกระทบกับการขยายพันธุ์ของชนิดพันธุ์จะอยู่ในระดับของ
ความรุนแรงที่ทาให้ทรัพยากรหมดไปได้ การทาลายดิน น้า พันธุ์ไม้ พันธุ์สัตว์ป่าทั้งโดยทางตรงและ
ทางอ้อม ผลกระทบจะแสดงออกมาในลักษณะของระดับ คือ ระดับสูง/ปานกลาง/เบาบางหรือไม่มาก
การฟื้นฟู
การฟื้นฟูให้สู่สภาพเดิมจะใช้ระยะเวลานานเท่าไรที่ทรัพยากรในพื้นที่ฟื้นตัวเองสู่สภาพเดิม
ตามธรรมชาติ โดยปราศจากการรบกวนของมนุษย์ การปรับปรุงโครงสร้างของระบบนิเวศ ระดับของ
กระบวนการกิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยคิดคานวณว่าจะฟื้นฟูได้ภายในระยะเวลา 100 ปี (ระยะยาว) หรือ20-100 ปี
(ปานกลาง) และ 5-10 ปี (ระยะสั้น)
ความเป็นไปได้
แรงกดดันและภัยคุกคามที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากจานวนน้อยไปจนถึงระดับสูงสุด
มีปัจจัยที่จะต้องพิจารณา คือ ระดับของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในอดีต ปัจจัยภายนอกและแรงกดดันจากกฎหมาย
ระเบียบข้อบังคับหรือความขัดแย้งในการบริหาร การวิเคราะห์แรงกดดันและภัยคุกคาม ให้พิจารณาดูจาก
กระบวนการประเมินจะช่วยให้ทราบถึงการคงอยู่ของแรงกดดัน และภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง หัวหน้า
พื้นที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจทาแผนการปฏิบัติงานได้
- 10 -
ตัวอย่างแรงกดดันและภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในระดับที่แตกต่างกัน
2. สร้างถนน กระจาย ปานกลาง ระยะปาน
กลาง
8 การสร้างถนนได้กาหนดไว้ใน
แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ผลกระทบเกิดจากการก่อสร้าง
การขุดดินลูกรัง ใช้สาหรับการ
เดินทางของพนักงานเจ้าหน้าที่
และนักท่องเที่ยว
3. การท่องเที่ยว เฉพาะ
ท้องถิ่น
สูง ระยะสั้น 9 นักท่องเที่ยวที่ขับขี่ยานพาหนะ
off-road ในพื้นที่คุ้มครองอย่าง
เข้มข้น รบกวนที่อาศัยของสัตว์
ป่า ที่สร้างรัง วางไข่ เลี้ยงลูกของ
ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า
4. การลักลอบล่า
สัตว์ป่า
กระจาย
ทั่วไป
สูง ระยะปาน
กลาง
18 ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่ถูกล่าจะเป็น
ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากมีราคาแพง
ใช้ประโยชน์ในการประกอบยา
แผนโบราณ
5. การรุกรานของ
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
กระจาย
ทั่วไป
สูง ระยะยาว 27 มีอยู่ทั่วไปในพื้นที่ไม่เหมาะสม
กับเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าบาง
ชนิด เช่น ช้างป่าและแรด เป็นต้น
6. การสร้างเขื่อน ตลอดทั้ง
พื้นที่
รุนแรง ถาวร 64 เป็นการสร้างเขื่อนเพื่อพลังไฟฟ้า
การชลประทาน และจะเกิด
อุทกภัยในพื้นที่ได้
กิจกรรม ขอบเขต ผลกระทบ ความถาวร ระดับ คาอธิบายและเหตุผล
1. การเก็บหาของป่า เฉพาะ
ท้องถิ่น
ไม่รุนแรง ระยะสั้น 1 การเก็บหาของป่า ส่วนใหญ่เป็น
การเก็บเห็ดเพื่อการบริโภคของ
ชุมชนท้องถิ่นและหมู่บ้าน
ใกล้เคียง รวมถึงการเก็บพืช
สมุนไพร
- 11 -
3. ความสาคัญทางด้านชีววิทยา
ข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับชีววิทยา อาจจะประกอบด้วย
3.1 ภายในพื้นที่คุ้มครองจะมีชนิดพันธุ์ที่หาได้ยาก ใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูกคุกคาม
ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากจะมีประชากรน้อยลงเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ชนิดพันธุ์
ที่อยู่ในภาวะอันตรายใกล้สูญพันธุ์ตลอดทั้งพื้นที่หรือชนิดพันธุ์ที่มีความสาคัญระดับท้องถิ่น
3.2 พื้นที่คุ้มครองมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ความหลากหลายทางชีวภาพ
จะหมายถึงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ ประชากร สังคมและระบบ
นิเวศ ในคาถามด้านนี้จะเป็นการจัดระดับความหลากหลาย มีการวัดหาความอุดมสมบูรณ์ของชนิดพันธุ์
(Species Richness) โครงสร้างความหลากหลายของระบบนิเวศและมีเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ เช่น
ชนิดของดิน ด้านลาด หรือระดับความรุนแรง
3.3 ในพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีชนิดพันธุ์ประจาถิ่น โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่
ผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการจาเป็นต้องทราบข้อมูลรายละเอียดดีพอ
3.4 พื้นที่คุ้มครองจะอานวยประโยชน์ทางด้านถิ่นที่อาศัย อาจจะเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญ
โดยเฉพาะ เช่น เป็นแหล่งอาหาร แหล่งน้า แหล่งผสมพันธุ์ แหล่งอพยพย้ายถิ่นสาหรับชนิดพันธุ์ หากมี
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะมีผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่เป็น KeySpecies หรือสถานที่เลี้ยงดูวัยอ่อนของสัตว์ป่า
3.5 พื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยความหลากหลายของพืชและสัตว์ โดยเฉพาะชนิดที่
มีความสาคัญกันในระบบนิเวศและสังคมของสิ่งมีชีวิตในพื้นที่
3.6 ความเป็นตัวแทนของระบบนิเวศ ในพื้นที่คุ้มครองบริเวณพื้นที่ที่เป็นภูเขาสูงจะให้
ผลผลิตไม่ได้สัดส่วนกัน ขณะเดียวกันพื้นที่ที่สร้างผลผลิตสูงย่อมจะเป็นตัวแทนที่ดี
3.7 พื้นที่คุ้มครองสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของประชากรชนิดพันธุ์ที่เป็น
Key Species สามารถรองรับชนิดพันธุ์ได้มากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่สาคัญที่เป็นตัวชี้วัด เช่น
- พื้นที่ที่อาศัยจากัดที่ต้องการการกระจายของชนิดพันธุ์ เช่น สัตว์ที่มี Home range
ขนาดใหญ่ ประชากรสัตว์ป่าจะถูกรบกวน สถานภาพจะหาได้ยาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์ และถูกคุกคาม
- การคงอยู่ของชนิดพันธุ์ขึ้นอยู่กับกระบวนการทางนิเวศวิทยาเช่นไฟป่าน้าท่วมเป็นต้น
- Flagship Species ที่ได้รับการสนับสนุนในการอนุรักษ์โดยสาธารณชน
3.8 โครงสร้างของความหลากหลายในพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ
ของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ ความหลากหลายของป่าไม้จะมีการเปลี่ยนแปลงตามขั้นตอนต่างๆ และ
มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ที่แตกต่างกัน ตามเวลาของการเปลี่ยนแปลง เช่น ทุ่งหญ้าที่เปลี่ยนแปลงเป็น
ป่าดงดิบ
3.9 ระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองจะถูกทาลาย ถูกรบกวนทาให้ระบบนิเวศนั้นๆ ลดลง
เนื่องมาจากการใช้ประโยชน์ เช่น การใช้พื้นที่ป่าไม้ป่าพรุ พื้นที่ชุ่มน้า ที่ถูกนามาพัฒนาเป็นพื้นที่การเกษตร
ทุ่งหญ้าเป็นที่เลี้ยงปศุสัตว์หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ
- 12 -
3.10 พื้นที่คุ้มครองเป็นส่วนที่ช่วยให้กระบวนการทดแทนเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ตาม
กระบวนการทดแทนของสังคมพืชและสัตว์ หากมีการรบกวนเกิดขึ้นในช่วงใดช่วงหนึ่งจะทาให้มีการ
เปลี่ยนแปลงส่วนอื่นด้วย เช่น การหมุนเวียนของแร่ธาตุ การย่อยสลาย การขยายพันธุ์ของสัตว์ผู้ล่า
การอพยพย้ายถิ่น การถูกรบกวนจากภัยอันตรายต่างๆ จากกิจกรรมของมนุษย์ หรือภัยธรรมชาติจะรุนแรง
ต่างกัน
4. ความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม อาจจะประกอบด้วย
4.1 พื้นที่คุ้มครองมีความสาคัญด้านการสร้างงานสาหรับคนในชุมชนท้องถิ่น เช่น
การจ้างแรงงานเพื่อทางานในพื้นที่และรับจ้างการใช้บริการด้านการนาเที่ยวหรือธุรกิจการท่องเที่ยว
4.2 การดารงชีวิตของชุมชนท้องถิ่นขึ้นอยู่กับพื้นที่คุ้มครอง ชุมชนในท้องถิ่นได้อาศัย
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อนุรักษ์เช่น อาหารพืชสมุนไพร แหล่งต้นน้าลาธาร วัสดุอุปกรณ์ในการอยู่อาศัย
ตามวัฒนธรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจหรือทางด้านการตลาด
4.3 พื้นที่คุ้มครองอานวยผลประโยชน์ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การใช้ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจหรือเพื่อการบริโภค โดยขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และการพัฒนาให้มี
ผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติน้อยที่สุด เช่น การเก็บหาของป่า การเก็บพืชสมุนไพร เป็นต้น
4.4 พื้นที่คุ้มครองมีความสาคัญทางด้านศาสนาและด้านจิตใจที่สงบ เช่นการใช้พื้นที่ป่าไม้
เพื่อกิจกรรมทางศาสนาโดยไม่มีการทาลาย
4.5 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวมของความงามตามธรรมชาติ เช่น ทัศนียภาพที่สาคัญ
น้าตก น้าพุร้อน หรือถ้า ซึ่งเป็นสถานที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
4.6 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวบรวมชนิดพันธุ์พืชที่มีความสาคัญทางด้านวัฒนธรรมและ
เศรษฐกิจ
4.7 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวบรวมชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่มีความสาคัญทางด้านวัฒนธรรม
และเศรษฐกิจ
4.8 พื้นที่คุ้มครองบางแห่งมีคุณค่าด้านการพักผ่อนหย่อนใจ มีความเหมาะสมเป็นแหล่ง
การท่องเที่ยว การเดินป่า การตั้งค่ายพัก ล่องแพ และกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ คุณค่า
ทางด้านการพักผ่อนหย่อนใจขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์และมีความสาคัญต่อชุมชนท้องถิ่น
4.9 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์ทางด้านการบริการของระบบนิเวศและมี
คุณค่าต่อชุมชน เช่น เป็นแหล่งอานวยน้าให้แก่ชุมชน ป้องกันอุทกภัยและป้องกันการเกิดขึ้นของงทะเลทราย
4.10 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ในระยะยาว เป็นพื้นที่ที่ไม่เหมือน
ธรรมชาติทั่วๆ ไป โดยเฉพาะกระบวนการทางนิเวศวิทยา ชีววิทยาของชนิดพันธุ์ มีวิธีการจัดการที่แตกต่าง
กันไปและเหมาะสมเป็นพื้นที่ศึกษาของนักเรียน นักศึกษาจากโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย
- 13 -
5. ความไม่มั่นคงของพื้นที่คุ้มครอง
ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับความไม่มั่นคงของพื้นที่ อาจจะประกอบด้วย
5.1 กิจกรรมที่ผิดกฎหมายยากต่อการติดตามผล ความยุ่งยากของการติดตามผล
จะปรากฏในพื้นที่ขนาดใหญ่และยากต่อการเข้าถึง หรือกิจกรรมการเก็บหาของป่าในบริเวณที่เป็นป่าภูเขาสูง
หรือห่างไกลจากการดูแลของพนักงานเจ้าหน้าที่
5.2 กฎหมายที่ใช้บังคับไม่เข้มงวดและรุนแรงพอที่จะทาให้ผู้กระทาผิดเข็ดหลาบ
บทกาหนดโทษน้อยเกินไปจนไม่สามารถจะควบคุมพื้นที่ได้
5.3 การติดสินบนและการทุจริตที่เกิดขึ้นในพื้นที่หลายๆ แห่ง โดยเฉพาะการติดสินบน
ด้วยเงินตราเพื่อแลกเปลี่ยนกับการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ การทุจริตเป็นการไม่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่
ความไม่เท่าเทียมกัน ความไม่เป็นธรรมหรือยุติธรรมในการทางานตามระเบียบต่างๆ
5.4 ความไม่มั่นคงทางการเมืองหรือความวุ่นวายทางการเมืองเป็นสาเหตุให้เกิด
ความขัดแย้งทางการบริหาร การจัดการพื้นที่ไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ความไม่ปลอดภัยในการเดินทาง
ในพื้นที่ แนวคิดที่แตกต่างกันในเรื่องผลประโยชน์ เป็นต้น
5.5 ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อและแนวคิด ทาให้เกิดความขัดแย้งในวัตถุประสงค์ของ
พื้นที่ เช่น การเก็บพืชสมุนไพร การนาชิ้นส่วนของสัตว์ป่าที่หาได้ยากเป็นยาแผนโบราณ การมีความเชื่อจะมี
ความต้องการบริโภคเพิ่มมากขึ้น อัตราการขยายพันธุ์ของสัตว์ป่าที่หาได้ยากลดลง แต่มีความสาคัญทาง
ชีววิทยาสูงมาก
5.6 มีคุณค่าทางด้านการตลาด ตัวอย่างคุณค่าทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงเพราะหาได้ยาก
มีแหล่งแร่ที่สาคัญ มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้า หรือมีการเลี้ยงปศุสัตว์มากเกินไป
5.7 การกระทาที่เสี่ยงต่อการผิดกฎหมายภายในพื้นที่คุ้มครอง เช่น มีการสร้างถนน
เข้าไปในพื้นที่ การปิดกั้นทางน้า หรือพื้นที่คุ้มครองตามแนวชายแดน
5.8 ทรัพยากรธรรมชาติมีหลายชนิดในพื้นที่มีคุณค่ามากเป็นที่ต้องการของตลาด เช่น
ดีหมี นอแรด เกล็ดลิ่น และพืชสมุนไพร
5.9 การจัดการเพื่อผลประโยชน์หรือการหารายได้จากทรัพยากรในพื้นที่จะมีผลถึง
การทาลายทรัพยากรธรรมชาติได้ โดยเฉพาะนโยบายทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มขึ้น
ของนักท่องเที่ยวต้องเพิ่มสิ่งอานวยความสะดวก การก่อสร้างบ้านพัก การตัดไม้ การเปิดพื้นที่ป่าเพื่อเพิ่ม
พื้นที่การจัดตั้งแคมป์ เป็นต้น
5.10 การจ้างแรงงานจากชุมชนท้องถิ่น เป็นการคัดเลือกลูกจ้างชั่วคราวเข้ามาทางาน ส่วน
ใหญ่จะเป็นแรงงานที่ไม่ค่อยมีความชานาญมีความรู้ความสามารถน้อย หรือไม่มีประสบการณ์เพียงพอใน
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง
- 14 -
6. วัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์การจัดการ
ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่ อาจจะ
ประกอบด้วย
6.1 วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองก็เพื่อเป็นการป้ องกันและบารุงรักษาความ
หลากหลายทางชีวภาพ ดังที่องค์การ IUCN ได้ให้ความหมายไว้แล้วว่า พื้นที่คุ้มครอง (Protected Areas)
จะเกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่อานวยประโยชน์ในด้านการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากร
ที่คล้ายคลึงกัน ไม่มีการทาลายหรือขัดแย้งกับวัตถุประสงค์
6.2 ความหลากหลายทางชีวภาพที่ได้กาหนดการจัดการต้องสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่มี
ความเข้าใจง่าย แผนยุทธศาสตร์การจัดการควรมีรายละเอียด เจาะจงและปฏิบัติได้ในการป้ องกัน บารุงรักษา
โดยเฉพาะ Key Species
6.3 นโยบายการจัดการและแผนควรจะกาหนดให้แน่ชัดและมีความเชื่อมโยงกัน เช่น
แผนงานประจาปีควรเชื่อมโยงกับนโยบาย
6.4 หัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ ผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องเข้าใจถึงวัตถุประสงค์
และนโยบายของการจัดการพื้นที่คุ้มครองตามหลักการเหตุผลและรับผิดชอบในการดาเนินงาน
6.5 ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนสนับสนุนวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานจัดการพื้นที่คุ้มครอง
รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง ลดการกระทาผิด ร่วมกันพิจารณาตัดสินใจและร่วมกัน
จัดการพื้นที่คุ้มครองโดยการเป็นอาสาสมัครจัดการพื้นที่คุ้มครอง
7. พื้นที่คุ้มครองได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายที่กาหนด
ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับการที่พื้นที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
อาจจะประกอบด้วย
7.1 พื้นที่คุ้มครองได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายในระยะยาว เป็นการประกาศ
ตามพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการคุ้มครองพื้นที่ฉบับต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ ทรัพยากรทุกชนิดในพื้นที่
ก็ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายด้วย เช่น แหล่งแร่ แหล่งน้า พันธุ์ไม้และทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นๆ
7.2 ความเกี่ยวข้องกับสิทธิในที่ดิน โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นใช้สิทธิดาเนินงานในพื้นที่
เช่น สิทธิในการเก็บหาของป่า ตกปลา อ้างถึงความเป็นเจ้าของพื้นที่ การแก้ไขจึงเป็นการสร้างความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานต่างๆ เช่น ป่าไม้อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และหน่วยงานอื่นๆ
7.3 การจัดทาแนวเขตพื้นที่คุ้มครองให้ชัดเจนตามวัตถุประสงค์ การจัดทาแนวเขต
โดยอาศัยพื้นที่เป็นสาคัญ เช่น การใช้แม่น้า ลาธารเป็นแนวเขตหรือลักษณะที่สาคัญอย่างอื่น เช่น สันปันน้า
แนวเขตระหว่างชุมชนกับพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้ชุมชน พนักงานเจ้าหน้าที่ นักท่องเที่ยวและบุคคลทั่วไป
สามารถที่จะมองเห็นแนวเขตได้ชัดเจน มีแผนที่แสดงหมุดหลักฐานที่กาหนดและสามารถใช้ในการพิจารณา
ทางศาลได้
- 15 -
7.4 การจัดการพื้นที่คุ้มครองมีเงินงบประมาณในการดูแลรักษาพื้นที่ตามกฎหมาย
กิจกรรมตามที่กฎหมายใช้บังคับในการจัดการทุกส่วนต้องปฏิบัติตามกฎหมายนับตั้งแต่พนักงานเจ้าหน้าที่
นักท่องเที่ยว ชุมชนท้องถิ่นและประชาชนทั่วไป
7.5 ความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับพื้นที่คุ้มครองต้องได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง
ความขัดแย้งนี้จะต้องได้รับการแก้ไขตามวิธีการ ขั้นตอนของการปฏิบัติให้เป็นที่น่าพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย
การชดเชยจากการเรียกร้องในสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น การเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่ไปกัดกินต้นไม้ในพื้นที่จะมี
การฟ้องร้องกันได้
8. การออกแบบการจัดการพื้นที่และการวางแผน
ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับแบบการจัดการและการวางแผนพื้นที่ อาจจะ
ประกอบด้วย
8.1 พื้นที่ที่จะกาหนด จะต้องอยู่ในวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองและขึ้นอยู่
กับข้อมูลที่มีอยู่ เช่น ประชากรชนิดพันธุ์ การกระจายของชนิดพันธุ์และถิ่นที่อาศัย การกาหนดเพื่อ
การอนุรักษ์อย่างเข้มข้น ห้ามกระทาการใดๆ เป็นอันขาด
8.2 การกาหนดพื้นที่และกิจกรรมไม่กระทบกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
เช่น การตัดไม้ไม่ให้มีผลกระทบกับความหลากหลายทางชีวภาพ หลีกเลี่ยงการกาหนดพื้นที่ก่อสร้างที่ทาให้
เกิดการพังทลายของดิน ทาลายระบบนิเวศหรือทาลายทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่
8.3 การกาหนดเขตการจัดการว่าจะอยู่ส่วนใดของพื้นที่ เช่น Core zone, Buffer zone และ
Resource use zone หรือพื้นที่ที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรม นโยบายการกาหนดเขตการจัดการจะเป็นการอนุรักษ์
ชนิดพันธุ์ที่มีคุณค่า หาได้ยาก การบังคับใช้กฎหมายต้องเข้มข้น โดยพิจารณาจากภัยคุกคามที่เกิดขึ้น แต่ถ้า
หากพื้นที่คุ้มครองได้รับการดูแลเป็นอย่างดีไม่จาเป็นต้องแบ่งเขตการจัดการก็ได้
8.4 การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบๆ พื้นที่คุ้มครอง จะต้องไม่มีการใช้ประโยชน์ที่มี
ผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อนุรักษ์ เช่น ความหนาแน่นของประชากร การจัดการป่าไม้ พื้นที่
การเกษตร พื้นที่เอกชน แหล่งพักผ่อนหย่อนใจรวมถึงเขตชุมชน
8.5 กาหนดให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ หรือ ระหว่างหน่วยงานอนุรักษ์อื่นๆ การ
ปล่อยสัตว์ป่ าคืนสู่ธรรมชาติจาพวกเสือโคร่ง ช้างป่ า กระทิง วัวแดง เพื่อให้ชนิดพันธุ์มีความมั่นคง
ทางความหลากหลายทางชีวภาพ
9. พนักงานเจ้าหน้าที่
ความต้องการข้อมูลที่กล่าวถึงพนักงานเจ้าหน้าที่ อาจจะประกอบด้วย
9.1 ระดับการศึกษาของพนักงานเจ้าหน้าที่มีประสิทธิภาพในการจัดการพื้นที่หรือไม่
เพียงใด ประเภทของสาขาวิชาของบุคลากรที่เข้ามาทางานในกิจกรรมต่างๆ ของการจัดการ มีปัจจัยหรือ
อุปสรรคในการจัดหาบุคลากรมาปฏิบัติงานในหน้าที่ดังกล่าวอย่างไร
9.2 จานวนของพนักงานเจ้าหน้าที่มีเพียงพอที่จะปฏิบัติงานในพื้นที่ทุกๆ ด้านหรือไม่ เช่น
ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญด้านการจัดการทรัพยากร ด้านการวางแผน ด้านการสารวจและ
- 16 -
ติดตามผลชนิดพันธุ์และประชากรสัตว์ป่า หรือด้านการประชาสัมพันธ์ พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มีการฝึกอบรม
เพิ่มเติมหรือไม่
9.3 มีการเปิ ดโอกาสให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาบุคลากร
ในด้านต่างๆ เช่น การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น การจัดการทรัพยากร การประชุมเชิงปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและ
ระยะยาว การฝึกอบรมด้านอาชีพ การศึกษาดูงาน การสับเปลี่ยนงานในหน้าที่ การสัมมนาและ
การพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ ควรมียุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาบุคลากร
9.4 การติดตามตรวจสอบการทางานของพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าการดาเนินงานสู่เป้ าหมาย
ของการจัดการหรือไม่ มีการทบทวนกระบวนการทางาน การติดตามผลงานตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์
ของแผนงานยุทธศาสตร์
9.5 ส่งเสริมเพื่อการคงไว้พนักงานเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มีความรู้ความชานาญไว้ทางาน
เฉพาะด้าน โดยการให้กาลังใจในการทางานด้านค่าจ้าง สุขภาพและการพักผ่อนประจาปี
10. การสื่อสาร
ความต้องการข้อมูลที่กล่าวถึงด้านการสื่อสาร อาจจะประกอบด้วย
10.1 มีการสื่อสารระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับสูงกับพนักงานเจ้าหน้าที่
ที่ปฏิบัติการภาคสนาม ด้วยอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ เช่น โทรศัพท์ วิทยุรับ-ส่ง โทรสาร เครื่องประมวลผล
อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ า อินเตอร์เน็ท อุปกรณ์ดังกล่าวจะต้องมีใช้ทุกหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อการสื่อสาร
ระหว่างพนักงานลาดตระเวน เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ พนักงานประจาสานักงาน รวมถึงหัวหน้า
หน่วยงานพื้นที่และผู้บริหารระดับสูง
10.2 มีข้อมูลด้านนิเวศ เศรษฐกิจและสังคมเพียงพอสาหรับใช้ในการวางแผน
การจัดการ รวมถึงแผนที่และอุปกรณ์ เช่น แผนที่ดาวเทียม แผนที่ระวาง ภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลด้าน
ภูมิศาสตร์ (แผนที่ดิน พันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์) ข้อมูลด้านชนิดพันธุ์ (การกระจายของชนิดพันธุ์พืช
พันธุ์สัตว์และกลุ่มของชนิดพันธุ์) ข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคม การสารวจ การใช้
ประโยชน์และการพัฒนาชุมชน
10.3 ระบบการเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและมีอุปกรณ์การเก็บข้อมูลที่พร้อมที่จะ
ปฏิบัติงานได้เช่น GPS กล้องส่องทางไกล กล้องถ่ายภาพ อุปกรณ์การสารวจและอุปกรณ์การบันทึกข้อมูล
10.4 มีระบบการดาเนินงานและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงเครื่องประมวลผลทั้งที่เป็น
Hardware และ Software(Software Program on GIS) วิเคราะห์ การติดตามและการวิเคราะห์ การสารวจ
ประชากรและการเปลี่ยนแปลง การจัดการข้อมูลพื้นฐาน
10.5 มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับชุมชนท้องถิ่น การสื่อสารกับชุมชนท้องถิ่นต้อง
โปร่งใส และเกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม
- 17 -
11. สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
11.1 มีอุปกรณ์ด้านการคมนาคมพร้อมที่จะใช้ในการปฏิบัติงานได้ เช่น รถยนต์
ยานพาหนะ ถนน เฮลิคอปเตอร์ เรือเร็ว รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน และม้า ขึ้นอยู่กับพื้นที่และ
ความ ต้องการใช้ประโยชน์ การจัดหาอุปกรณ์ การนาไปใช้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการที่มีประสิทธิภาพ
11.2 อุปกรณ์ภาคสนามจะต้องมีพร้อมที่จะใช้ในการปฏิบัติงานได้ทันที เช่น อุปกรณ์
การปีนภูเขา เต็นท์สนาม อุปกรณ์การเก็บข้อมูล เป็นต้น
11.3 สิ่งก่อสร้างจะต้องกาหนดไว้ในแผนบริหารจัดการพื้นที่ประกอบด้วยสานักงาน
ห้องประชุม อาคารวิจัย บ้านพักพนักงานเจ้าหน้าที่ ห้องสุขา โรงจอดรถ อาคารบริการ โรงอาหารและ
สิ่งก่อสร้างหน่วยพิทักษ์ป่า
11.4 มีความพร้อมในการซ่อมแซมบารุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ
11.5 อาคารศูนย์บริการมีขนาดที่เหมาะสมในการรองรับนักท่องเที่ยว และห้องประชุม
ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปตามวัตถุประสงค์ มีการบริการข้อมูล เอกสารการประชาสัมพันธ์ ข้อแนะนา
ต่างๆ น้าดื่ม ถังขยะ ลานกางเต็นท์และเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
12 งบประมาณ
12.1 ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมามีงบประมาณและแหล่งเงินทุนสนับสนุนการดาเนินงาน
ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไรบ้าง
12.2 งบประมาณที่กาหนดไว้ตามแผน 5 ปี ข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะได้งบประมาณ
มาดาเนินการได้มากน้อยเพียงใด มีรายได้จากค่าธรรมเนียมการใช้พื้นที่หรือสถานที่ กาไรจากการลงทุน
ค่าใช้จ่ายและกิจกรรมเร่งด่วนที่จะต้องใช้งบประมาณ
12.3 การบริหารงบประมาณในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งการรายงานการใช้จ่าย
การเก็บรักษาหลักฐานการเงิน วิธีการขอเงินงบประมาณและการได้มาซึ่งเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพมาก
น้อยเพียงใด
12.4 ระยะเวลาในการขออนุมัติใช้เงินงบประมาณในแต่ละกิจกรรมแต่ละงวดหรือแต่
ละปีตรงตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายหรือไม่ การใช้จ่ายเงินตามกิจกรรมที่กาหนดเพื่อลดภัยคุกคาม
ที่เกิดขึ้น
12.5 ในการกาหนดงบประมาณดาเนินการในระยะยาวตามแผน จะมีการพิจารณาแหล่ง
เงินทุนและผู้มีส่วนร่วม กิจกรรมการใช้เงินงบประมาณหรือแหล่งเงินทุนจากภายนอก จะต้องเป็นไปตาม
ระเบียบปฏิบัติที่ถูกต้องและตรวจสอบได้
13. แผนการจัดการพื้นที่
13.1 มีการกาหนดแผนการจัดการไว้โดยมีข้อมูลพื้นที่ที่จะมีการจัดการ มีเป้ าหมาย
และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยเฉพาะการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การทางานเป็นระบบ
มีขั้นตอนและแผนการจัดการสามารถปรับได้ตามกาลเวลา
- 18 -
13.2 มีการสารวจทรัพยากรทางธรรมชาติและวัฒนธรรม การสารวจทรัพยากร
ธรรมชาติจะเป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่า พืชป่า ชนิดพันธุ์หลัก (Key Species) วิกฤติการณ์ของพื้นที่ กระบวนการที่
จะต้องบารุงดูแลรักษาทรัพยากรทางวัฒนธรรมก็มีการศึกษาและการสารวจโดยความร่วมมือกับชุมชน
ท้องถิ่นซึ่งมีแผนการที่จะทางานร่วมกัน
13.3 มีการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนยุทธศาสตร์เพื่อค้นหาภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับพื้นที่
คุ้มครองทั้งในอดีต ปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต พร้อมกับพิจารณาแนวทางป้ องกันและ
การจัดการ
13.4 มีการกาหนดแผนงาน (Work plan) ที่ชัดเจนตามเป้ าหมาย ไม่ว่าจะเป็นแผนงาน
รายเดือน รายไตรมาส รายปี ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์
13.5 ผลการวิจัยและการติดตามผลเพื่อนามาซึ่งการปรับแผน โดยให้มีผลการวิจัยศึกษา
และติดตามข้อมูล งบประมาณและการวางแผนการจัดการที่สัมพันธ์กัน
14. กระบวนการจัดการ
14.1 มีหน่วยงานรับผิดชอบที่ชัดเจน มีโครงสร้างการบริหารงาน ลาดับขั้นตอนและ
กระบวนการในการทางานเพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนเข้าใจในกระบวนการทางาน
14.2 กระบวนการทางานต้องโปร่งใส มีการบันทึกข้อตกลง การทางานร่วมกัน มีการ
ประชุมและกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน
14.3 พนักงานเจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครองร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชุมชนและ
หน่วยงานอื่นๆ ในระดับที่ต่างกัน เช่น ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับนานาชาติ อาจจะเป็นหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ วิจัย โรงเรียน สถานศึกษา องค์การพัฒนาเอกชน หน่วยงานธุรกิจท้องถิ่น ชมรม
อนุรักษ์ บริษัททัวร์และอาสาสมัคร
14.4 การมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
มีอานาจหน้าที่ให้คาแนะนา วางแผนแก้ไขปัญหา การพัฒนาองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ในพื้นที่คุ้มครอง
14.5 การสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาคปฏิบัติกับผู้บริหารระดับสูง กิจกรรมต่างๆ
มีการกาหนดตามขั้นตอนในช่วงเวลาที่กาหนด โดยกาหนดไว้ในกระบวนการของแผน
15. การวิจัย การติดตามและประเมินผล
15.1 การติดตามตรวจสอบการใช้ประโยชน์พื้นที่คุ้มครองทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง
ตามกฎหมาย เช่น ความรุนแรงของภัยคุกคาม การเกิดขึ้นของประชากรชนิดพันธุ์ บทบาทของระบบนิเวศ
การลักลอบล่าสัตว์ป่าและอื่นๆ
15.2 การวิจัยที่เป็นงานพื้นฐานของการจัดการ การกาหนดงานวิจัยให้เป็นไป
ตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ เพื่อนาผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการ เช่น การเก็บหาของป่า การพัฒนา
ชุมชนกับการใช้ประโยชน์ของชุมชน การตลาด โดยเฉพาะการใช้พืชสมุนไพร
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ

More Related Content

What's hot

การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆUNDP
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศUNDP
 

What's hot (8)

การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

Saving Thailand's Natural Heritage
Saving Thailand's Natural HeritageSaving Thailand's Natural Heritage
Saving Thailand's Natural HeritageUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังAuraphin Phetraksa
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 

Viewers also liked (20)

Saving Thailand's Natural Heritage
Saving Thailand's Natural HeritageSaving Thailand's Natural Heritage
Saving Thailand's Natural Heritage
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 

Similar to รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ

แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
Construction safety management
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety managementNantawit Boondesh
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5Tonkaow Jb
 

Similar to รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ (7)

แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
14 2
14 214 2
14 2
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
Construction safety management
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety management
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 

More from UNDP (18)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 

รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ

  • 1.
  • 2. - 1 - รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครองโครงการ CATSPA --------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง มีวิธีการที่ได้กาหนดขึ้นเพื่อ ให้ผู้บริหารและกากับนโยบายใช้ในการพิจารณาสนับสนุนตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการ พื้นที่ของแต่ละประเทศหรือภูมิภาคให้มีประสิทธิภาพ หลักการพิจารณาแนวทางการดาเนินงาน จะประกอบด้วย 1. การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 2.การวิเคราะห์ขอบเขต ความรุนแรงและการกระจายของภัยคุกคาม 3. การวิเคราะห์เขตพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ ที่มีความสาคัญและคุณค่าของระบบนิเวศเศรษฐกิจ และสังคม 4.การกาหนด การดาเนินงานตามระดับความสาคัญของการจัดการหรือความเร่งด่วน ในการแก้ไขปัญหา 5. เทคนิคการพัฒนาในด้านต่างๆ ตามความสาคัญของนโยบายและแผนการติดตามผล ตามขั้นตอนเพื่อสนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ ในการดาเนินงานตามแผนงานเพื่อการประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง สามารถดาเนินการได้โดยวิธีการสัมภาษณ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการทั่วไป หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการใน พื้นที่ เพื่อให้ผู้เข้าประชุมที่ประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยงานระดับพื้นที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ประจา ผู้กากับ นโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามาให้ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ผล และจัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม ที่จะดาเนินการต่อไป ในการดาเนินงานของผู้ประเมินจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การพิจารณาขอบเขตของการประเมินผล ขั้นตอนที่ 2 การประเมินผลข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินผล ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์กิจกรรมที่จะดาเนินการต่อไปพร้อมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ การประเมินผลการจัดการตามแผนยุทธศาสตร์ จะเป็นการประเมินตามข้อกาหนด ระยะเวลาของแผนและขั้นตอน ในการประเมิน มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับพื้นที่และข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งจะประกอบด้วย
  • 3. - 2 - 1. วิสัยทัศน์ เป้าหมายและวัตถุประสงค์เพื่อให้โครงการบรรลุผลที่วางไว้ 2.ประเมินผลสภาพแวดล้อม สถานภาพ แรงกดดัน ภัยคุกคาม และปัจจัยภายนอก ที่มีผลทาให้ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ 3. ประเมินผลความเหมาะสมของแผนและการจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 4. ประเมินผลด้านทรัพยากรที่นามาใช้ในการจัดการ 5. ประเมินผลด้านกระบวนการการจัดการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 6. ประเมินผลความสาเร็จที่เกิดขึ้น 7. ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบ เช่น ข้อด้อยของพื้นที่ กรอบของกระบวนการในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ขึ้นอยู่กับผลที่ได้รับและ แรงจูงใจ โดยพิจารณาตามขั้นตอนในกระบวนการจัดการตามหลัก 6 ประการ คือ เนื้อหา (Context) แผน (Planning) ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Outputs) และผลที่ได้รับ (Outcome) วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ การประเมินผลและ สิ่งที่สะท้อนให้เห็น สภาพแวดล้อม และสถานภาพ ผลที่ได้รับ ผลลัพธ์ของ การจัดการ การวางแผน และรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ กระบวนการจัดการ จุดด้อย จุดแข็ง ของแผนยุทธศาสตร์ เราต้องการทราบอะไร ปัจจัยภายนอกอะไรบ้าง ที่กระทบกับวัตถุประสงค์ แผนการสนับสนุน ตามวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ที่ใช้กระบวนการจัดการเป็นไป ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ผลลัพธ์เป็นไปตาม วัตถุประสงค์หรือไม่ การปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์สาเร็จหรือไม่
  • 4. - 3 - 1. context เป็นการอธิบายถึงพื้นที่โดยทั่วไป ประกอบด้วย คุณค่า ภัยคุกคามที่เกิดขึ้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพแวดล้อมของการจัดการและนโยบายทางการเมือง 2. planning จะประกอบด้วย วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ และยุทธศาสตร์การจัดการ และการลดภัยคุกคาม 3. input ปัจจัยนาเข้าเพื่อใช้ในการจัดการตามแผน เช่น พนักงานเจ้าหน้าที่ งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ตามแผน 4. process กระบวนการจัดการหรือการดาเนินงาน 5. outputs ผลลัพธ์ ผลที่ได้รับตามแผนยุทธศาสตร์หรือแผนการจัดการ 6. outcomes ผลที่ได้รับจากการดาเนินการกิจกรรมการจัดการต่างๆ โดยทั่วไปในการดาเนินงานของแต่ละพื้นที่คุ้มครอง สามารถกาหนดและหาคาตอบ ได้ตามลาดับความสาคัญ เช่น มีภัยคุกคามที่สาคัญอะไรบ้างเกิดขึ้น มีความรุนแรงมากน้อยแค่ไหน เมื่อเปรียบกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ความสามารถในการจัดการของพนักงานเจ้าหน้าที่ มีกิจกรรมใดบ้าง ที่จะต้องมีการแก้ไข ระดับการลดลงของพื้นที่คุ้มครอง นโยบายของรัฐบาลระดับท้องถิ่นและระดับชาติ มีส่วนสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างไรบ้าง มียุทธศาสตร์การจัดการอะไรบ้าง ที่ปฏิบัติแล้วมีประสิทธิภาพ การปรับแผนการจัดการสามารถหาคาตอบจากคาถามดังกล่าวได้ เช่น มีขั้นตอนลดภัยคุกคามอย่างไรบ้าง มีความต้องการอะไรบ้างที่ต้องเติมให้เต็ม มีการพัฒนาบุคลากรในพื้นที่ เนื้อหา (Context) แผน (planning) ปัจจัยนาเข้า (Inputs) กระบวนการ (Processes) ผลลัพท์ (Outputs) ผลที่ได้ (Outcomes) 1. ภัยคุกคาม 2. ความสาคัญ ของความหลาก หลายทางชีวภาพ 3. ความสาคัญ ทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม 4. ความเปราะ - บางไม่มั่นคง 5. นโยบายของ พื้นที่คุ้มครอง 6. นโยบาย สิ่งแวดล้อม 1. วัตถุประสงค์ 2. กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง 3. การกาหนด พื้นที่ตามแผน 4. การกาหนด ระบบพื้นที่ คุ้มครอง 1. พนักงาน เจ้าหน้าที่ 2. ข้อมูลและ การสื่อสาร 3. สิ่งก่อสร้าง 4. งบประมาณ 1. แผนการจัดการ 2. การปฏิบัติตาม แผน 3. การวิจัย การ ติดตามและ ประมินผล 1. ป้ องกันภัยคุกคาม 2. การปรับปรุงพื้นที่ คุ้มครอง 3. การจัดการสัตว์ป่า 4. การจัดการอย่างมี ส่วนร่วม 5. การจัดการการ ท่องเที่ยว 6. สิ่งก่อสร้าง 7. ผลลัพธ์ตามแผน 8. การติดตามผล 9. การฝึกอบรม 10. การวิจัย ความกดดันและ ภัยคุกคามลดลง
  • 5. - 4 - ต้องการสิ่งก่อสร้างอะไรบ้าง ที่จะทาให้พื้นที่คุ้มครองสามารถรับรองความปลอดภัยของความหลากหลาย ทางชีวภาพได้ สมมติฐาน วิธีการที่จะดาเนินการประเมินผลพื้นที่คุ้มครองจะขึ้นอยู่กับข้อสมมติฐาน ดังนี้ 1. การรับบทบาทหน้าที่ในการประเมินเปรียบเสมือนการทางานอยู่ในอากาศที่ว่างเปล่า คุณค่าของข้อมูลจะขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่และผู้บริหาร อากาศที่ว่างเปล่า ก็เสมือนว่าเป็นช่องว่างในการรับข้อมูลที่บุคคลดังกล่าวจัดหาให้และใช้ผลลัพธ์ที่ได้รับ 2. ต้องยอมรับว่า บทนิยามของพื้นที่คุ้มครอง หมายถึง “พื้นที่ดินหรือพื้นที่ทางทะเล ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นการป้ องกันและบารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางทัศนียภาพ ดาเนินงานโดยใช้กฎหมายจัดตั้งและบริหารจัดการ” 3. วิธีการที่จะดาเนินการนี้เป็นวิธีการเบื้องต้นที่เหมาะสมในการใช้ประเมินผลพื้นที่ คุ้มครองของรัฐมากกว่าพื้นที่คุ้มครองของเอกชน แต่สามารถนาไปปรับปรุงใช้ได้ซึ่งคาถามบางข้อต้องปรับ ให้เหมาะสม 4. วิธีการนี้สามารถนาไปปรับใช้การประเมินผลพื้นที่ป่าไม้หรือทุ่งหญ้าหรือพื้นที่ชุ่มน้า โดยปรับคาถามเสียใหม่ให้สอดคล้องกับพื้นที่ ปัจจุบันได้มีการปรับวิธีการใช้กับระบบนิเวศทางทะเล 5. วิธีการนี้สามารถใช้ได้กับพื้นที่คุ้มครองทั้ง 6 ประเภท (จัดแบ่งโดยองค์การ IUCN )โดย มีความเหมาะสมสาหรับประเภทที่ 1-4 ส่วนประเภทที่ 5 Protected Landscape/Seascape ต้องการตัวชี้วัดที่ ชัดเจนเข้าใจได้ง่ายและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นอย่างมาก และประเภทที่ 6 Managed Resources ต้องการตัวชี้วัด ด้านการจัดการป่าไม้ที่มีหลักการและหลักเกณฑ์ที่ยั่งยืน 6. ผู้บริหารและหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลและคุ้นเคย กับข้อมูลดังกล่าว 7. วิธีการนี้สามารถนาไปใช้กับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ได้โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเอกเทศหรือ พื้นที่จัดตั้งตามวัตถุประสงค์เดียว การเก็บข้อมูลจะมีไม่มาก แต่ข้อมูลเหล่านี้ส่วนใหญ่จะใช้ได้ดีกับพื้นที่ ใหญ่และกว้างขวาง 8. ประโยชน์ของการใช้ข้อมูลแต่ละพื้นที่สามารถนาไปเปรียบเทียบกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ที่ดาเนินการตามวัตถุประสงค์คล้ายกันหรือต่างกัน ผู้ดาเนินการจะแยกออกเป็นกลุ่มๆ ได้ตามต้องการ ขั้นตอนการดาเนินการประเมินผล ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดขอบเขตของการประเมินผล การพิจารณาขอบเขตของการประเมินผลจะต้องเขียนให้เข้าใจง่าย โดยมีแนวทางดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ของการประเมินผลพื้นที่คุ้มครองคืออะไร 2. ข้อมูลที่ได้จะใช้อย่างไร โดยใคร
  • 6. - 5 - 3.มีใครบ้างที่จะเป็นผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน 4. ผลที่ได้จะใช้ทาอะไรต่อไป 5. ทรัพยากรที่จะใช้มีอะไรบ้าง ต้องเตรียมให้พร้อม 6. ใครเป็นผู้มีหน้าที่ดาเนินการประเมินผล 7. ใช้เวลาในการดาเนินงานนานเท่าไร 8. มีขั้นตอนอย่างไร การพิจารณาขอบเขตของการประเมินผลจะรวมถึงวิธีการคัดเลือกพื้นที่ที่จะทาการ ในประเทศที่มีพื้นที่คุ้มครองไม่มาก เช่น ประเทศเม็กซิโก เนปาล แอลจีเรีย ดาเนินการคัดเลือกได้ง่าย ส่วนประเทศที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีพื้นที่คุ้มครองมากมาย เช่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บราซิล สหรัฐอเมริกา การดาเนินการในทุกๆ พื้นที่ทาได้ยาก ยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานสามารถทาได้ในวงจากัด คือ 1. ดาเนินการเฉพาะพื้นที่ เช่น ภายในจังหวัด อาเภอ รัฐหรือภูมิภาค 2. เป็นพื้นที่คุ้มครองที่ได้มีการจัดการแบ่งตามหลักการแบ่งประเภทขององค์การ IUCN 3. มีการจัดการที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ขั้นตอนที่ 2 การประเมินผลจากข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ในหลายๆ ประเทศได้มีการดาเนินการประเมินผลประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่ คุ้มครองและการอนุรักษ์ที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ทั้งปริมาณและคุณภาพของการประเมินผล มีข้อมูล ดาเนินการในแต่ละพื้นที่ที่มีอุปกรณ์พร้อมจะได้รับการคัดเลือกให้มีการประเมิน มีการวิเคราะห์ ความแตกต่างของข้อมูล และมีการเพิ่มข้อมูลบางส่วนให้เหมาะสมแนวทางการพิจารณาประกอบด้วย 1. แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม 2. การทบทวนความหลากหลายทางชีวภาพ 3. การประเมินเพื่อการฝึกอบรมและการเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถของพนักงาน เจ้าหน้าที่ 4. การวิเคราะห์ภัยคุกคาม 5. การค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 6. การศึกษาทางด้านสังคมและมนุษยวิทยา 7. การรายงานจากภาคสนาม 8. การรายงานจากหน่วยงานภายนอก 9. การทบทวนกฎหมายและนโยบาย ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสามารถได้จากการประชุมเชิงปฏิบัติการหรือกาหนดโดยบุคคลที่มี ความรู้ความชานาญ กาหนดวิธี การประเมินผล เช่น แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อใช้ในการกาหนดพื้นที่ ที่มีแรงกดดันและภัยคุกคาม การสารวจชุมชนเพื่อให้ทราบถึงสถานภาพของเศรษฐกิจและสังคม
  • 7. - 6 - ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อใช้เป็นหลักฐานยืนยันว่ามีเหตุผลการดาเนินงานที่มีผลความสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสามารถนาไปใช้ได้โดยตรงหรือโดยทางอ้อม บางส่วนของข้อมูล จะต้องพิจารณารวมถึงความเชื่อถือจากแหล่งของข้อมูลที่มีและความถูกต้อง ซึ่งหัวหน้าหน่วยงาน ผู้บริหาร หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม จะต้องมีการพิจารณาอย่างละเอียด ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดแบบสอบถามข้อมูล ขั้นตอนนี้เป็ นส่วนสาคัญในการเก็บข้อมูลโดยการกาหนดแบบสอบถามที่ได้จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการที่ประกอบด้วยหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง ผู้บริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้เข้าประชุม จะต้องมีการอภิปรายร่วมกันในการใช้คาถาม การสื่อความหมายและการเสนอความเห็น การวิเคราะห์ร่วมกัน การรับฟังข้อเสนอแนะและการดาเนินงานขั้นตอนต่อไป การดาเนินการเพื่อให้ได้คาถามที่ดีโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บข้อมูล เป็นวิธีการที่ใช้ดาเนินการกันทั่วไปและได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความคิดเห็น และแสดงออกเพิ่มเติมมากขึ้น ผู้เข้าประชุมได้พิจารณามาตรฐานของคาถามที่จะใช้เป็นระบบ แต่บางครั้งการ ประชุมเชิงปฏิบัติการอาจจะใช้ไม่ได้ผลและไม่ได้คาถามที่ถูกต้อง ขึ้นอยู่กับประเพณีวัฒนธรรม และหลักสูตรที่จะใช้ในการประเมิน การสัมภาษณ์ภาคเอกชนหรือจัดประชุมย่อยจะได้ผลมากกว่า การประชุมใหญ่ รวมถึงพิจารณาถึงหลักการของการประเมินผลทางประเพณีวัฒนธรรม สถานภาพ ของความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าไม้การประชุมเชิงปฏิบัติการสามารถดาเนินการได้ดังนี้ 1. การปรับปรุงตัวชี้วัดเฉพาะในแต่ละคาถาม 2. การเพิ่มเติมคาถามที่ต้องการ 3. การปรับคาหรือคาพูดหรือการสื่อความหมาย 4. ลดคาถามบางข้อออก ความถูกต้องของข้อมูลจะมีข้อสังเกตขึ้นอยู่กับ 1. ความรับผิดชอบ ถ้าหากหัวหน้าผู้รับผิดชอบเข้าร่วมด้วยเขาจะต้องมีความเป็นกันเองและ ซื่อสัตย์ต่อประชาชนผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผล ฉะนั้นความสาคัญของวิธีการคือ จะต้องบริหารการเก็บ ข้อมูลโดยผู้ที่มีความรู้ความชานาญและความเข้าใจถึงวิธีการ วัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าได้รับ 2. การใช้ข้อมูล หัวหน้าผู้รับผิดชอบพื้นที่มีความจาเป็ นที่จะต้องรู้ถึงข้อมูลและ การนาไปใช้ หากมีข้อด้อยในการจัดการจาเป็นต้องเพิ่มงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์เพื่อให้ได้ผลในอนาคต หรือการลดความจาเป็นในกรณีพิเศษ หรือเพิ่มความเข้มแข็งในการทางานควรมีการตอบแทนโดยในการ ให้รางวัล หรือมีการจัดการพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพที่เป็นเป้ าหมายเพื่อการท่องเที่ยวหรือการพัฒนาด้านอื่นๆ ความสาคัญของพื้นที่ในด้านความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจ-สังคม ใครเป็นผู้ตัดสินใจในการ ทางานตามแผน 3. การกาหนดข้อมูล ข้อมูลที่ได้รับควรมีความเป็นอิสระในการใช้ ต้องมีความเชื่อถือได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นข้อมูลจากองค์กรภาคเอกชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการใช้เทคนิคอย่างง่ายๆ เช่น การใช้
  • 8. - 7 - ภาพถ่ายทางอากาศหรือภาพถ่ายดาวเทียม การประชุมเชิงปฏิบัติการสามารถทาได้ง่ายและมีคุณสมบัติ ที่จะต้องมีผลเกิดขึ้น 4. ความสม่าเสมอของการสื่อความหมาย การประชุมเชิงปฏิบัติการที่ผู้เข้าประชุมต้องมี ความเข้าใจในทางเดียวกัน ถ้าหากจะมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงคาถามและการวิเคราะห์ การตอบ คาถามจะมีการบ่งบอกถึงลักษณะที่ดี มีความสอดคล้อง ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ การสื่อความหมายควร จะเป็นคาถามที่ง่ายในการสร้างความเข้าใจและง่ายต่อผู้เข้าร่วมประชุมสามารถสื่อสารกันได้ง่ายและมีการ ตกลงกันในการใช้คาที่เหมาะสมสาหรับคาถาม 5. การใช้ตัวเลือกในการตอบคาถามต้องมีความชัดเจนและง่ายต่อการตอบ คือ(1) เห็นด้วย อย่างยิ่ง (2) เห็นด้วย (3) ไม่เห็นด้วย และ(4) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง การใช้ตัวเลือกในการตอบคาถามโดยมี 4 ตัวเลือกดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ตอบเข้าใจง่าย เช่น คาถามถามว่า ควรให้มีแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ถ้าตอบว่า เห็นด้วย ก็แสดงว่าควรมีแผนการจัดการพื้นที่มาใช้ หรือถ้าหากจะตอบว่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง พื้นที่ คุ้มครองต้องมีแผนการจัดการที่แน่นอน ถ้าตอบว่า ไม่เห็นด้วย แสดงว่าไม่จาเป็นต้องใช้แผนการจัดการ และ หากตอบว่าไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จะทาให้เห็นว่าไม่จาเป็นต้องมีการใช้แผนยุทธศาสตร์การจัดพื้นที่อย่างยิ่ง ฉะนั้นข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการใช้ในการประเมินผลเพื่อการดาเนินงานจึงได้แบ่งออก เป็นส่วนๆ ดังนี้ 1. ข้อมูลเบื้องต้น จะประกอบด้วย 1.1 ชื่อพื้นที่คุ้มครอง 1.2 วันเดือนปีที่ประกาศจัดตั้ง 1.3 ขนาดของพื้นที่ 1.4 ผู้ตอบ 1.5 วันสัมภาษณ์ 1.6 งบประมาณที่ได้รับ 1.7 วัตถุประสงค์เฉพาะของการจัดการ 1.8 กิจกรรมของพื้นที่คุ้มครองที่วิกฤติ 2. แรงกดดันและภัยคุกคาม ข้อมูลที่ต้องการแยกออกเป็น 2 ประเด็น คือ (1) แรงกดดันและภัยคุกคามที่เกิดขึ้น ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา และ (2) แรงกดดันและภัยคุกคามที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า แรงกดดันและภัยคุกคามจากกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นและส่งผลกระทบกับพื้นที่คุ้มครองอย่างไร เช่น ทาให้ ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง ประชากรของชนิดพันธุ์ลดลง ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมลง จะรวมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ทั้งถูกต้องตามกฎหมายและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และพื้นที่ได้รับผลกระทบโดย ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากกิจกรรมต่างๆ ภัยคุกคามเป็นแรงกดดันที่เกิดขึ้นย่อมมีผลกระทบกับทรัพยากร
  • 9. - 8 - ในพื้นที่ทั้งปัจจุบันและอาจจะเกิดเพิ่มขึ้นในอนาคต ตัวอย่างแรงกดดันและภัยคุกคามที่พบในพื้นที่คุ้มครอง เช่น 1. การทาไม้ทั้งที่กระทาโดยถูกต้องและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น การจัดสร้างที่พัก สาหรับ ผู้อพยพหนีภัย การสร้างที่พักสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ การสร้างถนน พื้นที่การเกษตร การปลูกป่าและ การใช้ประโยชน์อย่างอื่น 3. การทาเหมืองแร่ ไม่ว่าจะเป็นเหมืองขุดหรืออย่างอื่น เป็นการทาลายทรัพยากร ใต้พื้นดิน ทาให้เกิดมลพิษ 4. การเลี้ยงปศุสัตว์ภายในพื้นที่คุ้มครอง และการเก็บเกี่ยวอาหารสัตว์ในพื้นที่ 5. การสร้างเขื่อนพลังไฟฟ้ าหรือเพื่อการเกษตร บางพื้นที่ใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ หรือกีฬาตกปลา เป็นต้น 6. การลักลอบล่าสัตว์ป่า 7. การเก็บหาของป่า เพื่อนาไปใช้ประกอบเป็นอาหาร การเก็บพืชสมุนไพร การตัดไม้ เพื่อการก่อสร้าง การเก็บยางไม้หรืออย่างอื่น เพื่อการบริโภคหรือเพื่อการค้า 8. การท่องเที่ยวและการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การปีนเขา การจัดตั้งแคมป์ พัก การขี่ม้า ล่องแพ หรือขับรถวิบากในป่า 9. มลพิษที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 10. การรบกวนจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การเผาไร่ สารพิษฆ่าแมลงหรือวัชพืช 11. การทาให้เกิดการพังทลายของดิน น้าไหลบ่า น้าท่วมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศ 12. ภัยที่เกิดจากการรุกรานของสัตว์ต่างถิ่น ทั้งชนิดพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ขอบเขต แรงกดดันและภัยคุกคามที่เกิดขึ้นมีมากน้อยกว้างขวางขนาดไหน เช่น กีฬาตกปลา มีนักกีฬาตกปลาเพิ่มขึ้นจะทาความเสียหายให้แก่พื้นที่ได้การลักลอบล่าสัตว์ป่าเป็นการทาลายประชากรสัตว์ ป่าบางชนิด มลพิษจากสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยการบุกรุกพื้นที่ดินเพื่อประโยชน์ ในทางการเกษตรหรืออย่างอื่น การเกิดขึ้นของแรงกดดันและภัยคุกคามในพื้นที่มากกว่า 50% จะถูกถามว่าเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างทั่วไป หรือกระจายอยู่ทั่วไปประมาณ 15-50% หรือกระจายอยู่ทั่วไป ประมาณ 5-15% หรือเป็นบางจุดไม่เกิน 5%
  • 10. - 9 - ผลกระทบที่เกิดขึ้น ความมากน้อยของแรงกดดันและภัยคุกคามที่เป็นอันตรายต่อพื้นที่หรือมีผลกระทบกับ ทรัพยากรในพื้นที่ เช่น การพังทลายของดิน ดินแน่น มีตะกอนในลาธารมาก เสียงรบกวน ทาลายพืชท้องถิ่น ทาลายความหนาแน่นของชนิดพันธุ์หรือกระทบกับการขยายพันธุ์ของชนิดพันธุ์จะอยู่ในระดับของ ความรุนแรงที่ทาให้ทรัพยากรหมดไปได้ การทาลายดิน น้า พันธุ์ไม้ พันธุ์สัตว์ป่าทั้งโดยทางตรงและ ทางอ้อม ผลกระทบจะแสดงออกมาในลักษณะของระดับ คือ ระดับสูง/ปานกลาง/เบาบางหรือไม่มาก การฟื้นฟู การฟื้นฟูให้สู่สภาพเดิมจะใช้ระยะเวลานานเท่าไรที่ทรัพยากรในพื้นที่ฟื้นตัวเองสู่สภาพเดิม ตามธรรมชาติ โดยปราศจากการรบกวนของมนุษย์ การปรับปรุงโครงสร้างของระบบนิเวศ ระดับของ กระบวนการกิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยคิดคานวณว่าจะฟื้นฟูได้ภายในระยะเวลา 100 ปี (ระยะยาว) หรือ20-100 ปี (ปานกลาง) และ 5-10 ปี (ระยะสั้น) ความเป็นไปได้ แรงกดดันและภัยคุกคามที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากจานวนน้อยไปจนถึงระดับสูงสุด มีปัจจัยที่จะต้องพิจารณา คือ ระดับของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในอดีต ปัจจัยภายนอกและแรงกดดันจากกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับหรือความขัดแย้งในการบริหาร การวิเคราะห์แรงกดดันและภัยคุกคาม ให้พิจารณาดูจาก กระบวนการประเมินจะช่วยให้ทราบถึงการคงอยู่ของแรงกดดัน และภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง หัวหน้า พื้นที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจทาแผนการปฏิบัติงานได้
  • 11. - 10 - ตัวอย่างแรงกดดันและภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในระดับที่แตกต่างกัน 2. สร้างถนน กระจาย ปานกลาง ระยะปาน กลาง 8 การสร้างถนนได้กาหนดไว้ใน แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ผลกระทบเกิดจากการก่อสร้าง การขุดดินลูกรัง ใช้สาหรับการ เดินทางของพนักงานเจ้าหน้าที่ และนักท่องเที่ยว 3. การท่องเที่ยว เฉพาะ ท้องถิ่น สูง ระยะสั้น 9 นักท่องเที่ยวที่ขับขี่ยานพาหนะ off-road ในพื้นที่คุ้มครองอย่าง เข้มข้น รบกวนที่อาศัยของสัตว์ ป่า ที่สร้างรัง วางไข่ เลี้ยงลูกของ ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า 4. การลักลอบล่า สัตว์ป่า กระจาย ทั่วไป สูง ระยะปาน กลาง 18 ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่ถูกล่าจะเป็น ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากมีราคาแพง ใช้ประโยชน์ในการประกอบยา แผนโบราณ 5. การรุกรานของ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น กระจาย ทั่วไป สูง ระยะยาว 27 มีอยู่ทั่วไปในพื้นที่ไม่เหมาะสม กับเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าบาง ชนิด เช่น ช้างป่าและแรด เป็นต้น 6. การสร้างเขื่อน ตลอดทั้ง พื้นที่ รุนแรง ถาวร 64 เป็นการสร้างเขื่อนเพื่อพลังไฟฟ้า การชลประทาน และจะเกิด อุทกภัยในพื้นที่ได้ กิจกรรม ขอบเขต ผลกระทบ ความถาวร ระดับ คาอธิบายและเหตุผล 1. การเก็บหาของป่า เฉพาะ ท้องถิ่น ไม่รุนแรง ระยะสั้น 1 การเก็บหาของป่า ส่วนใหญ่เป็น การเก็บเห็ดเพื่อการบริโภคของ ชุมชนท้องถิ่นและหมู่บ้าน ใกล้เคียง รวมถึงการเก็บพืช สมุนไพร
  • 12. - 11 - 3. ความสาคัญทางด้านชีววิทยา ข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับชีววิทยา อาจจะประกอบด้วย 3.1 ภายในพื้นที่คุ้มครองจะมีชนิดพันธุ์ที่หาได้ยาก ใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูกคุกคาม ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากจะมีประชากรน้อยลงเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ชนิดพันธุ์ ที่อยู่ในภาวะอันตรายใกล้สูญพันธุ์ตลอดทั้งพื้นที่หรือชนิดพันธุ์ที่มีความสาคัญระดับท้องถิ่น 3.2 พื้นที่คุ้มครองมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ความหลากหลายทางชีวภาพ จะหมายถึงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ ประชากร สังคมและระบบ นิเวศ ในคาถามด้านนี้จะเป็นการจัดระดับความหลากหลาย มีการวัดหาความอุดมสมบูรณ์ของชนิดพันธุ์ (Species Richness) โครงสร้างความหลากหลายของระบบนิเวศและมีเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ เช่น ชนิดของดิน ด้านลาด หรือระดับความรุนแรง 3.3 ในพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีชนิดพันธุ์ประจาถิ่น โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการจาเป็นต้องทราบข้อมูลรายละเอียดดีพอ 3.4 พื้นที่คุ้มครองจะอานวยประโยชน์ทางด้านถิ่นที่อาศัย อาจจะเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญ โดยเฉพาะ เช่น เป็นแหล่งอาหาร แหล่งน้า แหล่งผสมพันธุ์ แหล่งอพยพย้ายถิ่นสาหรับชนิดพันธุ์ หากมี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะมีผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่เป็น KeySpecies หรือสถานที่เลี้ยงดูวัยอ่อนของสัตว์ป่า 3.5 พื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยความหลากหลายของพืชและสัตว์ โดยเฉพาะชนิดที่ มีความสาคัญกันในระบบนิเวศและสังคมของสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ 3.6 ความเป็นตัวแทนของระบบนิเวศ ในพื้นที่คุ้มครองบริเวณพื้นที่ที่เป็นภูเขาสูงจะให้ ผลผลิตไม่ได้สัดส่วนกัน ขณะเดียวกันพื้นที่ที่สร้างผลผลิตสูงย่อมจะเป็นตัวแทนที่ดี 3.7 พื้นที่คุ้มครองสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของประชากรชนิดพันธุ์ที่เป็น Key Species สามารถรองรับชนิดพันธุ์ได้มากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่สาคัญที่เป็นตัวชี้วัด เช่น - พื้นที่ที่อาศัยจากัดที่ต้องการการกระจายของชนิดพันธุ์ เช่น สัตว์ที่มี Home range ขนาดใหญ่ ประชากรสัตว์ป่าจะถูกรบกวน สถานภาพจะหาได้ยาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์ และถูกคุกคาม - การคงอยู่ของชนิดพันธุ์ขึ้นอยู่กับกระบวนการทางนิเวศวิทยาเช่นไฟป่าน้าท่วมเป็นต้น - Flagship Species ที่ได้รับการสนับสนุนในการอนุรักษ์โดยสาธารณชน 3.8 โครงสร้างของความหลากหลายในพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ ความหลากหลายของป่าไม้จะมีการเปลี่ยนแปลงตามขั้นตอนต่างๆ และ มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ที่แตกต่างกัน ตามเวลาของการเปลี่ยนแปลง เช่น ทุ่งหญ้าที่เปลี่ยนแปลงเป็น ป่าดงดิบ 3.9 ระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองจะถูกทาลาย ถูกรบกวนทาให้ระบบนิเวศนั้นๆ ลดลง เนื่องมาจากการใช้ประโยชน์ เช่น การใช้พื้นที่ป่าไม้ป่าพรุ พื้นที่ชุ่มน้า ที่ถูกนามาพัฒนาเป็นพื้นที่การเกษตร ทุ่งหญ้าเป็นที่เลี้ยงปศุสัตว์หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ
  • 13. - 12 - 3.10 พื้นที่คุ้มครองเป็นส่วนที่ช่วยให้กระบวนการทดแทนเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ตาม กระบวนการทดแทนของสังคมพืชและสัตว์ หากมีการรบกวนเกิดขึ้นในช่วงใดช่วงหนึ่งจะทาให้มีการ เปลี่ยนแปลงส่วนอื่นด้วย เช่น การหมุนเวียนของแร่ธาตุ การย่อยสลาย การขยายพันธุ์ของสัตว์ผู้ล่า การอพยพย้ายถิ่น การถูกรบกวนจากภัยอันตรายต่างๆ จากกิจกรรมของมนุษย์ หรือภัยธรรมชาติจะรุนแรง ต่างกัน 4. ความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม อาจจะประกอบด้วย 4.1 พื้นที่คุ้มครองมีความสาคัญด้านการสร้างงานสาหรับคนในชุมชนท้องถิ่น เช่น การจ้างแรงงานเพื่อทางานในพื้นที่และรับจ้างการใช้บริการด้านการนาเที่ยวหรือธุรกิจการท่องเที่ยว 4.2 การดารงชีวิตของชุมชนท้องถิ่นขึ้นอยู่กับพื้นที่คุ้มครอง ชุมชนในท้องถิ่นได้อาศัย ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อนุรักษ์เช่น อาหารพืชสมุนไพร แหล่งต้นน้าลาธาร วัสดุอุปกรณ์ในการอยู่อาศัย ตามวัฒนธรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจหรือทางด้านการตลาด 4.3 พื้นที่คุ้มครองอานวยผลประโยชน์ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน การใช้ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจหรือเพื่อการบริโภค โดยขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และการพัฒนาให้มี ผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติน้อยที่สุด เช่น การเก็บหาของป่า การเก็บพืชสมุนไพร เป็นต้น 4.4 พื้นที่คุ้มครองมีความสาคัญทางด้านศาสนาและด้านจิตใจที่สงบ เช่นการใช้พื้นที่ป่าไม้ เพื่อกิจกรรมทางศาสนาโดยไม่มีการทาลาย 4.5 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวมของความงามตามธรรมชาติ เช่น ทัศนียภาพที่สาคัญ น้าตก น้าพุร้อน หรือถ้า ซึ่งเป็นสถานที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ 4.6 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวบรวมชนิดพันธุ์พืชที่มีความสาคัญทางด้านวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจ 4.7 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวบรวมชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่มีความสาคัญทางด้านวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ 4.8 พื้นที่คุ้มครองบางแห่งมีคุณค่าด้านการพักผ่อนหย่อนใจ มีความเหมาะสมเป็นแหล่ง การท่องเที่ยว การเดินป่า การตั้งค่ายพัก ล่องแพ และกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ คุณค่า ทางด้านการพักผ่อนหย่อนใจขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์และมีความสาคัญต่อชุมชนท้องถิ่น 4.9 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์ทางด้านการบริการของระบบนิเวศและมี คุณค่าต่อชุมชน เช่น เป็นแหล่งอานวยน้าให้แก่ชุมชน ป้องกันอุทกภัยและป้องกันการเกิดขึ้นของงทะเลทราย 4.10 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ในระยะยาว เป็นพื้นที่ที่ไม่เหมือน ธรรมชาติทั่วๆ ไป โดยเฉพาะกระบวนการทางนิเวศวิทยา ชีววิทยาของชนิดพันธุ์ มีวิธีการจัดการที่แตกต่าง กันไปและเหมาะสมเป็นพื้นที่ศึกษาของนักเรียน นักศึกษาจากโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย
  • 14. - 13 - 5. ความไม่มั่นคงของพื้นที่คุ้มครอง ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับความไม่มั่นคงของพื้นที่ อาจจะประกอบด้วย 5.1 กิจกรรมที่ผิดกฎหมายยากต่อการติดตามผล ความยุ่งยากของการติดตามผล จะปรากฏในพื้นที่ขนาดใหญ่และยากต่อการเข้าถึง หรือกิจกรรมการเก็บหาของป่าในบริเวณที่เป็นป่าภูเขาสูง หรือห่างไกลจากการดูแลของพนักงานเจ้าหน้าที่ 5.2 กฎหมายที่ใช้บังคับไม่เข้มงวดและรุนแรงพอที่จะทาให้ผู้กระทาผิดเข็ดหลาบ บทกาหนดโทษน้อยเกินไปจนไม่สามารถจะควบคุมพื้นที่ได้ 5.3 การติดสินบนและการทุจริตที่เกิดขึ้นในพื้นที่หลายๆ แห่ง โดยเฉพาะการติดสินบน ด้วยเงินตราเพื่อแลกเปลี่ยนกับการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ การทุจริตเป็นการไม่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ ความไม่เท่าเทียมกัน ความไม่เป็นธรรมหรือยุติธรรมในการทางานตามระเบียบต่างๆ 5.4 ความไม่มั่นคงทางการเมืองหรือความวุ่นวายทางการเมืองเป็นสาเหตุให้เกิด ความขัดแย้งทางการบริหาร การจัดการพื้นที่ไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ความไม่ปลอดภัยในการเดินทาง ในพื้นที่ แนวคิดที่แตกต่างกันในเรื่องผลประโยชน์ เป็นต้น 5.5 ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อและแนวคิด ทาให้เกิดความขัดแย้งในวัตถุประสงค์ของ พื้นที่ เช่น การเก็บพืชสมุนไพร การนาชิ้นส่วนของสัตว์ป่าที่หาได้ยากเป็นยาแผนโบราณ การมีความเชื่อจะมี ความต้องการบริโภคเพิ่มมากขึ้น อัตราการขยายพันธุ์ของสัตว์ป่าที่หาได้ยากลดลง แต่มีความสาคัญทาง ชีววิทยาสูงมาก 5.6 มีคุณค่าทางด้านการตลาด ตัวอย่างคุณค่าทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงเพราะหาได้ยาก มีแหล่งแร่ที่สาคัญ มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้า หรือมีการเลี้ยงปศุสัตว์มากเกินไป 5.7 การกระทาที่เสี่ยงต่อการผิดกฎหมายภายในพื้นที่คุ้มครอง เช่น มีการสร้างถนน เข้าไปในพื้นที่ การปิดกั้นทางน้า หรือพื้นที่คุ้มครองตามแนวชายแดน 5.8 ทรัพยากรธรรมชาติมีหลายชนิดในพื้นที่มีคุณค่ามากเป็นที่ต้องการของตลาด เช่น ดีหมี นอแรด เกล็ดลิ่น และพืชสมุนไพร 5.9 การจัดการเพื่อผลประโยชน์หรือการหารายได้จากทรัพยากรในพื้นที่จะมีผลถึง การทาลายทรัพยากรธรรมชาติได้ โดยเฉพาะนโยบายทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มขึ้น ของนักท่องเที่ยวต้องเพิ่มสิ่งอานวยความสะดวก การก่อสร้างบ้านพัก การตัดไม้ การเปิดพื้นที่ป่าเพื่อเพิ่ม พื้นที่การจัดตั้งแคมป์ เป็นต้น 5.10 การจ้างแรงงานจากชุมชนท้องถิ่น เป็นการคัดเลือกลูกจ้างชั่วคราวเข้ามาทางาน ส่วน ใหญ่จะเป็นแรงงานที่ไม่ค่อยมีความชานาญมีความรู้ความสามารถน้อย หรือไม่มีประสบการณ์เพียงพอใน การจัดการพื้นที่คุ้มครอง
  • 15. - 14 - 6. วัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์การจัดการ ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่ อาจจะ ประกอบด้วย 6.1 วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองก็เพื่อเป็นการป้ องกันและบารุงรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพ ดังที่องค์การ IUCN ได้ให้ความหมายไว้แล้วว่า พื้นที่คุ้มครอง (Protected Areas) จะเกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่อานวยประโยชน์ในด้านการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากร ที่คล้ายคลึงกัน ไม่มีการทาลายหรือขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ 6.2 ความหลากหลายทางชีวภาพที่ได้กาหนดการจัดการต้องสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่มี ความเข้าใจง่าย แผนยุทธศาสตร์การจัดการควรมีรายละเอียด เจาะจงและปฏิบัติได้ในการป้ องกัน บารุงรักษา โดยเฉพาะ Key Species 6.3 นโยบายการจัดการและแผนควรจะกาหนดให้แน่ชัดและมีความเชื่อมโยงกัน เช่น แผนงานประจาปีควรเชื่อมโยงกับนโยบาย 6.4 หัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ ผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ และนโยบายของการจัดการพื้นที่คุ้มครองตามหลักการเหตุผลและรับผิดชอบในการดาเนินงาน 6.5 ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนสนับสนุนวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง ลดการกระทาผิด ร่วมกันพิจารณาตัดสินใจและร่วมกัน จัดการพื้นที่คุ้มครองโดยการเป็นอาสาสมัครจัดการพื้นที่คุ้มครอง 7. พื้นที่คุ้มครองได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายที่กาหนด ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับการที่พื้นที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย อาจจะประกอบด้วย 7.1 พื้นที่คุ้มครองได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายในระยะยาว เป็นการประกาศ ตามพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการคุ้มครองพื้นที่ฉบับต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ ทรัพยากรทุกชนิดในพื้นที่ ก็ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายด้วย เช่น แหล่งแร่ แหล่งน้า พันธุ์ไม้และทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นๆ 7.2 ความเกี่ยวข้องกับสิทธิในที่ดิน โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นใช้สิทธิดาเนินงานในพื้นที่ เช่น สิทธิในการเก็บหาของป่า ตกปลา อ้างถึงความเป็นเจ้าของพื้นที่ การแก้ไขจึงเป็นการสร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆ เช่น ป่าไม้อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และหน่วยงานอื่นๆ 7.3 การจัดทาแนวเขตพื้นที่คุ้มครองให้ชัดเจนตามวัตถุประสงค์ การจัดทาแนวเขต โดยอาศัยพื้นที่เป็นสาคัญ เช่น การใช้แม่น้า ลาธารเป็นแนวเขตหรือลักษณะที่สาคัญอย่างอื่น เช่น สันปันน้า แนวเขตระหว่างชุมชนกับพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้ชุมชน พนักงานเจ้าหน้าที่ นักท่องเที่ยวและบุคคลทั่วไป สามารถที่จะมองเห็นแนวเขตได้ชัดเจน มีแผนที่แสดงหมุดหลักฐานที่กาหนดและสามารถใช้ในการพิจารณา ทางศาลได้
  • 16. - 15 - 7.4 การจัดการพื้นที่คุ้มครองมีเงินงบประมาณในการดูแลรักษาพื้นที่ตามกฎหมาย กิจกรรมตามที่กฎหมายใช้บังคับในการจัดการทุกส่วนต้องปฏิบัติตามกฎหมายนับตั้งแต่พนักงานเจ้าหน้าที่ นักท่องเที่ยว ชุมชนท้องถิ่นและประชาชนทั่วไป 7.5 ความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับพื้นที่คุ้มครองต้องได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง ความขัดแย้งนี้จะต้องได้รับการแก้ไขตามวิธีการ ขั้นตอนของการปฏิบัติให้เป็นที่น่าพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย การชดเชยจากการเรียกร้องในสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น การเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่ไปกัดกินต้นไม้ในพื้นที่จะมี การฟ้องร้องกันได้ 8. การออกแบบการจัดการพื้นที่และการวางแผน ความต้องการข้อมูลเพื่อสอบถามเกี่ยวกับแบบการจัดการและการวางแผนพื้นที่ อาจจะ ประกอบด้วย 8.1 พื้นที่ที่จะกาหนด จะต้องอยู่ในวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองและขึ้นอยู่ กับข้อมูลที่มีอยู่ เช่น ประชากรชนิดพันธุ์ การกระจายของชนิดพันธุ์และถิ่นที่อาศัย การกาหนดเพื่อ การอนุรักษ์อย่างเข้มข้น ห้ามกระทาการใดๆ เป็นอันขาด 8.2 การกาหนดพื้นที่และกิจกรรมไม่กระทบกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น การตัดไม้ไม่ให้มีผลกระทบกับความหลากหลายทางชีวภาพ หลีกเลี่ยงการกาหนดพื้นที่ก่อสร้างที่ทาให้ เกิดการพังทลายของดิน ทาลายระบบนิเวศหรือทาลายทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ 8.3 การกาหนดเขตการจัดการว่าจะอยู่ส่วนใดของพื้นที่ เช่น Core zone, Buffer zone และ Resource use zone หรือพื้นที่ที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรม นโยบายการกาหนดเขตการจัดการจะเป็นการอนุรักษ์ ชนิดพันธุ์ที่มีคุณค่า หาได้ยาก การบังคับใช้กฎหมายต้องเข้มข้น โดยพิจารณาจากภัยคุกคามที่เกิดขึ้น แต่ถ้า หากพื้นที่คุ้มครองได้รับการดูแลเป็นอย่างดีไม่จาเป็นต้องแบ่งเขตการจัดการก็ได้ 8.4 การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบๆ พื้นที่คุ้มครอง จะต้องไม่มีการใช้ประโยชน์ที่มี ผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อนุรักษ์ เช่น ความหนาแน่นของประชากร การจัดการป่าไม้ พื้นที่ การเกษตร พื้นที่เอกชน แหล่งพักผ่อนหย่อนใจรวมถึงเขตชุมชน 8.5 กาหนดให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ หรือ ระหว่างหน่วยงานอนุรักษ์อื่นๆ การ ปล่อยสัตว์ป่ าคืนสู่ธรรมชาติจาพวกเสือโคร่ง ช้างป่ า กระทิง วัวแดง เพื่อให้ชนิดพันธุ์มีความมั่นคง ทางความหลากหลายทางชีวภาพ 9. พนักงานเจ้าหน้าที่ ความต้องการข้อมูลที่กล่าวถึงพนักงานเจ้าหน้าที่ อาจจะประกอบด้วย 9.1 ระดับการศึกษาของพนักงานเจ้าหน้าที่มีประสิทธิภาพในการจัดการพื้นที่หรือไม่ เพียงใด ประเภทของสาขาวิชาของบุคลากรที่เข้ามาทางานในกิจกรรมต่างๆ ของการจัดการ มีปัจจัยหรือ อุปสรรคในการจัดหาบุคลากรมาปฏิบัติงานในหน้าที่ดังกล่าวอย่างไร 9.2 จานวนของพนักงานเจ้าหน้าที่มีเพียงพอที่จะปฏิบัติงานในพื้นที่ทุกๆ ด้านหรือไม่ เช่น ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญด้านการจัดการทรัพยากร ด้านการวางแผน ด้านการสารวจและ
  • 17. - 16 - ติดตามผลชนิดพันธุ์และประชากรสัตว์ป่า หรือด้านการประชาสัมพันธ์ พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มีการฝึกอบรม เพิ่มเติมหรือไม่ 9.3 มีการเปิ ดโอกาสให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาบุคลากร ในด้านต่างๆ เช่น การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น การจัดการทรัพยากร การประชุมเชิงปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว การฝึกอบรมด้านอาชีพ การศึกษาดูงาน การสับเปลี่ยนงานในหน้าที่ การสัมมนาและ การพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ ควรมียุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาบุคลากร 9.4 การติดตามตรวจสอบการทางานของพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าการดาเนินงานสู่เป้ าหมาย ของการจัดการหรือไม่ มีการทบทวนกระบวนการทางาน การติดตามผลงานตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ของแผนงานยุทธศาสตร์ 9.5 ส่งเสริมเพื่อการคงไว้พนักงานเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มีความรู้ความชานาญไว้ทางาน เฉพาะด้าน โดยการให้กาลังใจในการทางานด้านค่าจ้าง สุขภาพและการพักผ่อนประจาปี 10. การสื่อสาร ความต้องการข้อมูลที่กล่าวถึงด้านการสื่อสาร อาจจะประกอบด้วย 10.1 มีการสื่อสารระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับสูงกับพนักงานเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติการภาคสนาม ด้วยอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ เช่น โทรศัพท์ วิทยุรับ-ส่ง โทรสาร เครื่องประมวลผล อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ า อินเตอร์เน็ท อุปกรณ์ดังกล่าวจะต้องมีใช้ทุกหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อการสื่อสาร ระหว่างพนักงานลาดตระเวน เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ พนักงานประจาสานักงาน รวมถึงหัวหน้า หน่วยงานพื้นที่และผู้บริหารระดับสูง 10.2 มีข้อมูลด้านนิเวศ เศรษฐกิจและสังคมเพียงพอสาหรับใช้ในการวางแผน การจัดการ รวมถึงแผนที่และอุปกรณ์ เช่น แผนที่ดาวเทียม แผนที่ระวาง ภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลด้าน ภูมิศาสตร์ (แผนที่ดิน พันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์) ข้อมูลด้านชนิดพันธุ์ (การกระจายของชนิดพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์และกลุ่มของชนิดพันธุ์) ข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคม การสารวจ การใช้ ประโยชน์และการพัฒนาชุมชน 10.3 ระบบการเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและมีอุปกรณ์การเก็บข้อมูลที่พร้อมที่จะ ปฏิบัติงานได้เช่น GPS กล้องส่องทางไกล กล้องถ่ายภาพ อุปกรณ์การสารวจและอุปกรณ์การบันทึกข้อมูล 10.4 มีระบบการดาเนินงานและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงเครื่องประมวลผลทั้งที่เป็น Hardware และ Software(Software Program on GIS) วิเคราะห์ การติดตามและการวิเคราะห์ การสารวจ ประชากรและการเปลี่ยนแปลง การจัดการข้อมูลพื้นฐาน 10.5 มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับชุมชนท้องถิ่น การสื่อสารกับชุมชนท้องถิ่นต้อง โปร่งใส และเกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม
  • 18. - 17 - 11. สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน 11.1 มีอุปกรณ์ด้านการคมนาคมพร้อมที่จะใช้ในการปฏิบัติงานได้ เช่น รถยนต์ ยานพาหนะ ถนน เฮลิคอปเตอร์ เรือเร็ว รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน และม้า ขึ้นอยู่กับพื้นที่และ ความ ต้องการใช้ประโยชน์ การจัดหาอุปกรณ์ การนาไปใช้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการที่มีประสิทธิภาพ 11.2 อุปกรณ์ภาคสนามจะต้องมีพร้อมที่จะใช้ในการปฏิบัติงานได้ทันที เช่น อุปกรณ์ การปีนภูเขา เต็นท์สนาม อุปกรณ์การเก็บข้อมูล เป็นต้น 11.3 สิ่งก่อสร้างจะต้องกาหนดไว้ในแผนบริหารจัดการพื้นที่ประกอบด้วยสานักงาน ห้องประชุม อาคารวิจัย บ้านพักพนักงานเจ้าหน้าที่ ห้องสุขา โรงจอดรถ อาคารบริการ โรงอาหารและ สิ่งก่อสร้างหน่วยพิทักษ์ป่า 11.4 มีความพร้อมในการซ่อมแซมบารุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ 11.5 อาคารศูนย์บริการมีขนาดที่เหมาะสมในการรองรับนักท่องเที่ยว และห้องประชุม ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปตามวัตถุประสงค์ มีการบริการข้อมูล เอกสารการประชาสัมพันธ์ ข้อแนะนา ต่างๆ น้าดื่ม ถังขยะ ลานกางเต็นท์และเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 12 งบประมาณ 12.1 ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมามีงบประมาณและแหล่งเงินทุนสนับสนุนการดาเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไรบ้าง 12.2 งบประมาณที่กาหนดไว้ตามแผน 5 ปี ข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะได้งบประมาณ มาดาเนินการได้มากน้อยเพียงใด มีรายได้จากค่าธรรมเนียมการใช้พื้นที่หรือสถานที่ กาไรจากการลงทุน ค่าใช้จ่ายและกิจกรรมเร่งด่วนที่จะต้องใช้งบประมาณ 12.3 การบริหารงบประมาณในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งการรายงานการใช้จ่าย การเก็บรักษาหลักฐานการเงิน วิธีการขอเงินงบประมาณและการได้มาซึ่งเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพมาก น้อยเพียงใด 12.4 ระยะเวลาในการขออนุมัติใช้เงินงบประมาณในแต่ละกิจกรรมแต่ละงวดหรือแต่ ละปีตรงตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายหรือไม่ การใช้จ่ายเงินตามกิจกรรมที่กาหนดเพื่อลดภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้น 12.5 ในการกาหนดงบประมาณดาเนินการในระยะยาวตามแผน จะมีการพิจารณาแหล่ง เงินทุนและผู้มีส่วนร่วม กิจกรรมการใช้เงินงบประมาณหรือแหล่งเงินทุนจากภายนอก จะต้องเป็นไปตาม ระเบียบปฏิบัติที่ถูกต้องและตรวจสอบได้ 13. แผนการจัดการพื้นที่ 13.1 มีการกาหนดแผนการจัดการไว้โดยมีข้อมูลพื้นที่ที่จะมีการจัดการ มีเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยเฉพาะการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การทางานเป็นระบบ มีขั้นตอนและแผนการจัดการสามารถปรับได้ตามกาลเวลา
  • 19. - 18 - 13.2 มีการสารวจทรัพยากรทางธรรมชาติและวัฒนธรรม การสารวจทรัพยากร ธรรมชาติจะเป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่า พืชป่า ชนิดพันธุ์หลัก (Key Species) วิกฤติการณ์ของพื้นที่ กระบวนการที่ จะต้องบารุงดูแลรักษาทรัพยากรทางวัฒนธรรมก็มีการศึกษาและการสารวจโดยความร่วมมือกับชุมชน ท้องถิ่นซึ่งมีแผนการที่จะทางานร่วมกัน 13.3 มีการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนยุทธศาสตร์เพื่อค้นหาภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ คุ้มครองทั้งในอดีต ปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต พร้อมกับพิจารณาแนวทางป้ องกันและ การจัดการ 13.4 มีการกาหนดแผนงาน (Work plan) ที่ชัดเจนตามเป้ าหมาย ไม่ว่าจะเป็นแผนงาน รายเดือน รายไตรมาส รายปี ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ 13.5 ผลการวิจัยและการติดตามผลเพื่อนามาซึ่งการปรับแผน โดยให้มีผลการวิจัยศึกษา และติดตามข้อมูล งบประมาณและการวางแผนการจัดการที่สัมพันธ์กัน 14. กระบวนการจัดการ 14.1 มีหน่วยงานรับผิดชอบที่ชัดเจน มีโครงสร้างการบริหารงาน ลาดับขั้นตอนและ กระบวนการในการทางานเพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนเข้าใจในกระบวนการทางาน 14.2 กระบวนการทางานต้องโปร่งใส มีการบันทึกข้อตกลง การทางานร่วมกัน มีการ ประชุมและกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน 14.3 พนักงานเจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครองร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชุมชนและ หน่วยงานอื่นๆ ในระดับที่ต่างกัน เช่น ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับนานาชาติ อาจจะเป็นหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ วิจัย โรงเรียน สถานศึกษา องค์การพัฒนาเอกชน หน่วยงานธุรกิจท้องถิ่น ชมรม อนุรักษ์ บริษัททัวร์และอาสาสมัคร 14.4 การมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง มีอานาจหน้าที่ให้คาแนะนา วางแผนแก้ไขปัญหา การพัฒนาองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ในพื้นที่คุ้มครอง 14.5 การสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาคปฏิบัติกับผู้บริหารระดับสูง กิจกรรมต่างๆ มีการกาหนดตามขั้นตอนในช่วงเวลาที่กาหนด โดยกาหนดไว้ในกระบวนการของแผน 15. การวิจัย การติดตามและประเมินผล 15.1 การติดตามตรวจสอบการใช้ประโยชน์พื้นที่คุ้มครองทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ตามกฎหมาย เช่น ความรุนแรงของภัยคุกคาม การเกิดขึ้นของประชากรชนิดพันธุ์ บทบาทของระบบนิเวศ การลักลอบล่าสัตว์ป่าและอื่นๆ 15.2 การวิจัยที่เป็นงานพื้นฐานของการจัดการ การกาหนดงานวิจัยให้เป็นไป ตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ เพื่อนาผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการ เช่น การเก็บหาของป่า การพัฒนา ชุมชนกับการใช้ประโยชน์ของชุมชน การตลาด โดยเฉพาะการใช้พืชสมุนไพร