SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
สถานภาพแนวปะการังภายหลังการเกิดปะการังฟอกขาว
ในอุทยานแห่งชาติทางทะเล อันดามันตอนล่าง
ศุภพร เปรมปรีดิ์1 ทรงธรรม สุขสว่าง2 อาลาดีน ปากบารา1 และทิฆัมพร ว่องธวัชชัย1
1ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง; mnpic-trang@hotmail.com
อีเมล : mnpic-trang@hotmail.com โทร : 081-9791010 เว็บไซต : www.mnpic-trang.com
ู ุ ุ p g
2สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
ปะการังฟอกขาว (Coral Bleaching)
ิอุณหภูมิ 30 – 33 องศา
เซลเซียส ตั้งแต่ปลายเดือน
มีนาคม ถึง มิถนายน 2553มนาคม ถง มถุนายน 2553
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2553
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
ปะการังฟอกขาว (Coral Bleaching) ในประเทศไทย
เกิดฟอกขาว
อ่าวไทย
ั ัอันดามัน
ฟอกขาว 70-95 %
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
วัตถประสงค์การศึกษาวตถุประสงคการศกษา
1. เพื่อศึกษาสถานภาพแนวปะการังภายหลังการเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว และ1. เพอศกษาสถานภาพแนวปะการงภายหลงการเกดปรากฏการณปะการงฟอกขาว และ
ความสามารถในการฟื้นตัวตามธรรมชาติของแนวปะการังในอุทยานแห่งชาติทางทะเล อันดามัน
ตอนล่าง
2. เพื่อมีฐานข้อมูลสําหรับใช้ในการจัดทําแผนการฟื้นฟูแนวปะการังในอนาคต และใช้ในการบริหาร
ั ่ ิ ใ ่ ิ ่ ี่ ํ ิจดการอุทยานแหงชาตทางทะเล ในการแบงเขตกจกรรมการทองเทยว การกาหนดกจกรรมการ
ท่องเที่ยว การควบคุมปริมาณและการจัดการพฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่เหมาะสมในแต่ละบริเวณ
ได้อย่างถกต้องเหมาะสมไดอยางถูกตองเหมา สม
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
หลังปะการังฟอกขาว (Coral Bleaching)( g)
อุณหภูมิกลับเข้าสู่
สภาวะปกติในช่วงปลายสภาวะปกตในชวงปลาย
เดือนมิถุนายน 2553
ิ 29 ีอุณหภูม 29 องศาเซลเซยส
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2553
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
ระยะเวลาการศึกษา
สํารวจติดตามกาลเปลี่ยนแปลงของสถานภาพแนวปะการังในช่วงเวลาตั้งแต่
ก่อนฟอกขาว ในปี 2552
ระหว่างฟอกขาว เม.ย. - พ.ค. 2553
หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว ปี 2554 - 2557
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
ศึกษาดัชนีบ่งชี้ความสามารถในการฟื้นตัวจากปะการังฟอกขาว
- โดยการประเมินเปอร์เซ็นต์การครอบคลุมของ
ปะการังมีชีวิตและปะการังตาย
- การทดแทนของประชากรปะการังวัยอ่อน
b d d h ( )Obura, D.O. and Grimsdith, G. (2009). 
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
พื้นที่ทําการศึกษา
พื้นที่ศึกษาทั้งหมด 4 พื้นที่
1. อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่
2. อทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรังุ
3. อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา จังหวัดสตูล
4. อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
วิธีการสํารวจติดตามสถานภาพปะการัง
ประเมินสถานภาพแนวปะการังโดยวิธี Photo belt transect โดยการวางเส้นเทปยาว 30 เมตร จํานวน 3 เส้น
ั ฝั่ ิ ี ํ ่ ํ ่ ้ ่ ิ ใ ้ ่ ้ ป( Transect) ขนานกับชายฝังบริเวณสถานีสํารวจ ถ่ายภาพจํานวน 60 ภาพ ต่อ 1 เส้น (ถ่ายทุกๆ 50 เซนติเมตร) ให้ห่างจากเส้นเทป
ประมาณ 50-70 เซนติเมตร รวมเป็น 180 ภาพ ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถให้รายละเอียดข้อมูลสัดส่วนการปกคลุมพื้นที่และสภาพของ
แนวปะการังได้ดี ใช้เวลาทํางานใต้น้ําน้อย
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ภาพที่ 2. ถ่ายภาพปะการังด้านบนเส้นเทป
ห่างจากเทป 50 เซนติเมตร
ภาพที่ 1. แนวเส้นเทปที่จะทําการสํารวจ
วิธีการศึกษา
วางเส้นเทป 30 เมตร ตาม
แนวสํารวจปะการังโดยวิธี Photo belt transect
วางเสนเทป 30 เมตร ตาม
แนวสัน (Reef edge)
3 เส้น ถ่ายรปทกระยะ 50ู ุ 0
เซนติเมตร
รปแบบแนวปะการัง (Reef zonation)
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
รูปแบบแนวปะการง (Reef zonation)
ที่มา : ดัดแปลงจาก สถานวิจัยชีววิทยาประมงทะเล ภูเก็ต, 2538
วิธีการศึกษา
วางเส้นเทป 30 เมตร ตามแนว
สํารวจปะการังโดยวิธี Photo belt transect
วางเสนเทป 30 เมตร ตามแนว
สัน (Reef edge) 3 เส้น
ถ่ายรปทกระยะ 50 เซนติเมตรู ุ
สํารวจชนิดและขนาดประชากรปะการัง
วัยอ่อน ข้างละ 0.5 เมตร ตลอดแนว
สํารวจ
National Park And Marine Protected Area Innovation Centre .,
การศึกษาความชุกชุมของปลาในแนวปะการัง
การศึกษาความชุกชุมของปลาทาโดยใช้วิธีการทําสํามะโนประชากรปลาด้วยสายตา
ิ ี ี่ใ ้ใ ํ ป ป ใ(Fishes visual census technique) ตามวิธีมาตรฐานทีใช้ในการสํารวจประชากรปลาในแนว
ปะการังในโครงการ ASEAN-Australia: Coastal Living Resources ซึ่งเป็นที่ใช้กันอย่าง
แพร่หลายสําหรับการศึกษาประชากรปลาในแนวปะการัง (English et al., 1994) โดยใช้นักดํา
้ ่ ้น้ําที่มีความสามารถในการจําแนกชนิดปลา ดําน้ําทําการจําแนกชนิดและนับจานวนปลาตามแนว
สํารวจ (transect line) ความยาว 30 เมตร จํานวน 3 แนวสํารวจต่อสถานี โดยใช้สายตามองไป
ข้างหน้าและแผ่กว้างออกไปทางด้านข้างของแนวสํารวจทั้งซ้ายและขวา ด้านละ 2.5 เมตร (ภาพที่
4) ทั้งนี้จะทําการประเมินเฉพาะกลุ่มปลาที่สามารถมองเห็นได้ชัดโดยไม่พิจารณาปลาขนาดเล็กๆ
ตามพื้นหรือปลาที่มีพฤติกรรมหลบซ่อนตามซอก-โพรง เช่น ปลาบู่ (Gobiidae) ปลาตั๊กแตนหิน
(Blenniidae) ปลามังกรน้อย (Callionymidae) เป็นต้น
ภาพที่ 4 การสํารวจปลาในแนว
ปะการัง โดยใช้วิธีการทําสํามะโน( ) ( y )
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล
ั
ปะการง โดยใชวธการทาสามะโน
ประชากรปลาด้วยสายตา
การวิเคราะห์ข้อมูลชนิดและความชุกชุมของปลาในแนวปะการัง
นําข้อมูลชนิดและจํานวนปลาที่สํารวจได้มาจัดทําบัญชีรายชื่อชนิดและคํานวณหาค่าความชุกชุมต่อพื้นที่ศึกษา (ตัว/100
ป ์ ็ ์ ป ่ ่ ใ ่ ื้ ี่ ี่ ํ ํ โ ี ิ ี ํ ั ี้ตารางเมตร) และหาเปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่มในแต่ละพืนทีทีทําการสํารวจ โดยมีวิธีการคํานวณดังนี
T = 100 t/A
เมื่อ T = จํานวนตัวต่อพื้นที่ 100 ตารางเมตรเมอ T จานวนตวตอพนท 100 ตารางเมตร
t = จํานวนตัวปลาที่สํารวจพบ
A = ขนาดพื้นที่สํารวจ (ตารางเมตร)
เปอร์เซ็นต์ความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม = ผลรวมความชุกชุมของปลาแต่ละกลุ่ม x 100
ผลรวมความชุกชุมของปลาทั้งหมด
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล
ั
การศึกษาความชุกชุมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในแนวปะการัง
สํารวจด้วยวิธีการดําน้ําโดยใช้ถังอากาศ โดยการวางแนวลากเส้นเทปสํารวจออกเป็น 3 เส้น ความยาวแต่เส้น 30 เมตร
่ ่ ้ ปป ใ ้ ้ ํ ี ั ํ ป ั ํ ํ ั ์ไ ่ ี ั ั ่ระยะห่างระหว่างเส้นเทปประมาณ 5 เมตร (ใช้เส้นสํารวจเดียวกับการสํารวจปะการัง) ทําการสํารวจสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังของแต่
ละเส้นเทป โดยการมองไปทางซ้ายและขวาของเส้นเทปด้านละ 2.5 เมตร สํารวจและนับจํานวนชนิดสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในบริเวณ
ดังกล่าวและทําการจดบันทึกชนิดสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่พบตลอดทั้งเส้นสํารวจ
โดยจะสํารวจชนิดของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ตัวอย่างเช่น ปลิง ดาวทะเล เม่นทะเล หอยมือเสือ ดอกไม้ทะเล ดาว
หมอนปักเข็ม เพรียง ครัสเตเชียน และฟองน้ํา หลังจากได้ข้อมูลชนิดและจํานวนของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมาแล้ว จะนํามาคิดเป็น
ตัว/ตารางเมตร เพื่อเป็นข้อมูลในการนําไปใช้ต่อไปู
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล
ั
Working Time
วิธีการวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การปกคลุมของปะการัง
วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ปกคลุมของปะการัง ด้วยโปรแกรม Coral Point Count with Excel extension : CPCe (Kevin E.
โ ่ ิ ์ ํ ่ ํ ่ ึ้ ่ ัKohler, Shaun M. Gill, 2006) โดยการสุ่มจุดวิเคราะห์แบบกําหนดจุดแน่นอน (Fix point)) จํานวน 9 - 16 จุดต่อภาพขึนอยู่กับ
ความหลากหลายของชนิดปะการังบริเวณสถานีสํารวจ ความละเอียดของข้อมูลขึ้นอยู่กับความต้องการนําข้อมูลไปใช้ และความ
เชี่ยวชาญของผู้วิเคราะห์
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ภาพที่ 3. ตัวอย่างภาพการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม CPCe
การแปรผล
นําค่าเปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่มาแปรค่าเป็นสถานภาพแนวปะการังตั้งแต่ สมบูรณ์ดีมาก จนถึงระดับเสื่อมโทรมมาก
โ ใ ้ ั ่ ป ิ ื้ ี่ ป ั ี ี ิ ่ ป ั ป็ ั ์ ั ี้ ปโดยใช้ อัตราส่วนของปริมาณครอบคลุมพืนทีของปะการังมีชีวิตต่อปะการังตายเป็นหลักเกณฑ์ดังนี (กรมประมง, 2542)
ปะการังมีชีวิต : ปะการังตาย = > 3 : 1 หมายถึง สถานภาพสมบูรณ์ดีมาก
ปะการังมีชีวิต : ปะการังตาย = 2 : 1 หมายถึง สถานภาพสมบรณ์ดีปะการงมชวต : ปะการงตาย 2 : 1 หมายถง สถานภาพสมบูรณด
ปะการังมีชีวิต : ปะการังตาย = 1 : 1 หมายถึง สถานภาพสมบูรณ์ปานกลาง
ปะการังมีชีวิต : ปะการังตาย = 1 : 2 หมายถึง สถานภาพเสื่อมโทรม
ปะการังมีชีวิต : ปะการังตาย 1 : > 3 หมายถึง สถานภาพเสื่อมโทรมมากปะการงมชวต : ปะการงตาย = 1 : > 3 หมายถง สถานภาพเสอมโทรมมาก
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
1. อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่
แบ่งออก 5 สถานี
1 กา รอกหลักสยาม1. เกาะรอกหลกสยาม
2. เกาะรอกใน (ร่องน้ํา)
3. เกาะรอกหน้าหน่วยพิทักษ์อทยานุ
4. เกาะไหงด้านทิศตะวันออก
5. เกาะไหงด้านทิศใต้ (หน้าหน่วยพิทักษ์)
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อทยานแห่งชาติหม่เกาะลันตาผลการวเคราะหปะการง อุทยานแหงชาตหมูเกาะลนตา
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา พ.ศ. 2557
สถานี ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย สถานภาพ
สมบรณ์ปาน 71.14
80
เปอร์เซ็นต์ปะการัง
เกาะรอก (หลักสยาม) 46.42 37.85
สมบูรณปาน
กลาง
เกาะรอก (ร่องน้ํา) 54.87 39.08 สมบูรณ์ดี
้ ่ ิ ั ์ ื่ โ
46.42
54.87 55.71
37.85 39.08 40.73
62.62
40
50
60
70
เกาะรอก (หน้าหน่วยพิทักษ์) 28.01 71.14 เสือมโทรมมาก
เกาะไหงทิศตะวันออก 55.71 40.73
สมบูรณ์ปาน
กลาง
่
28.01 29.52
10
20
30
40
เกาะไหง (หน้าหน่วยพิทักษ์) 29.52 62.62 เสื่อมโทรม
0
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
สภาพปะการังเกาะรอกสภาพปะการงเกาะรอก
เปรียบเทียบภาพรวมของสถานภาพของปะการังทั้งอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
้ตังแต่ก่อนการฟอกขาว พ.ศ.2553 - พ.ศ.2557
90
เปอร์เซนต์ปะการัง
78.33
58.87
63.33
53 67
60
70
80
43.73
38.49
46.7
32.57
53.67
50.28
40
50
21.67
18.17
27.43
10
20
30
0
ก่อนการฟอกขาว พ.ศ. 2553 (ช่วงฟอกขาว) พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
สถานี
ขนาดของปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบทั้งหมด (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
เกาะไหง (ทิศตะวันออก) 2 6 100
เกาะไหง (หน้าหน่วยพิทักษ์) - - 9
เกาะรอก (หลักสยาม) - - 38
เกาะรอก (ร่องน้ํา) - - 48
เกาะรอก (หน้าหน่วยพิทักษ์) 84เกาะรอก (หนาหนวยพทกษ) - - 84
เฉลี่ย 0.4 1.2 56
จากการสํารวจการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในพื้นที่ต่างๆของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา พบจํานวน
ปะการังวัยอ่อนเฉลี่ยขนาด 1-2 เซนติเมตร 0.4 โคโลนี/100 ตารางเมตร ขนาด 3-4 เซนติเมตร พบ 1.2 โคโลนี/100
ตารางเมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร พบ 56 โคโลนี/100 ตารางเมตร กล่าวได้ว่าสถานภาพของปะการังในพื้นที่สามารถ/
กลับฟื้นตัวขึ้นมาได้เนื่องจากพบปะการังที่ลงเกาะใหม่ทดแทนปะการังที่ตายอยู่ในขนาด 5-7 เซนติเมตร ค่อนข้างมาก
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
สถานี จํานวนชนิด
จํานวน (ตัว/100 ตาราง
เมตร) ของปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่พบ
เด่น (ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
ั ป ิ ิ1. เกาะรอกนอก (หลักสยาม) 25 426 Plankton (75.56) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. เกาะรอกใน (ร่องน้ํา) 32 453 Plankton (57.90) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. เกาะรอก (หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ) 54 166 Plankton (47.79) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
4. เกาะไหง 27 1494 Omnivore (55.65) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
5. เกาะไหง (หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ) 25 656 Plankton (64.41) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
ชนิดที่สํารวจพบ
หลักสยาม
(ตัว/100 ตารางเมตร)
ร่องน้ํา
(ตัว/100 ตารางเมตร)
หน้าหน่วย
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เกาะไหง (E)
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เกาะไหง หน้าหน่วย
(ตัว/100 ตารางเมตร)
่เม่นทะเล 216 220 864 1147 833
หอยมือเสือ 86 60 20 4 2
ปลิงทะเล 63 1 10
ไ ้ดอกไม้ทะเล 8 4 20 4 1
หอยมือหมี 8 20 18
ทากเปลือย 2 8 3 2
ฟ ้ํ 1 2 1ฟองนา 1 2 1
ดาวมงกุฏหนาม 1
ดาวหมอนปักเข็ม 4 3
เม่นดินสอ 1
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
เมนดนสอ 1
กัลปังหา 1 1
2.อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
แบ่งออก 3 สถานี
1 กา กร ดาน1. เกาะกระดาน
2. เกาะเชือก
3. เกาะปลิง
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการังอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม พ.ศ. 2557
สถานี ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย สถานภาพ
เกาะกระดาน 29.45 59.06 เสื่อมโทรม
เกาะเชือก 15.47 34.35 เสื่อมโทรม
เกาะปลิง 18.61 76.43 เสื่อมโทรมมาก
เปอร์เซนต์ปะการัง
29 45
59.06
34 35
76.43
50
60
70
80
90
เปอรเซนตปะการง
29.45
15.47 18.61
34.35
0
10
20
30
40
ื ป ิ
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
เกาะกระดาน เกาะเชือก เกาะปลิง
พบปะการังโขด Porites sp. เป็นปะการังชนิดเด่น สถานภาพของปะการังอยู่ในเกณฑ์ เสื่อมโทรม
เปรียบเทียบภาพรวมของสถานภาพของปะการังทั้งอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
้ตังแต่ก่อนการฟอกขาว พ.ศ.2553 - พ.ศ.2557
77.5
74 580
90
เปอร์เซนต์ปะการัง
73.44 74.5
72.02
60.8
56.6160
70
80
22.5
28.05
21 18
30
40
50
16 17.64
21.1819.5
0
10
20
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ก่อนการฟอกขาว พ.ศ. 2553 (ช่วงฟอกขาว) พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
ปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
ั ั ่ ี่ ํ โ โ ี
สถานี
ขนาดของปะการังวัยอ่อนทีสํารวจพบ (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
เกาะกระดาน - 2 67
เกาะเชือก - 3 79
จากการสํารวจการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในอทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม มีการลงเกาะของปะการังวัย
เกาะปลิง - 2 67
เฉลี่ย - 2 71
จากการสารวจการลงเกาะของปะการงวยออนในอุทยานแหงชาตหาดเจาไหม มการลงเกาะของปะการงวย
อ่อน ขนาด 3-4 เซนติเมตร 2 โคโลนี/100 ตารางเมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร 71 โคโลนี/100 ตารางเมตร ปะการังที่
ลงเกาะใหม่ทดแทนปะการังที่ตายอยู่ในขนาด 5-7 เซนติเมตร ค่อนข้างมาก สามารถเจริญเติบโตและปรับตัวเข้ากับ
้ ใ ื้ ี่ไ ้สภาพแวดลอมในพนทได
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปลาอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
สถานี จํานวนชนิด
จํานวน (ตัว/100 ตาราง
เมตร) ของปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่พบเด่น
(ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
เมตร) ของปลาทงหมด (รอยละ)
1. เกาะกระดาน 46 1393 Plankton (67.43) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. เกาะเชือก 45 1910 Plankton (74.75) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. เกาะปลิง 22 127 Plankton (73.49) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
ชนิดที่สํารวจพบ
เกาะกระดาน
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เกาะเชือก
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เกาะปลิง
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เมนทะเล 1689 261 283
หอยมือเสือ 1 1
ดอกไมทะเล 11 10
ดาวหมอนปกเข็ม 3 1
ฟองน้ํา 3 9 18
ดาวขนนก 1
กัลปงหา 2 3
ทากเปลือย 6 1
กุงมังกร 1
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
แสทะเล 6
3.อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา จังหวัดสตูล
แบ่งออก 4 สถานี
1 กา บโหลนไม้ไผ่1. เกาะบุโหลนไมไผ
2. เกาะบุโหลนดอน
3. เกาะบโหลนเลุ
4. เกาะเหลาเหลียง
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตราุ ู
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา พ.ศ. 2557
เปอร์เซนต์ป การัง
เปรียบเทียบปะการัง มีชีวิต : ปะการังตาย
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา พ.ศ. 2557
52.37
56.67
70.14
60
70
80
เปอรเซนตปะการง
สถานี ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย สถานภาพ
เกาะบุโหลนไม้ไผ่ 45.04 52.37 สมบูรณ์ปานกลาง
โ 42 56 56 67 ์ป 45.04 42.56
26.85
16.9
40.5
20
30
40
50เกาะบุโหลนเล 42.56 56.67 สมบูรณ์ปานกลาง
บุโหลนดอน 26.85 70.14 เสื่อมโทรมมาก
เหลาเหลียง 16.90 40.50 เสื่อมโทรมมาก
0
10
เกาะบุโหลนไม้ไผ่ เกาะบุโหลนเล บุโหลนดอน เหลาเหลียง
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
ขนาดของปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบ (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
สถานี
ขนาดของปะการงวยออนทสารวจพบ (โคโลน/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
เกาะบุโหลนไม้ไผ่ 8 113
เกาะบุโหลนเล 7 79
เกาะบุโหลนดอน (เหนือ) 11 20 70
เหลาเหลียง 11
เฉลี่ย 3 9 68
ป ั ั ่ ใ ่ ิ ่ ป ั 1 2 ิ 3 โ โ ี/การลงเกาะของปะการงวยออนในอุทยานแหงชาตหมูเกาะเภตราพบปะการงขนาด 1-2 เซนตเมตร 3 โคโลน/
100 ตารางเมตร ขนาด 3-4 เซนติเมตร 9 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร 68 โคโลนี ต่อ 100 ตารางเมตร
การลงเกาะค่อนข้างพบในขนาด 5-7 เซนติเมตร มากอาจกล่าวได้ว่า ตัวอ่อนดังกล่าวลงเกาะและเจริญเติบโตมาระยะหนึ่งแล้ว
้ ่ ่และสามารถปรับตัวเข้ากับอุณหภูมิน้ําที่เปลี่ยนไปจากเดิม
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปลา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
สถานี จํานวนชนิด
จํานวน (ตัว/100 ตาราง
เมตร) ของปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่พบ
เดน (รอยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเดนมากที่สุด
1. เกาะบุโหลนไมไผ 26 986 Plankton (81.87) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
2. เกาะบุโหลนเล 43 986 Omnivore (54.99) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. บุโหลนดอน 35 403 Plankton (70.53) ปลานกขุนทอง (Labridae)ุ
4. เหลาเหลียง 27 263 Plankton (64.64) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
ชนิดที่สํารวจพบ
เหลาเหลียง
(ตัว/100 ตารางเมตร)
บุโหลนดอน
(ตัว/100 ตารางเมตร)
บุโหลนเล
(ตัว/100 ตารางเมตร)
บุโหลนไม้ไผ่
(ตัว/100 ตารางเมตร)
เม่นทะเล 10 423 668 193
หอยมือเสือ 4 2 73 4
ดอกไม้ทะเล 2 7 102 20
หอยมือหมี 27 8
หนอนท่อ 2
ดาวหมอนปักเข็ม 10 1
ฟองน้ํา 10 24
ปู 3
เม่นดินสอ 49 2
ปลิง 17
ดาวทะเล 19
ดาวขนนก 56
เม่นแต่งตัว 1
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
เพรียงหัวหอม 8
4.อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล
แบ่งออก 10 สถานี
1. หน้าหน่วยพิทักษ์ เกาะราวี
2 ี2. หาดทรายขาว เกาะราว
3. เกาะดง ทิศเหนือ
4. เกาะดง ทิศใต้
5. เกาะหินงาม
6. อ่าวสอง เกาะอาดัง
7. แหลมตันหยงมะระ เกาะตะรุเตา
8. เกาะแลน
9. เกาะตะเกียง ทิศเหนือ
10. เกาะตะเกียง ทิศใต้
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตาุ ุ
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
สถานี ปะการังมีชีวิต ปะการังตาย สถานภาพ
หาดทรายขาว 62.65 28.18 สมบูรณ์ดี
หินงาม (ทิศใต้) 65.76 25.76 สมบูรณ์ดีมาก
หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ เกาะราวี 71.25 16.92 สมบูรณ์ดีมาก
อ่าวสอง 39.36 46.83 เสื่อมโทรม
เกาะดงทิศเหนือ 40 04 45 96 สมบรณ์ปานกลางเกาะดงทศเหนอ 40.04 45.96 สมบูรณปานกลาง
เกาะดงทิศใต้ 38.35 34.83 สมบูรณ์ปานกลาง
ทิศตะวันออกแหลมตันหยงมะระ 57.37 42.05 สมบูรณ์ดี
เกาะแลน 62.16 35.67 สมบูรณ์ดี
เกาะตะเกียง (เหนือ) 46.43 44.62 สมบูรณ์ปานกลาง
เกาะตะเกียง (ใต้) 71.39 23.77 สมบูรณ์ดีมาก
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์ปะการัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
65 76
71.25 71.39
70
80
เปอร์เซนต์ปะการัง
62.65
65.76
39.36 40.04 38.35
57.37
62.16
46.4346.83 45.96
42.05 44.62
50
60
70
28.18
25.76
16.92
34.83 35.67
23.77
20
30
40
0
10
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
เปรียบเทียบภาพรวมของสถานภาพของปะการังทั้งอุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ตั้ง ต่ก่อนการฟอกขาว พ ศ 2553 พ ศ 2557
ป ์ ์ป ั
ตงแตกอนการฟอกขาว พ.ศ.2553 - พ.ศ.2557
58 99
79.17
70
80
90
เปอร์เซนต์ปะการัง
58.99
38.25
44.07
55.81
52.9
38.81 36.62
29.62
33.08
30
40
50
60
20.83
16.32
0
10
20
30
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ก่อนการฟอกขาว พ.ศ. 2553 (ช่วงฟอกขาว) พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
ปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบบริเวณอุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ป ั ั ่ ี่สํ (โ โ ี/100 )
สถานี
ขนาดของปะการงวยออนทสารวจพบ (โคโลน/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
หน้าหน่วยพิทักษ์ฯ 6 16 68
หาดทรายขาว 10 21 38
ทิศเหนือเกาะบาตวง 12 32 149
ทิศใต้เกาะบาตวง 2 10 68
ทิศใต้หินงาม - - 12
อ่าวสอง - - 107อาวสอง 107
ทิศตะวันออก แหลมตันหยงมะระ 2 6 93
เกาะแลน 27 38 182
เกาะตะเกียง (เหนือ) - 3 112
ี (ใ ้)เกาะตะเกียง (ใต้) - - 50
เฉลี่ย 6 13 88
มีการลงเกาะของปะการังวัยอ่อน ขนาด 1-2 เซนติเมตร 6 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร ขนาด 3-4 เซนติเมตร 13 โคโลนี/
100 ตารางเมตร และขนาด 5-7 เซนติเมตร 88 โคโลนี/ 100 ตารางเมตร ปะการังในอุทยานแห่งชาติตะรุเตาได้รับผลกระทบ
จากการฟอกขาวน้อยกว่าบริเวณอื่น จึงพบการลงเกาะของปะการังรุ่นใหม่ๆ อยู่ค่อนข้างมาก
ผลการวิเคราะห์ปลา อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
สถานี จํานวนชนิด
จํานวน (ตัว/100 ตาราง
เมตร) ของปลาทั้งหมด
ปลาตามพฤติกรรมที่พบเด่น
(ร้อยละ)
ครอบครัวปลาที่พบเด่นมากที่สุด
1 หาดทรายขาว 40 159 Plankton (49 86) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)1. หาดทรายขาว 40 159 Plankton (49.86) ปลาสลดหน (Pomacentridae)
2. หินงาม (ทิศใต้) 16 44 Plankton (40.50) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
3. หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ เกาะราวี 32 310 Plankton (68.39) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
4. อ่าวสอง 40 230 Plankton (48.21) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
5. เกาะดงทิศเหนือ 39 92 Omnivore (73.06) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
6. เกาะดงทิศใต้ 30 180 Omnivore (61.95) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
7. ทิศตะวันออกแหลมตันหยงมะระ 13 25 Plankton (84.96) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
8 เกาะแลน 16 36 Plankton (69 81) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)8. เกาะแลน 16 36 Plankton (69.81) ปลาสลดหน (Pomacentridae)
9. เกาะตะเกียง (เหนือ) 25 330 Omnivore (50.06) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
10. เกาะตะเกียง (ใต้) 29 230 Omnivore (47.96) ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ผลการวิเคราะห์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ชนิดที่สํารวจพบ หน้าหน่วย หาดทรายขาว หินงาม เกาะดง (เหนือ) เกาะดง (ใต้) อ่าวสอง แหลมตันหยงมะระ เกาะแลน เกาะตะเกียงเหนือ เกาะตะเกียงใต้
เม่นทะเล 2064 208 278 403 1844 129 652 14 3
ปลิง 10 1 9 26 29 8
ดาวทะเล 988 2 1 18 24 8ดาวทะเล 988 2 1 18 24 8
หอยมือเสือ 160 167 44 102 163 156 22 1 2 1
ดอกไม้ทะเล 4 170 19 117 173 64 24 27
ฟองน้ํา 12 2 3 6 2
ดาวขนนก 123 127 13 11 19 19
เม่นดินสอ 1 3 2 8
เม่นแต่งตัว 2
เพรียงหัวหอม 3 3 1
กัลปังหา 9 1 3
ปะการังอ่อน 1 1 1 1ปะการงออน 1 1 1 1
แซ่ทะเล 4
ดาวหมอนปักเข็ม 1
ดาวมงกุฎหนาม 1
ทากเปลือย 1
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ปู 3 1 1
หอยมือหมี 1 9
หนอนท่อ 1
เมนทะเล
สรุปแนวโน้มการฟื้นตัวของปะการังในอุทยานแห่งชาติ
อันดามันตอนล่างอนดามนตอนลาง
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
สรุปการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในอุทยานแห่งชาติอันดามันตอนล่าง
สถานี
ขนาดปะการังวัยอ่อนที่สํารวจพบทั้งหมด (โคโลนี/100 ตารางเมตร)
1-2 เซนติเมตร 3-4 เซนติเมตร 5-7 เซนติเมตร
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ( 5 พื้นที่ ) 0 1 56
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ( 3 พื้นที่ ) 0 2 71
้อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา ( 4 พื้นที่ ) 3 9 68
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา ( 10 พื้นที่ ) 6 13 88
จากการสํารวจการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในพื้นที่ต่างๆในเขตอุทยานแห่งชาติ อันดามันตอนล่าง กล่าวได้ว่าปะการังสามารถปรับตัว
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิน้ํา ตะกอน และปัจจัยอื่นๆ
ที่ส่งผลกระทบต่อปะการัง ดจากอัตราการพบการลงเกาะของปะการังวัยอ่อนโดยส่วนใหญ่พบในช่วงขนาดโคโลนี 5-7 เซนติเมตร
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
ทสงผลกระทบตอปะการง ดูจากอตราการพบการลงเกาะของปะการงวยออนโดยสวนใหญพบในชวงขนาดโคโลน 5 7 เซนตเมตร
และปะการังเหล่านี้ก็จะเจริญเติบโตเข้าสู่ระยะสมบูรณ์ต่อไป
แนวโน้มการฟื้นตัวของปะการังในอุทยานแห่งชาติ อันดามันตอนล่าง
40.78 40.26y = 5.383x + 15.16
R² = 0.914
35 00
40.00
45.00
เปอร์เซนต์ปะการัง
21.67
24.14
29.71
20 00
25.00
30.00
35.00
5.00
10.00
15.00
20.00
0.00
พ.ศ. 2553 (ช่วงฟอกขาว) พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
สถานภาพของปะการังในอทยานแห่งชาติอันดามันตอนล่าง พบว่าจากปี พ ศ 2554 เป็นต้นมาพบการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง
สถานภาพของปะการงในอุทยานแหงชาตอนดามนตอนลาง พบวาจากป พ.ศ. 2554 เปนตนมาพบการฟนตวอยางตอเนอง
จนถึง พ.ศ. 2557 พบ 40.26 เปอร์เซนต์
ข้อเสนอแนะการจัดการแนวปะการัง
1. สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์แนวปะการังในพื้นที่กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแนวปะการัง
ั ั ่ ี ่ ่ ้ ี ่ ไ ้ ่ ี ่ ั่ ื2. สนับสนุนแนวทางการการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างยังยืน
3. เนื่องจากทุ่นไม่เพียงพอกับการเข้าใช้ประโยชน์ ควรออกแบบทุ่นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และเหมาะสม
กับการใช้งาน
4. ป้องกันและปราบปรามการทําประมงผิดกฎหมายในเขตอุทยานอย่างเคร่งครัด เช่น เรือไฟปั่น เรือตังเก ซึ่งปั่นไฟ
ในแนวปะการัง
5. จัดทําสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆในการท่องเที่ยวในแนวปะการังอย่างถูกวิธี เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นู ๆ ู
6. สํารวจติดตามสถานภาพแนวปะการังอย่างต่อเนื่อง
7. รณรงค์ไม่กินปลานกแก้ว
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล
ั
การนําไปใชประโยชน
ConservationConservation 
Programe
Thank you!
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จ.ตรัง
Trang Marine National Park and Protected Areas Innovation Center
อีเมล์ : mnpic-trang@hotmail.com เว็บไซต์ : www.mnpic-trang.com Facebook : facebook.com/mnpic.trang
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จ.ตรัง

More Related Content

What's hot

Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
aunun
 

What's hot (10)

Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 

Similar to T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง

คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
KAMOLCHAIKEAWKLANGMO
 

Similar to T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง (10)

Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
Ko%20tan
Ko%20tanKo%20tan
Ko%20tan
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
คู่มือจำแนกงูทะเลและงูน้ำ - มนตรี สุมณฑา. (นักวิชาการประมงชํานาญการ. สถานีวิจ...
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
natural resources 201114
natural resources 201114 natural resources 201114
natural resources 201114
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
 

More from Auraphin Phetraksa

ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
Auraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (18)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 

T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง