SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
1. ความหมายเศรษฐศาสตร์ Economics
คานิยามของเศรษฐศาสตร์
- เน้นสวัสดิการทางเศรษฐกิจของมนุษย์
- เน้นความจากัดของทรัพยากรที่มีอยู่
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
Pual A. Samuelson
“การศึกษาเกี่ยวกับการที่ประชาชนและสังคม
เลือกใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ในการ
ผลิตสินค้าและบริการชนิดต่างๆ และแจกจ่ายสินค้า
เหล่านั้นเพื่อการบริโภคไม่ว่าในปัจจุบันหรืออนาคต
ระหว่างบุคคลและกลุ่มต่างๆในสังคม ”
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
คาสาคัญที่อธิบายความหมาย 5 คา
1. ทางเลือก (Choice)
ทรัพยากรต่างๆนาไปใช้ประโยชน์ได้
หลายทาง
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
2. ทรัพยากรการผลิต (Productive
Resources)
ที่ดิน (Land)  ค่าเช่า (Rent)
แรงงาน (Labor)  ค่าจ้าง (Wage)
ทุน (Capital)  ดอกเบี้ย (Interest)
ผู้ประกอบการ(Enterpreneurship) กาไร
Profit)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
3. การมีอยู่อย่างจากัด (Scarcity)
เป็นการมองส่วนรวม ทรัพยากรมีอยู่อย่างจากัด
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
4. สินค้าและบริการ
เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) สินค้าที่มีต้นทุนใน
การผลิต ปริมาณจากัด
ทรัพย์เสรี (Free Good) สินค้าที่ไม่มีต้นทุนในการผลิต
ได้เปล่า
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
5. ความต้องการไม่จากัด (Unlimited Wants)
ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
2. ประวัติของวิชาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาสังคมศาสตร์
ADAM SMITH ผู้วางรากฐานเศรษฐศาสตร์ ใน
ระดับสากล ปีค.ศ.1776 ได้ตีพิมพ์ตาราเศรษฐศาสตร์เล่มแรก
“An Inquiry into the Nature and
Causes of the the Wealth of Nation”
-การพัฒนาเศรษฐกิจ
-มูลค่า ราคา การสะสมทุน การออม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
John Maynard Keynes
จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
ช่วงเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก(จากสงครามโลกครั้งที่ 1)
“The General Theory of
Employment, Interest and Money”
-การใช้นโยบายการเงินและการคลัง
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
3. วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์มี 2 แนวทาง
1. ประสบการณ์นิยม(Empriricism)
2. วัตถุนิยมประวัติศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
1. ประสบการณ์นิยม ( Empiricism)
ความรู้ของมนุษย์ได้มาจากประสบการณ์จริง ทฤษฎี
1.1 วิธีการนิรนัย (Deductive method)
-ตั้งข้อสมมุติและสมมุติฐาน
-ใช้หลักเหตุและผลสรุปสาระสาคัญจากสมมุติฐาน
-ทดสอบความถูกต้องของทฤษฎี
1.2 วิธีการอุปนัย (Inductive method)
-การรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจและข้อเท็จจริงต่างๆ
-หาข้อสรุปเพื่อเป็นแนวคิด หรือสร้างทฤษฎี
-ทดสอบความถูกต้องของทฤษฎี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
2. วัตถุนิยมประวัติศาสตร์
นาวิธีทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการ
วิเคราะห์เศรษฐกิจ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
4.เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์และเศรษฐศาสตร์นโยบาย
(Positive Economics and Normative Economics)
เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics)
คือ การศึกษาเศรษฐศาสตร์เพื่อแสวงหาความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์
ทางเศรษฐกิจรอบๆตัวเรา
-ไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินคุณค่าว่าควรหรือไม่ควร
-เป็นเครื่องมือทั่วไปเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics)
คือ การศึกษาเศรษฐศาสตร์เพื่อควบคุม สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
ให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ
-เกี่ยวข้องกับการตัดสินคุณค่าว่าควรหรือไม่ควร
-วิธีการที่จะให้บรรลุเป้ าหมายนั้นๆ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
What ? ปัญหาผลิตอะไร ,จานวนเท่าไร
การมีทรัพยากรจากัด
How ? ผลิตอย่างไร
ใช้เทคนิคการผลิตแบบใด/ใช้ปัจจัยการผลิตอะไร
สัดส่วนเท่าใด  ประสิทธิภาพสูงสุด
For whom? ผลิตเพื่อใคร
จัดสรรให้คนในสังคมด้วยวิธีใด
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาคและจุลภาค
1.เศรษฐศาสตร์จุลภาค(Microeconomics)
ศึกษาลักษณะและพฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจย่อย
ต่างๆในระบบเศรษฐกิจ
-การกาหนดราคาสินค้า ต้นทุนการผลิตของผู้ผลิต
ทฤษฎีผู้บริโภค
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
2. เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
ศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของระบบ
เศรษฐกิจ
-รายได้ประชาชาติ การใช้จ่ายของรัฐบาล
การค้าระหว่างประเทศ การเงิน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
สัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ
บริหารธุรกิจ สิ่งแวดล้อม
รัฐศาสตร์ สาธารณสุข
การศึกษา
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆกับการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐาน
(Economic Systems and
Solution)
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ(Economics Activity)
-การผลิต -การบริโภค -การจาแนกแจกจ่ายสินค้า
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
หน่วยเศรษฐกิจ(Economic Units)
การนาเอากิจกรรมทางเศรษฐกิจของหลายๆคนที่คล้ายกันมารวมกัน ซึ่ง
ประกอบด้วยหน่วยเศรษฐกิจ
1. หน่วยครัวเรือน (Household sector) ในฐานะ
เจ้าของ ปัจจัยการผลิต ที่ดิน ทุน แรงงานและผู้ประกอบการ
2. หน่วยธุรกิจ (Business Sector)
ในฐานะผู้ผลิต ผลิตสินค้าและบริการ
3. หน่วยรัฐบาล (Government Sector) ในฐานะ
ผู้ผลิต ผลิตระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้ า ทหาร
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
ระบบเศรษฐกิจ (Economic System)
หน่วยเศรษฐกิจทั้ง 3 หน่วยรวมกัน อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และการปฏิบัติ
ที่คล้ายคลึงกัน แบ่งออกเป็น
1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism)
2. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy)
3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
หลักเกณฑ์สาคัญในการจาแนกระบบ
เศรษฐกิจ
กรรมสิทธิในทรัพย์สิน
การตัดสินใจปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
การจัดสรรทรัพยากรหรือผลผลิต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
(Capitalism—Free enterprise or Market
Economy)
-กรรมสิทธิในทรัพยากรเป็นของเอกชน
-เสรีภาพในการประกอบธุรกิจ
-กาไรเป็นเครื่องจูงใจการผลิตโดยใช้กลไกราคา
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
2. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน
(Planned Economic)
-ทรัพย์สินและปัจจัยการผลิตทุกอย่างเป็นของรัฐ
-รัฐวางแผนการผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน
และการกระจายการผลิตเองทั้งหมด
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
(Mixed Economy)
-กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นของเอกชน
-การกาหนดราคาส่วนใหญ่ใช้กลไกราคา
-รัฐเข้าไปดาเนินกิจกรรมขั้นพื้นฐานบางประเภท
-รัฐจะเข้าไปแทรกแซงราคาบางครั้ง
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
เครื่องมือประกอบการศึกษาเศรษฐศาสตร์
ฟังก์ชัน (Function) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
Y = f (X)
Y= ตัวแปรตาม X=ตัวแปรอิสระ
สมการ การเขียนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปใน
รูปสมการ เช่น QX = 10-2PX
ข้อสมมุติ

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติnative
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...VolunteerCharmSchool
 
Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticitysavinee
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจTeetut Tresirichod
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
 
Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticity
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความแข็ง
ความแข็งความแข็ง
ความแข็ง
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 

Viewers also liked

ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์Preecha Napao
 
หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑mrsuwijak
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supplybnongluk
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิตtumetr1
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Demand and supply of money
Demand and supply of moneyDemand and supply of money
Demand and supply of moneyDaksh Bapna
 

Viewers also liked (12)

ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
 
หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑
 
Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิต
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Demand and supply of money
Demand and supply of moneyDemand and supply of money
Demand and supply of money
 

Chp1