SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ปริศนาปลาสลิด
Mystery of Snakeskin Gourami Fish
ปรีญาภรณ์ โพธิ์รุ้ง1

ครูกนกวรรณ โกนาคม2

ครูโศจยา ดวงสิน3

บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาประวัติและสายพันธุ์ของปลาสลิด
2. เพื่อศึกษาวิธีการเลี้ยงปลาสลิด 3. เพื่อศึกษาวิธีการแปรรูปปลาสลิด 4. เพื่อเปรียบเทียบวิธีการ
เลี้ยง ลักษณะการเลี้ยง และวิธีการแปรรูประหว่างอาเภอบางบ่อกับอาเภอบางพลี 5. เพื่อศึกษา
สาเหตุและอุปสรรคในการเลี้ยงปลาสลิด เนื่องด้วยปลาสลิดเป็นอาหารขึ้นชื่ออย่างยิ่งในจังหวัด
สมุทรปราการ ซึ่งตัวผู้ศึกษาเองก็ได้อาศัยอยู่ในจังหวัดนี้ แต่ยังมีความรู้ในเรื่องของปลาสลิดค่อนข้าง
น้อย จึงได้ทาการศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ขึ้นโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างผู้เลี้ยงอาเภอละหนึ่งรายเพื่อ
สัมภาษณ์ตามแบบฟอร์มที่เตรียมไว้ บันทึกข้อมูลด้วยการบันทึกเสียงแล้วนาข้อมูลที่ได้มาสรุปรวมกัน
จากนั้นนาข้อมูลที่สรุปแล้วมาจัดแบ่งประเภทข้อมูล และสุดท้ายนาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงาน
ผลการศึกษาที่ได้ คือ ทั้งสองอาเภอมีลักษณะการเลี้ยงที่คล้ายคลึงกันโดยสืบทอดมาจาก
บรรพบุรุษ ยังไม่มีผู้ใดได้ทาการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเป็นเวลามากกว่า 50 ปีแล้ว เดิมเป็นการเลี้ยง
ปลาสลิดในนาข้าว ปัจจุบันกลายมาเป็นการเลี้ยงปลาสลิดเพียงอย่างเดียว แตกต่างกันเล็กน้อยตรงที่
อาเภอบางพลีจะมีน้าน้อยกว่าอาเภอบางบ่อ ทาให้ต้องเลี้ยงในบ่อซีเมนต์แทน ประกอบกับเขตอาเภอ
บางพลีมีโรงงานอุตสาหกรรมค่อนข้างมากกว่า ดังนั้นการเลี้ยงปลาสลิดในบ่อซีเมนต์จึงมีส่วนช่วยลด
ผลกระทบจากโรงงานอุตสาหกรรมที่จะเกิดกับปลาสลิด ปัจจุบันการเลี้ยงปลาสลิดนั้นลดน้อยลงอย่าง
เห็นได้ชัด เพราะชาวบ้านผู้ประกอบการเลี้ยงปลาสลิดแห่เข้ามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรมเป็น
จานวนมาก ประกอบกับมีนายทุนมาเหมาซื้อที่ดินเพื่อตั้งโรงงาน ทาให้พื้นที่ในการเลี้ยงปลาสลิดลดลง
และอีกสาเหตุหนึ่ง คือ การที่ชาวบ้านหันมาประกอบอาชีพเลี้ยงปลาชนิดอื่นแทน เช่น ปลานิล
ปลาดุก เป็นต้น เนื่องจากมีระยะเวลาในการเลี้ยงที่สั้นกว่า ส่งขายได้เร็วกว่า เมื่อเทียบปลาสลิด จาก
ผลการศึกษาที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้ที่สนใจงานวิจัยนี้สามารถนาไปเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ปลาสลิด
ได้ในอนาคต

คาสาคัญ : ปลาสลิด
1

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
2
ครูตาแหน่ง คศ.2 วิทยฐานะชานาญการ กลุมสาระการเรี ยนรู้สงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
่
ั
3
ครูตาแหน่ง คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ความเป็นมาและความสาคัญของ
ปัญหา
ปลาสลิด ปลาน้าจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อ
วิทยาศาสตร์ว่า Trichogaster pectoralis ใน
วงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มี
รูปร่างคล้ายปลากระดี่หม้อ (T.trichopterus)
ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่มีลาตัวที่หนา
และยาวกว่า หัวโต ครีบหลังในตัวผู้มีส่วน
ปลายยื่นยาวเช่นเดียวกับครีบก้น ครีบอกใหญ่
ตาโต ปากเล็กอยู่สุดปลายจะงอยปาก ครีบ
หางเว้าตื้นปลายมน ตัวมีสีเขียวมะกอกหรือสี
น้าตาลคล้า มีแถบยาวตามลาตัวตั้งแต่ข้าง
แก้มจนถึงกลางลาตัวสีดา และมีแถบเฉียงสี
คล้าตลอดแนวลาตัวด้านข้างและหัว ครีบมีสี
คล้า
ขนาดโดยเฉลี่ย 10-16 เซนติเมตร พบ
ขนาดใหญ่สุดถึง 25 เซนติเมตร นับเป็นปลา
ในสกุล Trichogaster ที่ใหญ่ที่สุด
มีถิ่นอาศัยในแหล่งน้านิ่งที่มีพืชน้าและ
หญ้ารกริมตลิ่งของภาคกลาง, ภาคอีสานและ
ภาคใต้ของประเทศไทย นอกจากนี้ยังพบใน
ประเทศรอบข้าง
พฤติกรรมในการสืบพันธุ์เริ่มขึ้นใน
ระหว่างเดือนเมษายน-สิงหาคม โดยจะวางไข่
โดยการก่อหวอดตามผิวน้าติดกับพืชน้าหรือ
วัสดุต่าง ๆ มักวางไข่ในช่วงกลางวันที่มแดด
ี
ราไร หลังวางไข่เสร็จแล้วตัวพ่อปลาจะเป็น
ผู้ดูแลไข่จนฟักเป็นตัว ตัวเมียวางไข่ครั้งละ

4,000-10,000 ฟอง ในการเลี้ยงทางเศรษฐกิจ
นิยมให้เป็นการผสมพันธุ์หมู่
ปลาสลิดนับเป็นปลาน้าจืดเศรษฐกิจที่
สาคัญอีกชนิดหนึ่งของไทย นิยมแปรรูปเป็น
ปลาแห้งหรีอปลาเค็มที่รู้จักกันดี โดยเกษตรกร
จะเลี้ยงในบ่อดิน โดยฟันหญ้าให้เป็นปุ๋ยและ
เกิดแพลงก์ตอนเพื่อเป็นอาหารปลา โดยพื้นที่
เลี้ยงปลาสลิดที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ อาเภอบาง
บ่อและอาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ที่
เรียกว่า "ปลาสลิดบางบ่อ" นอกจากนี้ยังมีอีก
แหล่งหนึ่งที่เคยมีชื่อในอดีต คือที่ ตาบลดอน
กายาน อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี แต่
ปัจจุบันพื้นที่เลี้ยงที่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่ อาเภอบ้าน
แพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร
มีชื่อเรียกในภาษามาเลย์ว่า "Sepat
siam" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "กระดี่หนังงู"
(Snakeskin gourami) และมีชื่อเรียกในราชา
ศัพท์อีกว่า "ปลาใบไม้" ทั้งนี้เนื่องจากคาว่า
"สลิด" เพี้ยนมาจากคาว่า
"จริต" พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 จึงได้ทรงแนะนาให้เรียก
ปลาสลิดในหมู่ราชบริพารว่า ปลาใบไม้ เพราะ
ทรงเห็นว่ามีรูปร่างเหมือนใบไม้ (วิกิพีเดีย,
2556, ออนไลน์)
ชุมชนในอาเภอบางพลี อาเภอบางบ่อ
จังหวัดสมุทรปราการ มีอาชีพเลี้ยงปลา
สลิด เมื่อปลาสลิดโตได้ที่จะนามาเป็นทาเป็น
ปลาเค็ม โดยตากปลาที่หมักเกลือแล้วไว้กลาง
แดด ถ้าตากไว้ 1 วัน ก็เรียกว่าปลาสลิดแดด
เดียว ถ้าตาก 2 วัน ก็เรียกว่า สองแดด ปลาที่
ตากไว้แดดเดียวจะมีเนื้อนุ่มกว่าอร่อยกว่าแต่
จะมีน้าหนักมากกว่าปลาหลายแดด ปลาสลิด
เค็มที่บางบ่อ หรือบางพลีจะมีรสชาติอร่อย
กว่าปลาที่อื่น จึงยังถูกขนานนามว่า"ปลา
สลิดทอง"อีกด้วย
(OTOP, 2551, ออนไลน์)
แหล่งปลาสลิดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักว่า
มีรสชาติเนื้ออร่อย คือ ปลาสลิดบางบ่อ
จังหวัดสมุทรปราการ แต่ปัจจุบันโรงงาน
อุตสาหกรรมได้ขยายตัวอย่างแพร่หลาย ทาให้
น้าธรรมชาติที่จะระบายลงสู่บ่อเลี้ยงปลาสลิด
มีคุณสมบัติไม่เหมาะสม
ชาวบ้านของอาเภอบางบ่อ จังหวัด
สมุทรปราการ มีความชานาญในการเลี้ยงปลา
สลิด และการเก็บรักษาปลาสลิดเป็นอย่างมาก
สาเหตุที่ทาให้ปลาสลิดบางบ่อนั้นมีรสชาติจน
เป็นที่เลื่องลือ ก็เพราะว่าในเขตบางบ่อเป็นน้า
กร่อยที่มีความพอดีที่ทาให้เกิดไรแดงเป็น
จานวนมาก ซึ่งไรแดงเป็นอาหารหลักของปลา
สลิดบางบ่อ และมีส่วนอย่างมากที่ทาให้ปลา
สลิดบางบ่อแข็งแรง เนื้ออร่อย (สานักงาน
ประมงจังหวัดสมุทรปราการ, 2556, ออนไลน์)
ด้วยเหตุที่เป็นปลาเศรษฐกิจที่สาคัญ
อีกชนิดหนึ่งของไทย และนิยมนามาแปรรูป
เป็นปลาเค็ม หรือปลาสลิดตากแห้งแบบที่เรา
รู้จักกันดี ก็เป็นที่มาของการที่จะต้องตัดหัว
ปลาสลิดออก เนื่องจากปลาสลิดนั้นเป็นปลาที่
มีมันมาก โดยเฉพาะในส่วนท้องหรือพุงปลา
ซึ่งก่อนจะนามาคลุกเคล้าเกลือเพื่อแปรรูปนั้น
จะต้องควักไส้ควักพุง ตัดหัวออก เพื่อเวลา

ตากแดดแล้วปลาจะได้แห้งสนิท ไม่มีกลิ่น
เหม็นเน่า อีกส่วนก็เพื่อให้เกลือที่คลุกเคล้าตัว
ปลานั้นซึมซาบเข้าสู่เนื้อปลา ได้ทั่วทั้งตัว มี
ความเค็มเท่าๆ กันทั้งตัว เมื่อนาหัวและ
พุงปลาออกแล้ว เกลือก็จะเข้าไปแทนที่ เป็น
การยับยั้งแบคทีเรียที่จะทาให้ปลาเน่า และ
เมื่อนาไปตากแดดให้แห้งสนิทแล้ว ก็จะช่วย
ถนอมอายุของปลาสลิดให้สามารถเก็บไว้กินได้
นาน
ส่วนปลาสลิดที่มีชื่อเสียงที่รู้จักกันทั่ว
ก็คงจะเป็น “ปลาสลิดบางบ่อ” ใน อาเภอบาง
บ่อ และ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
ซึ่งเป็นพื้นที่เลี้ยงปลาสลิดขนาดใหญ่ในอดีต
ปลาสลิดที่ได้มีรสชาติอร่อยกว่าที่อื่นๆ และยัง
มีที่ ตาบลดอนกายาน อาเภอเมือง จังหวัด
สุพรรณบุรี อีกแห่งหนึ่ง ที่ในอดีตเป็นพื้นที่
เลี้ยงปลาสลิดเช่นกัน แต่ในปัจจุบันนี้ แหล่งที่
มีการเลี้ยงปลาสลิดมากที่สุดอยู่ในพื้นที่
อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร จนกระทั่ง
มีการจัดเทศกาลกินปลาสลิดขึ้นในทุกๆ ปี
(manager, 2556, ออนไลน์)
จากบทความที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้
เห็นได้ว่าอาเภอบางบ่อและอาเภอบางพลี ต่าง
ก็มีชื่อเสียงในเรื่องความอร่อยของเนื้อปลา
สลิดไม่แพ้กัน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความ
ต้องการที่จะศึกษาประวัติ วิธีการเลี้ยง วิธีการ
ทา และหาข้อแตกต่างของปลาสลิดของทั้ง
สองอาเภอนี้ รวมถึงลงพื้นที่จริงเพื่อสารวจ
และหาข้อเท็จจริงว่าแนวโน้มที่ทาให้การเลี้ยง
ปลาสลิดของทั้งสองอาเภอนี้ลดลงเป็นเพราะ
อะไร เกี่ยวข้องกับสภาพพื้นที่ที่แปรเปลี่ย นไป
จากเดิมเพราะกลายเป็นเขตอุตสาหกรรม
หรือไม่

นิยามศัพท์เฉพาะ
1. หวอด หมายถึง ฟองน้าที่ปลาบาง
ชนิดพ่นไว้สาหรับเก็บไข่ เช่นปลากัด ปลาช่อน
เป็นต้น พ่นไว้สาหรับเก็บไข่ อาการที่หาวทา
เสียงดังเช่นนั้น
2. ราไร หมายถึง เล็กน้อย เช่น แสง
สว่างราไร แสงแดดราไร อาการที่เห็นไม่ชัด
เต็มที่เพราะอยู่ในระยะไกลหรือมีอะไรบังเป็น
ต้น เช่น เห็นกระท่อมราไรอยู่ในหมู่ไม้.
3. แพลงก์ตอนพืช หมายถึง น้าสี
เขียว แพลงก์ตอนเป็นพืชเซลล์เดียว เป็น
สาหร่ายชนิดหนึ่ง พวกนี้สามารถสร้างอาหาร
เองได้ คือสาหร่ายต่างๆ เช่น ไดอะตอม และ
สาหร่ายเปลวไฟ ในน้าทุกชนิดมีแพลงก์ตอน
ชนิดนี้อาศัยอยู่
4. ไรแดง หรือ ไรน้าจืด หรือ ลูกไร
หมายถึง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจาพวกครัสเต
เชียนสกุลหนึ่ง โดยอยู่ในสกุล Moina ถือเป็น
แพลงก์ตอนสัตว์อย่าง หนึ่ง อาศัยอยู่ทั่วไปใน
แหล่งน้าจืด มีขนาดโดยทั่วไป 0.4-1.8
มิลลิเมตร ลาตัวมีสีแดงเรื่อ ๆ ถ้าอยู่รวมกัน
เป็นจานวนมากจะมองเห็นเป็นกลุ่มสีแดงเข้ม
ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย ลาตัวอ้วนเกือบ
กลมมีขนาดโดยเฉลี่ย 1.3 มิลลิเมตร ขณะที่ตัว
ผู้มีขนาดเล็กและค่อนข้างยาวกว่า มีขนาด
เฉลี่ย 0.5 มิลลิเมตร ตัวอ่อนของไรแดงเมื่ออก
มาจากไข่ใหม่ ๆ จะมีขนาด 0.22-0.35

มิลลิเมตร มีสีจางกว่าตัวเต็มวัย ไรแดงนิยมให้
เป็นอาหารปลาทั้งปลาสวยงาม และปลา
เศรษฐกิจ โดยเป็นอาหารที่เหมาะมากสาหรับ
ลูกปลาวัยอ่อน และเป็นอาหารถ่ายท้อง
แก้ปัญหาท้องผูกของปลา คุณค่าทาง
สารอาหารของไรแดง ประกอบไปด้วย โปรตีน
ร้อยละ 74.09, คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 12.50,
ไขมันร้อยละ 10.19 และเถ้าร้อยละ 3.47
ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ไรแดงเป็นสัตว์
เศรษฐกิจเพื่อส่งขายเป็นอาหารปลาทั่วไป
5. จริต หมายถึง น. ความประพฤติ
กิริยาหรืออาการ เช่น พุทธจริต เสียจริต
วิกลจริต บางทีใช้ในทางไม่ดี เช่น ดัดจริต มี
จริต จริตจะก้าน ก็ว่า. (ป.).
6. ปลาเค็ม หมายถึง ผลิตภัณฑ์แปร
รูป เพื่อการถนอมอาหาร ด้วยวิธีการหมัก
เกลือ (salt curing) ร่วมกับการทาแห้ง
(dehydration) ได้จากการนาปลาสด เช่น
ปลาอินทรี ปลากุเลา ที่ตัดแต่งแล้วมาทาเค็ม
โดยใช้เกลือเคล้าให้ทั่ว หรือแช่ในน้าเกลือแล้ว
ตั้งทิ้งไว้ในระยะเวลาที่เหมาะสม อาจทาให้
แห้งโดยใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ (sun
drying) หรือแหล่งพลังงาน หรือใช้ตู้อบ
(drier) เพื่อลดความชื้น และค่าวอเตอร์แอคทิ
วิตี้ (water activity) อาจแช่ในน้าเกลือหรือ
น้ามันด้วยก็ได้ วัตถุดิบที่ใช้ในการทาปลาเค็ม
ใช้ได้ทั้ง ปลาน้าเค็ม และปลาน้าจืด เป็น
วัตถุดิบปลาที่นิยมใช้ทาปลาเค็มได้แก่ ปลา
อินทรีบั้ง ปลาอินทรีจุ
7. ปลาแดดเดียว หมายถึง ผลิตภัณฑ์
ที่ได้จากการนาปลาสดทั้งตัวหรือที่ได้ตัดแต่ง
แล้ว เช่น ปลาช่อน ปลาสาลี ปลาสลิดมาล้าง
ให้สะอาด อาจปรุงรสด้วยเครื่องปรุง
รส เครื่องเทศหรือสมุนไพร เช่น
น้าตาล น้าปลา เกลือ ซีอิ๊วขาว กระเทียม ราก
ผักชี พริกไทย ผงพะโล้ หมักให้เข้ากัน นาไป
ทาให้แห้งพอหมาดโดยใช้ความร้อนจาก
แสงอาทิตย์หรือแหล่งพลังงานอื่น ก่อนบริโภค
ต้องนาไปทาให้สุก

ความสาคัญของการศึกษา
1. เพื่อทราบประวัติความเป็นมาของ
ปลาสลิด
2. ได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาสลิดในแต่
ละพื้นที่
3. ทราบความรู้สึกภายในที่แท้จริง
ของผู้เลี้ยงปลาสลิด

ความมุ่งหมายการศึกษา
1. เพื่อศึกษาประวัติการเลี้ยงและ
วิธีการทาปลาสลิด
2. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบข้อ
แตกต่างระหว่างปลาสลิด 2 อาเภอ ได้แก่
อาเภอบางบ่อและอาเภอบางพลี
3. เพื่อศึกษาแนวโน้มในการเลี้ยงปลา
สลิดที่ลดลง

สมมติฐานการศึกษา
1. ถ้าวิธีการเลี้ยงปลาสลิดของอาเภอ
บางบ่อและอาเภอบางพลีไม่แตกต่างกัน
ดังนั้นผลผลิตที่ได้จะไม่ต่างกัน

2. ถ้าลักษณะทางกายภาพของ
บริเวณที่เลี้ยงปลาสลิดแตกต่างกันดังนั้น
ผลผลิตก็จะแตกต่างกัน

วิธีการดาเนินการศึกษา
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
ได้แก่ ผู้ประกอบการเลี้ยงปลาสลิดอาเภอบาง
บ่อ จานวน 1 ราย (คุณลายอง ทองใบ) และ
อาเภอบางพลี จานวน 1 ราย (คุณเฉลิม สาม
เสน)
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา
บ่อปลาสลิดของ “คุณลายอง ทอง
ใบ” ตัวแทนผู้เลี้ยงปลาสลิดอาเภอบางบ่อ
และ บ่อปลาสลิดของ “คุณเฉลิม สามเสน”
ตัวแทนผู้เลี้ยงปลาสลิดอาเภอบางพลี
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรต้น ลักษณะทางกายภาพของ
บริเวณที่เลี้ยงปลาสลิด, วิธีการเลี้ยงของทั้ง
สองอาเภอ, แนวคิดของผู้ประกอบการเลี้ยง
ปลาสลิด
ตัวแปรตาม คุณภาพของปลาสลิดที่
ได้
ตัวแปรควบคุม พันธุ์ปลาสลิด, ค่า
pH ของน้า, การปรับสภาพบ่อ
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 4
เดือน เริ่มจาก วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ถึง
14 กันยายน 2556
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
1. แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลี้ยง
ปลาสลิดอาเภอบางบ่อ และอาเภอบางพลี
2. หนังสือจังหวัดของเรา เรื่องปลา
สลิด
3. เอกสารการแนะนาจาก กอง
ส่งเสริมการประมง กรมประมง กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการสร้าง
แบบสอบถาม
2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
3. เขียนนิยามศัพท์เฉพาะ
4. สร้างข้อคาถามตามนิยามศัพท์
เฉพาะ
5. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความดัชนี
สอดคล้องของข้อคาถาม (IOC)
6. ปรับแก้ไขตามคาแนะนาของ
ผู้เชี่ยวชาญ
7. จัดพิมพ์เป็นรูปเล่มเพื่อใช้ในการ
วิจัย
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
1. นัดสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลี้ยง
ปลาสลิด
2. ลงพื้นที่จริงพร้อมทาการสัมภาษณ์
ในหัวข้อคาถามที่ได้เตรียมไว้กับผู้ประกอบการ
เลี้ยงปลาสลิด
3. บันทึกข้อมูลโดยการบันทึกเสียง

และจดบันทึก
4. นาข้อมูลที่ได้มาสรุป
การจัดกระทาข้อมูล
1. รวบรวมข้อมูลที่ได้มาจัดเตรียม
ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
2. จัดแบ่งประเภทของข้อมูล
3. นาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงาน
แล้วแปลความหมายของผลที่ได้
4. สรุปผลวิจัยและเขียนรายงานการ
วิจัย

ผลการศึกษา
ในการเลี้ยงปลาสลิดของอาเภอบาง
บ่อและบางพลีมีลักษณะการเลี้ยงที่คล้ายคลึง
กันโดยเริ่มต้นจากการเตรียมบ่อ จะเตรียมบ่อ
ที่มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีคูน้าล้อมรอบ
ทุกด้าน ความลึกของบ่อจะลึกอย่างน้อย
ประมาณ 75 เซนติเมตร มีชานบ่ออย่างน้อย
1 เมตร สาหรับให้ปลาวางไข่ และจะมีการ
ปรับสภาพบ่อเพื่อไม่ให้ดินเป็นกรดมากเกินไป
และกาจัดสิ่งรกหรือศัตรูต่างๆที่จะเป็น
อุปสรรคต่อการเลี้ยงปลา น้าที่เหมาะกับการ
เลี้ยงปลาควรมีค่า pH 6-7 เมื่อปรับสภาพดิน
และน้าเรียบร้อยแล้วก็จะปล่อยปลาพันธุ์ที่
เตรียมไว้ลงบ่อโดยจะปล่อยลงประมาณ 5-10
ตัว ต่อเนื้อที่ผิวน้า 1 ตารางเมตร และในบ่อ
ควรปลูกผักบุ้ง แพงพวย และผักกระเฉดเพื่อ
เป็นที่ให้ปลาพันธุ์ไปก่อหวอดวางไข่ เป็น
อาหารและยังเป็นที่หลบหลีกศัตรูของปลา
สลิด ซึ่งปลาสลิดสามารถผสมพันธุ์แล้ววางไข่
ได้เมื่อมีอายุ 7 เดือน ขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ย
จะมีขนาดตัวยาวประมาณ 6-7 นิ้ว หนัก 130400 กรัม ปลาสลิดจะเริ่มวางไข่ตั้งแต่เดือน
เมษายนถึงเดือนสิงหาคมในฤดูฝน แม่ปลาตัว
หนึ่งจะวางไข่ได้หลายครั้ง แต่ละครั้งจะได้
ปริมาณไข่ประมาณ 4,000-10,000 ฟอง ใน
ฤดูวางไข่ ท้องแม่ปลาจะอูมเป่งออกมาทั้งสอง
ข้าง ลักษณะของไข่ปลาสลิดมีสีเหลือง ทั้งนี้
ควรจัดที่ให้ปลาสลิดวางไข่ภายในเดือนมีนาคม
โดยขึ้นอยู่กับการเลี้ยงของแต่ละพื้นที่
ผู้ประกอบการทั้งอาเภอบางบ่อและ
อาเภอบางพลีใช้วิธีการแปรรูปปลาสลิด คือ
การหมักเกลือ การหมักเกลือจะทาให้เกิดการ
ออสโมซิส เนื่องจากความเข้มข้นที่แตกต่างกัน
ระหว่างเกลือที่ใช้หมักและภายในตัวปลา ทา
ให้น้าในตัวปลาเคลื่อนออกมาภายนอก
ในขณะที่เหลือเคลื่อนที่เข้าไปในตัวปลามีผล
ทาให้ตัวปลามีความชื้นลดลง และมีส่วนสาคัญ
ที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่
เป็นสาเหตุการเน่าเสียของตัวปลา และ
จุลินทรีย์ก่อโรค รวมทั้งปรสิต ซึ่งเป็นอันตราย
ในอาหาร ทาให้เกิดความปลอดภัย อาหารมี
อายุการเก็บรักษานานขึ้นนอกจากนี้การหมัก
เกลือ ยังทาให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหารมีกลิ่น
รสชาติ และเนื้อสัมผัสที่แตกต่าง ได้ผลิตภัณฑ์
ใหม่ที่เพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบ

อภิปรายผล
จากสมมติฐานข้อที่ 1 ที่ว่า ถ้าวิธีการ
เลี้ยงปลาสลิดของอาเภอบางบ่อและอาเภอ
บางพลีไม่แตกต่างกัน ดังนั้นผลผลิตที่ได้จะไม่
ต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า เป็นการเลี้ยงที่สืบ
ทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งยังไม่มีผู้ใดได้ทาการ
เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขและพัฒนาแต่อย่างใด
ดังนั้นผลผลิตที่ได้มาไม่มีความแตกต่างกับอดีต
มากนัก จึงยังคงไว้ซึ่งการเลี้ยงแบบเดิม ทั้งนี้
เนื่องจากการเลี้ยงแบบเดิมนั้นมีต้นทุนต่าและ
ได้ผลผลิตสูง ดังนั้นกระบวนการเลี้ยงของทั้ง
สองอาเภอจึงไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับ
งานวิจัยของ ดร.ไพรัช ถิตย์ผาด ที่พบว่า ภูมิ
ปัญญาในการเลี้ยงปลาสลิดได้มีการสืบทอด
กันมาเป็นเวลานานกว่า 50 ปีมาแล้ว เดิมเป็น
การเลี้ยงปลาสลิดผสมผสานกับปลาอื่น ๆ ใน
นาข้าว ปัจจุบันได้กลายมาเป็นการเลี้ยงปลา
สลิดเพียงอย่างเดียว และเป็นการเลี้ยงแบบ
ธรรมชาติการเลี้ยงปลาสลิด มีวิธีการสืบทอด
โดยการจัดศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ซึ่งมี 3
ขั้นตอน คือ การเรียนรู้แบบมีส่วนรวม การนา
ความรู้ไปเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
คนอื่น หรือองค์กรอื่น และการประยุกต์และ
พัฒนาตามสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ส่วนแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาสลิดนั้น มี
หลักการดังนี้ คือ การพัฒนาวารสารอีสาน
ศึกษาความหลากหลายทางวัฒนธรรม ปีที่ 7
ฉบับที่ 18 ประจาเดือน พฤษภาคม –
สิงหาคม 2532 ผลิตภัณฑ์เดิม การพัฒนาการ
ตลาดและขยายตลาด การเพิ่มรูปแบบบรรจุ
ภัณฑ์ และการนาความรู้เกี่ยวกับการ
เพาะเลี้ยงและการแปรรูปปลาสลิดเข้าสู่
หลักสูตรของโรงเรียนในท้องถิ่น (วารสาร
อีสานศึกษาความหลากหลายทางวัฒนธรรม,
2553, ออนไลน์)
จากสมมติฐานข้อที่ 2 ที่ว่า ถ้า
ลักษณะทางกายภาพของบริเวณที่เลี้ยงปลา
สลิดแตกต่างกันดังนั้นผลผลิตก็จะแตกต่างกัน
ผลการวิจัยพบว่า การเลี้ยงปลาสลิดมี 2 วิธี
ได้แก่ วิธีที่ 1 การเลี้ยงโดยปล่อยให้ผสมพันธุ์
วางไข่เองตามธรรมชาติ เกษตรกรประมาณ
80 เปอร์เซ็นต์ นิยมใช้วิธีนี้ โดยการปล่อยให้
พ่อแม่พันธุ์ผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติแล้ว
เลี้ยงลูกปลาที่เกิดขึ้นจนโตเป็นปลาขนาด
ตลาด วิธีที่ 2 การเลี้ยงโดยนาพันธุ์ปลาขนาด
2-3 เซนติเมตร ไปปล่อยเสริมในบ่อร่วมกับวิธี
ที่ 1 เกษตรกรประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ นิยม
ใช้วิธีนี้ จานวนลูกปลาที่ปล่อยเสริมขึ้นอยู่กับ
อัตรารอดของลูกปลาที่เกิดตามธรรมชาติ
(สถานีประมงน้าจืดจังหวัดสมุทรปราการ,
ม.ป.ป., ออนไลน์ )
เนื่องจากปลาสลิดที่อาเภอบางพลีจะ
เลี้ยงแบบกึ่งธรรมชาติ เพราะสภาพพื้นที่ของ
อาเภอบางพลีจะมีน้าน้อยกว่าอาเภอบางบ่อ
ประกอบกับบริเวณใกล้ๆนั้นมีโรงงาน
อุตสาหกรรมมากมาย จึงทาให้ต้องใช้วิธีเลี้ยง
ในบ่อซีเมนต์แทน (วิธีที่ 2) จากการลงพื้นที่
จริงของกลุ่มข้าพเจ้าทาให้สังเกตเห็นว่าผลที่ได้
ไม่แตกต่างกันมากนัก ทั้งขนาดตัวปลา หรือ
รสชาติ จะมีก็แต่ระยะเวลาของการเลี้ยง การ
เลี้ยงปลาสลิดทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 8-10

เดือน ซึ่งอาเภอบางพลีจะมีระยะเวลาที่นาน
กว่าอาเภอบางบ่อ (เทคโนโลยีชาวบ้าน,
2556, ออนไลน์)
จากวัตถุประสงค์ในการศึกษาข้อที่ 3
ที่ว่า เพื่อศึกษาแนวโน้มในการเลี้ยงปลาสลิดที่
ลดลง ผลการวิจัยพบว่า การเลี้ยงปลาสลิดที่
ลดน้อยลงไปในปัจจุบันนี้ เป็นเพราะชาวบ้าน
ผู้ประกอบการเลี้ยงปลาสลิดเข้ามาทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรมกันเป็นจานวนมาก
ประกอบกับมีนายทุนมาซื้อที่เพื่อก่อตั้งโรงงาน
อุตสาหกรรม ทาให้ผู้ประกอบการไม่มีพื้นที่ใน
การเลี้ยงปลาสลิด และอีกสาเหตุหนึ่ง คือ การ
ที่ชาวบ้านหันมาประกอบอาชีพเลี้ยงปลาชนิด
อื่นแทน เช่น ปลานิล ปลาดุก เป็นต้น
เนื่องจากมีระยะเวลาในการเลี้ยงที่สั้นกว่า ส่ง
ขายได้เร็วกว่า เมื่อเทียบกับปลาสลิด
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะสาหรับการทา
ผลการวิจัยไปใช้
ผู้ที่สนใจงานวิจัยชิ้นนี้สามารถนา
ผลการวิจัยนี้ไปเป็นแนวทางในการอนุรักษ์
ปลาสลิด และวิธีเลี้ยงปลาสลิดได้ โรงเรียน
หรือชุมชนต่างๆนาแนวทางนี้ไปพัฒนาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น
ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้ง
ต่อไป
ในการวิจัยครั้งต่อไปกลุ่มของข้าพเจ้า
ก็จะทาการวิจัยเกี่ยวกับการแปรรูปปลาสลิด
ซึ่งได้ต่อยอดมาจากการศึกษาเรื่องการเลี้ยง
ปลาสลิดโดยเนื้อหาการวิจัยก็จะศึกษาค้นคว้า
เกียวกับขั้นตอนในการแปรรูปปลาสลิดให้
่
กลายเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ขึ้นชื่ออย่างมาก
ในจังหวัดสมุทรปราการและก่อให้เกิดรายได้
กับประชาชนในพื้นที่หรือผู้ที่สนใจจะประกอบ
อาชีพเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจ
นี้
บรรณานุกรม
Aquatoyou. (ม.ป.ป.).การประมงน้าจืดของไทย. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.aquatoyou.com/index.php/2013-04-02-08-20-04/523-2013-04-0904-12-29
Bangkokideaeasy. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมาของปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน 2556,
เข้าถึงได้จาก
http://www.bangkokideaeasy.com/informations/otopdelivery/index.php?op
monmai. (2556). ทาน้าเขียวเลี้ยงปลา. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.monmai.com/ทาน้าเขียว/
pathama. (2551). ราคาปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://pathama.exteen.com/20080516/entry-3
sereepong. (2552). การแปรรูปปลาสลิดเค็ม. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.sereepong.rwb.ac.th/WEBsit/Unit-1/A03.htm
โครงการลูกพระดาบส สมุทรปราการตามพระราชดาริ . (2554). การจับปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7
กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.Lukphradabos.org/?p=75
งานแผนงาน ฝ่ายงบประมาณ. (ม.ป.ป.). ประวัติโรงเรียน. วันที่ค้นข้อมูล 6 กันยายน 2556,
เข้าถึงได้จากhttp://www.nawamintriampat.ac.th/?usid=21020001&language=Th
ไทยเกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.thaikasetsart.com/การเลี้ยงปลาสลิด/
ธนสรณ์ รักดนตรี. (2552). การใช้ LHRHaในการเพาะพันธุ์ปลาสลิดและการแปลงเพศด้วยฮอร์โมน
Estradiol. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.agi.nu.ac.th/agi2010/download/mobileunit/sarid-fish.pdf
ประทีปพันธุ์ปลา. (ม.ป.ป.). การเพาะพันธุ์ปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.bestfish4u.com/best-fish-information-salid.php
ปวีณา ไสยลาม . ( ม.ป.ป.). ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดสมุทรปราการ . วันที่ค้นข้อมูล 18
สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก
http://sites.google.com/site/pwinasiylam/4-laksna-phumiprathes
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (ม.ป.ป.). ปลาสลิด / Snake Skin Gourami.
วันที่ค้นข้อมูล 21 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3563/ปลาสลิด
ยุพินท์ วิวัฒนชัยเศรษฐ. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้
จาก http://www.agi.nu.ac.th/agi2010/download/mobileunit/salid-fish.pdf

ลายอง ทองใบ. (11 สิงหาคม 2556). สัมภาษณ์. วิกิเดีย สารานุกรม. (2555).
ประวัติความเป็นมาของปลาสลิด . วันที่คนข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก
้
http://th.wikipedia.org/wiki/ปลาสลิด
วิกิเดีย สารานุกรม. (2556). ประวัติโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ.
วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทตโนโลยี สานักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี. (2556). การแปรรูปปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 21 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก
http://siweb.dss.go.th/repack/fulltext/IR31.pdf
สวนสัตว์เชียงใหม่. (ม.ป.ป.). ปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.chiangmaizoo.com/web25/encyclopedia/animal-water/29animalwiki/animal-water/280-sepat-siam
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 1. (ม.ป.ป.). การประมงของไทย. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน
2556, เข้าถึงได้จาก
http://www.thaibizcenter.com/knowledgecenter.asp?kid=2093
สานักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการ. (ม.ป.ป.). ป้อมพระจุลจอมเกล้า. วันที่ค้นข้อมูล
7 กันยายยน 2556, เข้าถึงได้จาก http://klang.cgd.go.th/smp/tour/pomprajul1.html
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ. (ม.ป.ป.). ป้อมผีเสื้อสมุทร. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน
2556, เข้าถึงได้จาก http://samutprakan-pao.go.th/news/page/67

More Related Content

What's hot

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
Supamas Trunkaew
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
Kunlaya Kamwut
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
Bios Logos
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
Ketsarin Prommajun
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
firstnarak
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

04 หน่วยที่ 02 แผนที่ 10 12
04 หน่วยที่ 02 แผนที่ 10 1204 หน่วยที่ 02 แผนที่ 10 12
04 หน่วยที่ 02 แผนที่ 10 12
 
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
 

Viewers also liked

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
Sasiyada Promsuban
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (6)

การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to IS2 ปลาสลิด (9)

042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 

IS2 ปลาสลิด

  • 1. ปริศนาปลาสลิด Mystery of Snakeskin Gourami Fish ปรีญาภรณ์ โพธิ์รุ้ง1 ครูกนกวรรณ โกนาคม2 ครูโศจยา ดวงสิน3 บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาประวัติและสายพันธุ์ของปลาสลิด 2. เพื่อศึกษาวิธีการเลี้ยงปลาสลิด 3. เพื่อศึกษาวิธีการแปรรูปปลาสลิด 4. เพื่อเปรียบเทียบวิธีการ เลี้ยง ลักษณะการเลี้ยง และวิธีการแปรรูประหว่างอาเภอบางบ่อกับอาเภอบางพลี 5. เพื่อศึกษา สาเหตุและอุปสรรคในการเลี้ยงปลาสลิด เนื่องด้วยปลาสลิดเป็นอาหารขึ้นชื่ออย่างยิ่งในจังหวัด สมุทรปราการ ซึ่งตัวผู้ศึกษาเองก็ได้อาศัยอยู่ในจังหวัดนี้ แต่ยังมีความรู้ในเรื่องของปลาสลิดค่อนข้าง น้อย จึงได้ทาการศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ขึ้นโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างผู้เลี้ยงอาเภอละหนึ่งรายเพื่อ สัมภาษณ์ตามแบบฟอร์มที่เตรียมไว้ บันทึกข้อมูลด้วยการบันทึกเสียงแล้วนาข้อมูลที่ได้มาสรุปรวมกัน จากนั้นนาข้อมูลที่สรุปแล้วมาจัดแบ่งประเภทข้อมูล และสุดท้ายนาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงาน ผลการศึกษาที่ได้ คือ ทั้งสองอาเภอมีลักษณะการเลี้ยงที่คล้ายคลึงกันโดยสืบทอดมาจาก บรรพบุรุษ ยังไม่มีผู้ใดได้ทาการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเป็นเวลามากกว่า 50 ปีแล้ว เดิมเป็นการเลี้ยง ปลาสลิดในนาข้าว ปัจจุบันกลายมาเป็นการเลี้ยงปลาสลิดเพียงอย่างเดียว แตกต่างกันเล็กน้อยตรงที่ อาเภอบางพลีจะมีน้าน้อยกว่าอาเภอบางบ่อ ทาให้ต้องเลี้ยงในบ่อซีเมนต์แทน ประกอบกับเขตอาเภอ บางพลีมีโรงงานอุตสาหกรรมค่อนข้างมากกว่า ดังนั้นการเลี้ยงปลาสลิดในบ่อซีเมนต์จึงมีส่วนช่วยลด ผลกระทบจากโรงงานอุตสาหกรรมที่จะเกิดกับปลาสลิด ปัจจุบันการเลี้ยงปลาสลิดนั้นลดน้อยลงอย่าง เห็นได้ชัด เพราะชาวบ้านผู้ประกอบการเลี้ยงปลาสลิดแห่เข้ามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรมเป็น จานวนมาก ประกอบกับมีนายทุนมาเหมาซื้อที่ดินเพื่อตั้งโรงงาน ทาให้พื้นที่ในการเลี้ยงปลาสลิดลดลง และอีกสาเหตุหนึ่ง คือ การที่ชาวบ้านหันมาประกอบอาชีพเลี้ยงปลาชนิดอื่นแทน เช่น ปลานิล ปลาดุก เป็นต้น เนื่องจากมีระยะเวลาในการเลี้ยงที่สั้นกว่า ส่งขายได้เร็วกว่า เมื่อเทียบปลาสลิด จาก ผลการศึกษาที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้ที่สนใจงานวิจัยนี้สามารถนาไปเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ปลาสลิด ได้ในอนาคต คาสาคัญ : ปลาสลิด 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 2 ครูตาแหน่ง คศ.2 วิทยฐานะชานาญการ กลุมสาระการเรี ยนรู้สงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ่ ั 3 ครูตาแหน่ง คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  • 2. ความเป็นมาและความสาคัญของ ปัญหา ปลาสลิด ปลาน้าจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Trichogaster pectoralis ใน วงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มี รูปร่างคล้ายปลากระดี่หม้อ (T.trichopterus) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่มีลาตัวที่หนา และยาวกว่า หัวโต ครีบหลังในตัวผู้มีส่วน ปลายยื่นยาวเช่นเดียวกับครีบก้น ครีบอกใหญ่ ตาโต ปากเล็กอยู่สุดปลายจะงอยปาก ครีบ หางเว้าตื้นปลายมน ตัวมีสีเขียวมะกอกหรือสี น้าตาลคล้า มีแถบยาวตามลาตัวตั้งแต่ข้าง แก้มจนถึงกลางลาตัวสีดา และมีแถบเฉียงสี คล้าตลอดแนวลาตัวด้านข้างและหัว ครีบมีสี คล้า ขนาดโดยเฉลี่ย 10-16 เซนติเมตร พบ ขนาดใหญ่สุดถึง 25 เซนติเมตร นับเป็นปลา ในสกุล Trichogaster ที่ใหญ่ที่สุด มีถิ่นอาศัยในแหล่งน้านิ่งที่มีพืชน้าและ หญ้ารกริมตลิ่งของภาคกลาง, ภาคอีสานและ ภาคใต้ของประเทศไทย นอกจากนี้ยังพบใน ประเทศรอบข้าง พฤติกรรมในการสืบพันธุ์เริ่มขึ้นใน ระหว่างเดือนเมษายน-สิงหาคม โดยจะวางไข่ โดยการก่อหวอดตามผิวน้าติดกับพืชน้าหรือ วัสดุต่าง ๆ มักวางไข่ในช่วงกลางวันที่มแดด ี ราไร หลังวางไข่เสร็จแล้วตัวพ่อปลาจะเป็น ผู้ดูแลไข่จนฟักเป็นตัว ตัวเมียวางไข่ครั้งละ 4,000-10,000 ฟอง ในการเลี้ยงทางเศรษฐกิจ นิยมให้เป็นการผสมพันธุ์หมู่ ปลาสลิดนับเป็นปลาน้าจืดเศรษฐกิจที่ สาคัญอีกชนิดหนึ่งของไทย นิยมแปรรูปเป็น ปลาแห้งหรีอปลาเค็มที่รู้จักกันดี โดยเกษตรกร จะเลี้ยงในบ่อดิน โดยฟันหญ้าให้เป็นปุ๋ยและ เกิดแพลงก์ตอนเพื่อเป็นอาหารปลา โดยพื้นที่ เลี้ยงปลาสลิดที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ อาเภอบาง บ่อและอาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ที่ เรียกว่า "ปลาสลิดบางบ่อ" นอกจากนี้ยังมีอีก แหล่งหนึ่งที่เคยมีชื่อในอดีต คือที่ ตาบลดอน กายาน อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี แต่ ปัจจุบันพื้นที่เลี้ยงที่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่ อาเภอบ้าน แพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร มีชื่อเรียกในภาษามาเลย์ว่า "Sepat siam" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "กระดี่หนังงู" (Snakeskin gourami) และมีชื่อเรียกในราชา ศัพท์อีกว่า "ปลาใบไม้" ทั้งนี้เนื่องจากคาว่า "สลิด" เพี้ยนมาจากคาว่า "จริต" พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 จึงได้ทรงแนะนาให้เรียก ปลาสลิดในหมู่ราชบริพารว่า ปลาใบไม้ เพราะ ทรงเห็นว่ามีรูปร่างเหมือนใบไม้ (วิกิพีเดีย, 2556, ออนไลน์) ชุมชนในอาเภอบางพลี อาเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ มีอาชีพเลี้ยงปลา สลิด เมื่อปลาสลิดโตได้ที่จะนามาเป็นทาเป็น ปลาเค็ม โดยตากปลาที่หมักเกลือแล้วไว้กลาง แดด ถ้าตากไว้ 1 วัน ก็เรียกว่าปลาสลิดแดด
  • 3. เดียว ถ้าตาก 2 วัน ก็เรียกว่า สองแดด ปลาที่ ตากไว้แดดเดียวจะมีเนื้อนุ่มกว่าอร่อยกว่าแต่ จะมีน้าหนักมากกว่าปลาหลายแดด ปลาสลิด เค็มที่บางบ่อ หรือบางพลีจะมีรสชาติอร่อย กว่าปลาที่อื่น จึงยังถูกขนานนามว่า"ปลา สลิดทอง"อีกด้วย (OTOP, 2551, ออนไลน์) แหล่งปลาสลิดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักว่า มีรสชาติเนื้ออร่อย คือ ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ แต่ปัจจุบันโรงงาน อุตสาหกรรมได้ขยายตัวอย่างแพร่หลาย ทาให้ น้าธรรมชาติที่จะระบายลงสู่บ่อเลี้ยงปลาสลิด มีคุณสมบัติไม่เหมาะสม ชาวบ้านของอาเภอบางบ่อ จังหวัด สมุทรปราการ มีความชานาญในการเลี้ยงปลา สลิด และการเก็บรักษาปลาสลิดเป็นอย่างมาก สาเหตุที่ทาให้ปลาสลิดบางบ่อนั้นมีรสชาติจน เป็นที่เลื่องลือ ก็เพราะว่าในเขตบางบ่อเป็นน้า กร่อยที่มีความพอดีที่ทาให้เกิดไรแดงเป็น จานวนมาก ซึ่งไรแดงเป็นอาหารหลักของปลา สลิดบางบ่อ และมีส่วนอย่างมากที่ทาให้ปลา สลิดบางบ่อแข็งแรง เนื้ออร่อย (สานักงาน ประมงจังหวัดสมุทรปราการ, 2556, ออนไลน์) ด้วยเหตุที่เป็นปลาเศรษฐกิจที่สาคัญ อีกชนิดหนึ่งของไทย และนิยมนามาแปรรูป เป็นปลาเค็ม หรือปลาสลิดตากแห้งแบบที่เรา รู้จักกันดี ก็เป็นที่มาของการที่จะต้องตัดหัว ปลาสลิดออก เนื่องจากปลาสลิดนั้นเป็นปลาที่ มีมันมาก โดยเฉพาะในส่วนท้องหรือพุงปลา ซึ่งก่อนจะนามาคลุกเคล้าเกลือเพื่อแปรรูปนั้น จะต้องควักไส้ควักพุง ตัดหัวออก เพื่อเวลา ตากแดดแล้วปลาจะได้แห้งสนิท ไม่มีกลิ่น เหม็นเน่า อีกส่วนก็เพื่อให้เกลือที่คลุกเคล้าตัว ปลานั้นซึมซาบเข้าสู่เนื้อปลา ได้ทั่วทั้งตัว มี ความเค็มเท่าๆ กันทั้งตัว เมื่อนาหัวและ พุงปลาออกแล้ว เกลือก็จะเข้าไปแทนที่ เป็น การยับยั้งแบคทีเรียที่จะทาให้ปลาเน่า และ เมื่อนาไปตากแดดให้แห้งสนิทแล้ว ก็จะช่วย ถนอมอายุของปลาสลิดให้สามารถเก็บไว้กินได้ นาน ส่วนปลาสลิดที่มีชื่อเสียงที่รู้จักกันทั่ว ก็คงจะเป็น “ปลาสลิดบางบ่อ” ใน อาเภอบาง บ่อ และ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นพื้นที่เลี้ยงปลาสลิดขนาดใหญ่ในอดีต ปลาสลิดที่ได้มีรสชาติอร่อยกว่าที่อื่นๆ และยัง มีที่ ตาบลดอนกายาน อาเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี อีกแห่งหนึ่ง ที่ในอดีตเป็นพื้นที่ เลี้ยงปลาสลิดเช่นกัน แต่ในปัจจุบันนี้ แหล่งที่ มีการเลี้ยงปลาสลิดมากที่สุดอยู่ในพื้นที่ อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร จนกระทั่ง มีการจัดเทศกาลกินปลาสลิดขึ้นในทุกๆ ปี (manager, 2556, ออนไลน์) จากบทความที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ เห็นได้ว่าอาเภอบางบ่อและอาเภอบางพลี ต่าง ก็มีชื่อเสียงในเรื่องความอร่อยของเนื้อปลา สลิดไม่แพ้กัน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความ ต้องการที่จะศึกษาประวัติ วิธีการเลี้ยง วิธีการ ทา และหาข้อแตกต่างของปลาสลิดของทั้ง สองอาเภอนี้ รวมถึงลงพื้นที่จริงเพื่อสารวจ และหาข้อเท็จจริงว่าแนวโน้มที่ทาให้การเลี้ยง ปลาสลิดของทั้งสองอาเภอนี้ลดลงเป็นเพราะ อะไร เกี่ยวข้องกับสภาพพื้นที่ที่แปรเปลี่ย นไป
  • 4. จากเดิมเพราะกลายเป็นเขตอุตสาหกรรม หรือไม่ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. หวอด หมายถึง ฟองน้าที่ปลาบาง ชนิดพ่นไว้สาหรับเก็บไข่ เช่นปลากัด ปลาช่อน เป็นต้น พ่นไว้สาหรับเก็บไข่ อาการที่หาวทา เสียงดังเช่นนั้น 2. ราไร หมายถึง เล็กน้อย เช่น แสง สว่างราไร แสงแดดราไร อาการที่เห็นไม่ชัด เต็มที่เพราะอยู่ในระยะไกลหรือมีอะไรบังเป็น ต้น เช่น เห็นกระท่อมราไรอยู่ในหมู่ไม้. 3. แพลงก์ตอนพืช หมายถึง น้าสี เขียว แพลงก์ตอนเป็นพืชเซลล์เดียว เป็น สาหร่ายชนิดหนึ่ง พวกนี้สามารถสร้างอาหาร เองได้ คือสาหร่ายต่างๆ เช่น ไดอะตอม และ สาหร่ายเปลวไฟ ในน้าทุกชนิดมีแพลงก์ตอน ชนิดนี้อาศัยอยู่ 4. ไรแดง หรือ ไรน้าจืด หรือ ลูกไร หมายถึง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจาพวกครัสเต เชียนสกุลหนึ่ง โดยอยู่ในสกุล Moina ถือเป็น แพลงก์ตอนสัตว์อย่าง หนึ่ง อาศัยอยู่ทั่วไปใน แหล่งน้าจืด มีขนาดโดยทั่วไป 0.4-1.8 มิลลิเมตร ลาตัวมีสีแดงเรื่อ ๆ ถ้าอยู่รวมกัน เป็นจานวนมากจะมองเห็นเป็นกลุ่มสีแดงเข้ม ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย ลาตัวอ้วนเกือบ กลมมีขนาดโดยเฉลี่ย 1.3 มิลลิเมตร ขณะที่ตัว ผู้มีขนาดเล็กและค่อนข้างยาวกว่า มีขนาด เฉลี่ย 0.5 มิลลิเมตร ตัวอ่อนของไรแดงเมื่ออก มาจากไข่ใหม่ ๆ จะมีขนาด 0.22-0.35 มิลลิเมตร มีสีจางกว่าตัวเต็มวัย ไรแดงนิยมให้ เป็นอาหารปลาทั้งปลาสวยงาม และปลา เศรษฐกิจ โดยเป็นอาหารที่เหมาะมากสาหรับ ลูกปลาวัยอ่อน และเป็นอาหารถ่ายท้อง แก้ปัญหาท้องผูกของปลา คุณค่าทาง สารอาหารของไรแดง ประกอบไปด้วย โปรตีน ร้อยละ 74.09, คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 12.50, ไขมันร้อยละ 10.19 และเถ้าร้อยละ 3.47 ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ไรแดงเป็นสัตว์ เศรษฐกิจเพื่อส่งขายเป็นอาหารปลาทั่วไป 5. จริต หมายถึง น. ความประพฤติ กิริยาหรืออาการ เช่น พุทธจริต เสียจริต วิกลจริต บางทีใช้ในทางไม่ดี เช่น ดัดจริต มี จริต จริตจะก้าน ก็ว่า. (ป.). 6. ปลาเค็ม หมายถึง ผลิตภัณฑ์แปร รูป เพื่อการถนอมอาหาร ด้วยวิธีการหมัก เกลือ (salt curing) ร่วมกับการทาแห้ง (dehydration) ได้จากการนาปลาสด เช่น ปลาอินทรี ปลากุเลา ที่ตัดแต่งแล้วมาทาเค็ม โดยใช้เกลือเคล้าให้ทั่ว หรือแช่ในน้าเกลือแล้ว ตั้งทิ้งไว้ในระยะเวลาที่เหมาะสม อาจทาให้ แห้งโดยใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ (sun drying) หรือแหล่งพลังงาน หรือใช้ตู้อบ (drier) เพื่อลดความชื้น และค่าวอเตอร์แอคทิ วิตี้ (water activity) อาจแช่ในน้าเกลือหรือ น้ามันด้วยก็ได้ วัตถุดิบที่ใช้ในการทาปลาเค็ม ใช้ได้ทั้ง ปลาน้าเค็ม และปลาน้าจืด เป็น วัตถุดิบปลาที่นิยมใช้ทาปลาเค็มได้แก่ ปลา อินทรีบั้ง ปลาอินทรีจุ 7. ปลาแดดเดียว หมายถึง ผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการนาปลาสดทั้งตัวหรือที่ได้ตัดแต่ง
  • 5. แล้ว เช่น ปลาช่อน ปลาสาลี ปลาสลิดมาล้าง ให้สะอาด อาจปรุงรสด้วยเครื่องปรุง รส เครื่องเทศหรือสมุนไพร เช่น น้าตาล น้าปลา เกลือ ซีอิ๊วขาว กระเทียม ราก ผักชี พริกไทย ผงพะโล้ หมักให้เข้ากัน นาไป ทาให้แห้งพอหมาดโดยใช้ความร้อนจาก แสงอาทิตย์หรือแหล่งพลังงานอื่น ก่อนบริโภค ต้องนาไปทาให้สุก ความสาคัญของการศึกษา 1. เพื่อทราบประวัติความเป็นมาของ ปลาสลิด 2. ได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาสลิดในแต่ ละพื้นที่ 3. ทราบความรู้สึกภายในที่แท้จริง ของผู้เลี้ยงปลาสลิด ความมุ่งหมายการศึกษา 1. เพื่อศึกษาประวัติการเลี้ยงและ วิธีการทาปลาสลิด 2. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบข้อ แตกต่างระหว่างปลาสลิด 2 อาเภอ ได้แก่ อาเภอบางบ่อและอาเภอบางพลี 3. เพื่อศึกษาแนวโน้มในการเลี้ยงปลา สลิดที่ลดลง สมมติฐานการศึกษา 1. ถ้าวิธีการเลี้ยงปลาสลิดของอาเภอ บางบ่อและอาเภอบางพลีไม่แตกต่างกัน ดังนั้นผลผลิตที่ได้จะไม่ต่างกัน 2. ถ้าลักษณะทางกายภาพของ บริเวณที่เลี้ยงปลาสลิดแตกต่างกันดังนั้น ผลผลิตก็จะแตกต่างกัน วิธีการดาเนินการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการเลี้ยงปลาสลิดอาเภอบาง บ่อ จานวน 1 ราย (คุณลายอง ทองใบ) และ อาเภอบางพลี จานวน 1 ราย (คุณเฉลิม สาม เสน) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา บ่อปลาสลิดของ “คุณลายอง ทอง ใบ” ตัวแทนผู้เลี้ยงปลาสลิดอาเภอบางบ่อ และ บ่อปลาสลิดของ “คุณเฉลิม สามเสน” ตัวแทนผู้เลี้ยงปลาสลิดอาเภอบางพลี ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรต้น ลักษณะทางกายภาพของ บริเวณที่เลี้ยงปลาสลิด, วิธีการเลี้ยงของทั้ง สองอาเภอ, แนวคิดของผู้ประกอบการเลี้ยง ปลาสลิด ตัวแปรตาม คุณภาพของปลาสลิดที่ ได้ ตัวแปรควบคุม พันธุ์ปลาสลิด, ค่า pH ของน้า, การปรับสภาพบ่อ ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 4 เดือน เริ่มจาก วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ถึง 14 กันยายน 2556
  • 6. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ 1. แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลี้ยง ปลาสลิดอาเภอบางบ่อ และอาเภอบางพลี 2. หนังสือจังหวัดของเรา เรื่องปลา สลิด 3. เอกสารการแนะนาจาก กอง ส่งเสริมการประมง กรมประมง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ 1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการสร้าง แบบสอบถาม 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง 3. เขียนนิยามศัพท์เฉพาะ 4. สร้างข้อคาถามตามนิยามศัพท์ เฉพาะ 5. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความดัชนี สอดคล้องของข้อคาถาม (IOC) 6. ปรับแก้ไขตามคาแนะนาของ ผู้เชี่ยวชาญ 7. จัดพิมพ์เป็นรูปเล่มเพื่อใช้ในการ วิจัย วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 1. นัดสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลี้ยง ปลาสลิด 2. ลงพื้นที่จริงพร้อมทาการสัมภาษณ์ ในหัวข้อคาถามที่ได้เตรียมไว้กับผู้ประกอบการ เลี้ยงปลาสลิด 3. บันทึกข้อมูลโดยการบันทึกเสียง และจดบันทึก 4. นาข้อมูลที่ได้มาสรุป การจัดกระทาข้อมูล 1. รวบรวมข้อมูลที่ได้มาจัดเตรียม ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ 2. จัดแบ่งประเภทของข้อมูล 3. นาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงาน แล้วแปลความหมายของผลที่ได้ 4. สรุปผลวิจัยและเขียนรายงานการ วิจัย ผลการศึกษา ในการเลี้ยงปลาสลิดของอาเภอบาง บ่อและบางพลีมีลักษณะการเลี้ยงที่คล้ายคลึง กันโดยเริ่มต้นจากการเตรียมบ่อ จะเตรียมบ่อ ที่มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีคูน้าล้อมรอบ ทุกด้าน ความลึกของบ่อจะลึกอย่างน้อย ประมาณ 75 เซนติเมตร มีชานบ่ออย่างน้อย 1 เมตร สาหรับให้ปลาวางไข่ และจะมีการ ปรับสภาพบ่อเพื่อไม่ให้ดินเป็นกรดมากเกินไป และกาจัดสิ่งรกหรือศัตรูต่างๆที่จะเป็น อุปสรรคต่อการเลี้ยงปลา น้าที่เหมาะกับการ เลี้ยงปลาควรมีค่า pH 6-7 เมื่อปรับสภาพดิน และน้าเรียบร้อยแล้วก็จะปล่อยปลาพันธุ์ที่ เตรียมไว้ลงบ่อโดยจะปล่อยลงประมาณ 5-10 ตัว ต่อเนื้อที่ผิวน้า 1 ตารางเมตร และในบ่อ ควรปลูกผักบุ้ง แพงพวย และผักกระเฉดเพื่อ เป็นที่ให้ปลาพันธุ์ไปก่อหวอดวางไข่ เป็น อาหารและยังเป็นที่หลบหลีกศัตรูของปลา สลิด ซึ่งปลาสลิดสามารถผสมพันธุ์แล้ววางไข่
  • 7. ได้เมื่อมีอายุ 7 เดือน ขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ย จะมีขนาดตัวยาวประมาณ 6-7 นิ้ว หนัก 130400 กรัม ปลาสลิดจะเริ่มวางไข่ตั้งแต่เดือน เมษายนถึงเดือนสิงหาคมในฤดูฝน แม่ปลาตัว หนึ่งจะวางไข่ได้หลายครั้ง แต่ละครั้งจะได้ ปริมาณไข่ประมาณ 4,000-10,000 ฟอง ใน ฤดูวางไข่ ท้องแม่ปลาจะอูมเป่งออกมาทั้งสอง ข้าง ลักษณะของไข่ปลาสลิดมีสีเหลือง ทั้งนี้ ควรจัดที่ให้ปลาสลิดวางไข่ภายในเดือนมีนาคม โดยขึ้นอยู่กับการเลี้ยงของแต่ละพื้นที่ ผู้ประกอบการทั้งอาเภอบางบ่อและ อาเภอบางพลีใช้วิธีการแปรรูปปลาสลิด คือ การหมักเกลือ การหมักเกลือจะทาให้เกิดการ ออสโมซิส เนื่องจากความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ระหว่างเกลือที่ใช้หมักและภายในตัวปลา ทา ให้น้าในตัวปลาเคลื่อนออกมาภายนอก ในขณะที่เหลือเคลื่อนที่เข้าไปในตัวปลามีผล ทาให้ตัวปลามีความชื้นลดลง และมีส่วนสาคัญ ที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ เป็นสาเหตุการเน่าเสียของตัวปลา และ จุลินทรีย์ก่อโรค รวมทั้งปรสิต ซึ่งเป็นอันตราย ในอาหาร ทาให้เกิดความปลอดภัย อาหารมี อายุการเก็บรักษานานขึ้นนอกจากนี้การหมัก เกลือ ยังทาให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหารมีกลิ่น รสชาติ และเนื้อสัมผัสที่แตกต่าง ได้ผลิตภัณฑ์ ใหม่ที่เพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบ อภิปรายผล จากสมมติฐานข้อที่ 1 ที่ว่า ถ้าวิธีการ เลี้ยงปลาสลิดของอาเภอบางบ่อและอาเภอ บางพลีไม่แตกต่างกัน ดังนั้นผลผลิตที่ได้จะไม่ ต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า เป็นการเลี้ยงที่สืบ ทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งยังไม่มีผู้ใดได้ทาการ เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขและพัฒนาแต่อย่างใด ดังนั้นผลผลิตที่ได้มาไม่มีความแตกต่างกับอดีต มากนัก จึงยังคงไว้ซึ่งการเลี้ยงแบบเดิม ทั้งนี้ เนื่องจากการเลี้ยงแบบเดิมนั้นมีต้นทุนต่าและ ได้ผลผลิตสูง ดังนั้นกระบวนการเลี้ยงของทั้ง สองอาเภอจึงไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับ งานวิจัยของ ดร.ไพรัช ถิตย์ผาด ที่พบว่า ภูมิ ปัญญาในการเลี้ยงปลาสลิดได้มีการสืบทอด กันมาเป็นเวลานานกว่า 50 ปีมาแล้ว เดิมเป็น การเลี้ยงปลาสลิดผสมผสานกับปลาอื่น ๆ ใน นาข้าว ปัจจุบันได้กลายมาเป็นการเลี้ยงปลา สลิดเพียงอย่างเดียว และเป็นการเลี้ยงแบบ ธรรมชาติการเลี้ยงปลาสลิด มีวิธีการสืบทอด โดยการจัดศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ซึ่งมี 3 ขั้นตอน คือ การเรียนรู้แบบมีส่วนรวม การนา ความรู้ไปเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ คนอื่น หรือองค์กรอื่น และการประยุกต์และ พัฒนาตามสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ส่วนแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาสลิดนั้น มี หลักการดังนี้ คือ การพัฒนาวารสารอีสาน ศึกษาความหลากหลายทางวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 18 ประจาเดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2532 ผลิตภัณฑ์เดิม การพัฒนาการ ตลาดและขยายตลาด การเพิ่มรูปแบบบรรจุ
  • 8. ภัณฑ์ และการนาความรู้เกี่ยวกับการ เพาะเลี้ยงและการแปรรูปปลาสลิดเข้าสู่ หลักสูตรของโรงเรียนในท้องถิ่น (วารสาร อีสานศึกษาความหลากหลายทางวัฒนธรรม, 2553, ออนไลน์) จากสมมติฐานข้อที่ 2 ที่ว่า ถ้า ลักษณะทางกายภาพของบริเวณที่เลี้ยงปลา สลิดแตกต่างกันดังนั้นผลผลิตก็จะแตกต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า การเลี้ยงปลาสลิดมี 2 วิธี ได้แก่ วิธีที่ 1 การเลี้ยงโดยปล่อยให้ผสมพันธุ์ วางไข่เองตามธรรมชาติ เกษตรกรประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ นิยมใช้วิธีนี้ โดยการปล่อยให้ พ่อแม่พันธุ์ผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติแล้ว เลี้ยงลูกปลาที่เกิดขึ้นจนโตเป็นปลาขนาด ตลาด วิธีที่ 2 การเลี้ยงโดยนาพันธุ์ปลาขนาด 2-3 เซนติเมตร ไปปล่อยเสริมในบ่อร่วมกับวิธี ที่ 1 เกษตรกรประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ นิยม ใช้วิธีนี้ จานวนลูกปลาที่ปล่อยเสริมขึ้นอยู่กับ อัตรารอดของลูกปลาที่เกิดตามธรรมชาติ (สถานีประมงน้าจืดจังหวัดสมุทรปราการ, ม.ป.ป., ออนไลน์ ) เนื่องจากปลาสลิดที่อาเภอบางพลีจะ เลี้ยงแบบกึ่งธรรมชาติ เพราะสภาพพื้นที่ของ อาเภอบางพลีจะมีน้าน้อยกว่าอาเภอบางบ่อ ประกอบกับบริเวณใกล้ๆนั้นมีโรงงาน อุตสาหกรรมมากมาย จึงทาให้ต้องใช้วิธีเลี้ยง ในบ่อซีเมนต์แทน (วิธีที่ 2) จากการลงพื้นที่ จริงของกลุ่มข้าพเจ้าทาให้สังเกตเห็นว่าผลที่ได้ ไม่แตกต่างกันมากนัก ทั้งขนาดตัวปลา หรือ รสชาติ จะมีก็แต่ระยะเวลาของการเลี้ยง การ เลี้ยงปลาสลิดทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 8-10 เดือน ซึ่งอาเภอบางพลีจะมีระยะเวลาที่นาน กว่าอาเภอบางบ่อ (เทคโนโลยีชาวบ้าน, 2556, ออนไลน์) จากวัตถุประสงค์ในการศึกษาข้อที่ 3 ที่ว่า เพื่อศึกษาแนวโน้มในการเลี้ยงปลาสลิดที่ ลดลง ผลการวิจัยพบว่า การเลี้ยงปลาสลิดที่ ลดน้อยลงไปในปัจจุบันนี้ เป็นเพราะชาวบ้าน ผู้ประกอบการเลี้ยงปลาสลิดเข้ามาทางานใน โรงงานอุตสาหกรรมกันเป็นจานวนมาก ประกอบกับมีนายทุนมาซื้อที่เพื่อก่อตั้งโรงงาน อุตสาหกรรม ทาให้ผู้ประกอบการไม่มีพื้นที่ใน การเลี้ยงปลาสลิด และอีกสาเหตุหนึ่ง คือ การ ที่ชาวบ้านหันมาประกอบอาชีพเลี้ยงปลาชนิด อื่นแทน เช่น ปลานิล ปลาดุก เป็นต้น เนื่องจากมีระยะเวลาในการเลี้ยงที่สั้นกว่า ส่ง ขายได้เร็วกว่า เมื่อเทียบกับปลาสลิด
  • 9. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการทา ผลการวิจัยไปใช้ ผู้ที่สนใจงานวิจัยชิ้นนี้สามารถนา ผลการวิจัยนี้ไปเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ ปลาสลิด และวิธีเลี้ยงปลาสลิดได้ โรงเรียน หรือชุมชนต่างๆนาแนวทางนี้ไปพัฒนาภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้ง ต่อไป ในการวิจัยครั้งต่อไปกลุ่มของข้าพเจ้า ก็จะทาการวิจัยเกี่ยวกับการแปรรูปปลาสลิด ซึ่งได้ต่อยอดมาจากการศึกษาเรื่องการเลี้ยง ปลาสลิดโดยเนื้อหาการวิจัยก็จะศึกษาค้นคว้า เกียวกับขั้นตอนในการแปรรูปปลาสลิดให้ ่ กลายเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ขึ้นชื่ออย่างมาก ในจังหวัดสมุทรปราการและก่อให้เกิดรายได้ กับประชาชนในพื้นที่หรือผู้ที่สนใจจะประกอบ อาชีพเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจ นี้
  • 10. บรรณานุกรม Aquatoyou. (ม.ป.ป.).การประมงน้าจืดของไทย. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.aquatoyou.com/index.php/2013-04-02-08-20-04/523-2013-04-0904-12-29 Bangkokideaeasy. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมาของปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.bangkokideaeasy.com/informations/otopdelivery/index.php?op monmai. (2556). ทาน้าเขียวเลี้ยงปลา. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.monmai.com/ทาน้าเขียว/ pathama. (2551). ราคาปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://pathama.exteen.com/20080516/entry-3 sereepong. (2552). การแปรรูปปลาสลิดเค็ม. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.sereepong.rwb.ac.th/WEBsit/Unit-1/A03.htm โครงการลูกพระดาบส สมุทรปราการตามพระราชดาริ . (2554). การจับปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.Lukphradabos.org/?p=75 งานแผนงาน ฝ่ายงบประมาณ. (ม.ป.ป.). ประวัติโรงเรียน. วันที่ค้นข้อมูล 6 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จากhttp://www.nawamintriampat.ac.th/?usid=21020001&language=Th ไทยเกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.thaikasetsart.com/การเลี้ยงปลาสลิด/ ธนสรณ์ รักดนตรี. (2552). การใช้ LHRHaในการเพาะพันธุ์ปลาสลิดและการแปลงเพศด้วยฮอร์โมน Estradiol. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.agi.nu.ac.th/agi2010/download/mobileunit/sarid-fish.pdf ประทีปพันธุ์ปลา. (ม.ป.ป.). การเพาะพันธุ์ปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.bestfish4u.com/best-fish-information-salid.php ปวีณา ไสยลาม . ( ม.ป.ป.). ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดสมุทรปราการ . วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก http://sites.google.com/site/pwinasiylam/4-laksna-phumiprathes พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (ม.ป.ป.). ปลาสลิด / Snake Skin Gourami.
  • 11. วันที่ค้นข้อมูล 21 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3563/ปลาสลิด ยุพินท์ วิวัฒนชัยเศรษฐ. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้ จาก http://www.agi.nu.ac.th/agi2010/download/mobileunit/salid-fish.pdf ลายอง ทองใบ. (11 สิงหาคม 2556). สัมภาษณ์. วิกิเดีย สารานุกรม. (2555). ประวัติความเป็นมาของปลาสลิด . วันที่คนข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก ้ http://th.wikipedia.org/wiki/ปลาสลิด วิกิเดีย สารานุกรม. (2556). ประวัติโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ. วันที่ค้นข้อมูล 18 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทตโนโลยี สานักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี. (2556). การแปรรูปปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 21 สิงหาคม 2556, เข้าถึงได้จาก http://siweb.dss.go.th/repack/fulltext/IR31.pdf สวนสัตว์เชียงใหม่. (ม.ป.ป.). ปลาสลิด. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.chiangmaizoo.com/web25/encyclopedia/animal-water/29animalwiki/animal-water/280-sepat-siam สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 1. (ม.ป.ป.). การประมงของไทย. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.thaibizcenter.com/knowledgecenter.asp?kid=2093 สานักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการ. (ม.ป.ป.). ป้อมพระจุลจอมเกล้า. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายยน 2556, เข้าถึงได้จาก http://klang.cgd.go.th/smp/tour/pomprajul1.html องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ. (ม.ป.ป.). ป้อมผีเสื้อสมุทร. วันที่ค้นข้อมูล 7 กันยายน 2556, เข้าถึงได้จาก http://samutprakan-pao.go.th/news/page/67