SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
สถานภาพแนวปะการังบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้
จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสุราษฏร์ธานี
บทคัดย่อ
การสารวจแนวปะการังบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้
จังหวัดนครศรีธรรมราช และ จังหวัดสุราษฏร์ธานี เพื่อรวบรวมข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
และประเมินสถานภาพแนวปะการังด้วยวิธี Photo Belt Transect บริเวณ 4 สถานีศึกษา พบ
ปะการังมีชีวิตมากที่สุด บริเวณเกาะวังนอก คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมาได้แก่ เกาะกะเต็น เกาะ
ราบ และเกาะวังใน คิดเป็นร้อยละ 54 52 และ 38 ตามลาดับ ปะการังชนิดเด่นที่พบได้แก่
ปะการังโขด (Porites spp.) ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia spp.) ปะการังลายดอกไม้
(Pavona spp.) ปะการังลูกฟูก (Pachyseris spp.) ปะการังกาแล็กซี่ (Galaxea spp.) และ
ปะการังช่องเหลี่ยม (Favites spp.) สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่ชนิดเด่น ได้แก่ เม่นดาหนามยาว
(Diadema setosum) หอยเจาะปะการัง (Beguina semiorbiculata) หอยเม็ดขนุน (Arca
ventricosa) หนอนท่อ (Sabellastarte sp.) และดอกไม้ทะเล (Heteractis magnifica) ปลาใน
แนวปะการังชนิดเด่น ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว (Neopomacentrus anabatoides) ปลา
สลิดเทาหางเหลือง (Neopomacentrus bankieri) ปลาสลิดหินหางพัด (Abudefduf
bengalensis) ส่วนปลาเศรษฐกิจที่พบ ได้แก่ ปลากะรังบั้ง (Cephalopholis boenak) ปลากะรัง
ลายเสือครีบยาว (Epinephelus quoyanus) ปลาสร้อยนกเขาหางเยียด (Diagramma pictum)
นอกจากนี้ยังพบปลาผีเสื้อแปดขีด (Chaetodon octofasciatus) ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์
ของแนวปะการังบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้อีกด้วย
สถานภาพแนวปะการังบริเวณ
อุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้
จังหวัดนครศรีธรรมราช และ จังหวัดสุราษฏร์ธานี
Status of Coral Reefs at Hat Khanom – Mu Ko Thale Tai
National Park, Nakhon Si Thammarat Province and
Surat Thani Province
สถานีศึกษา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสารวจความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ใกล้เคียงกับ
อุทยานแห่งชาติที่เป็นเป้าหมายเพื่อกาหนดระบบนิเวศที่มีศักยภาพในการทาหน้าที่เป็นแนว
เชื่อมต่อทางทะเล
2. เพื่อจัดทาฐานข้อมูล ประเมินและติดตามสถานภาพของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดย
ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
3. เพื่อเสนอแนวทางการจัดการพื้นที่บริเวณแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ ระหว่างอุทยานแห่งชาติ
โดยเน้นกระบวนการมีส่วนจากผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน
4. เพื่อวางระบบการติดตามตรวจสอบ (Monitoring) ทรัพยากรชีวภาพ ในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ
ในระยะยาวอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักประกันความยั่งยืนของความหลากหลายทางชีวภาพทั้ง
ในพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและแนวเชื่อมต่อสาคัญ
วิธีการดาเนินงาน
1. การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษาข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อกาหนดพื้นที่
เป้าหมายพร้อมทั้งใช้ข้อมูลเบื้องต้นจากการค้นคว้าเอกสารงานวิจัยในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
2. การสารวจแบบ Photo Belt Transect ทาการสารวจโดยการวางเส้นสารวจยาวประมาณ 20
หรือ 30 เมตร ขนานไปกับแนวชายฝั่ง จานวน 5 transect ในแต่ละสถานี ก่อนเริ่มถ่ายภาพจะต้องทา
การทาเครื่องหมายจุดเริ่มต้น พร้อมถ่ายภาพบันทึกไว้เป็นภาพแรกก่อนการสารวจ จากนั้นเริ่มบันทึกด้วย
กล้องบันทึกกล้องใต้น้าทุก Transect Line โดยบันทึกภาพให้มีระยะห่างระหว่างกล้องกับพื้นประมาณ
30 เซนติเมตร โดยใช้มุมมองภาพกว้างที่สุดเพื่อครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดถ่ายภาพด้านข้างสายวัดใน
แนวตั้งฉากโดยไม่ให้สายวัดปรากฏในภาพ และทาการบันทึกภาพทุกๆ 50 เซนติเมตร จนครบทั้งเส้น
สารวจ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. 2557. คู่มือการจาแนกชนิดสัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลใน
ประเทศไทย.โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. 96 หน้า
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ๒๕๕๓. คู่มืออุทยานแห่งชาติลาดับที่ 13 : การจัดการ
สารวจ ติดตามทรัพยากรทางบกและทางทะเล . พิมพ์ครั้งที่ 1. 105 หน้า .
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2553. อุทยาแห่งชาติทางภาคใต้. 293 หน้า.
ส่วนอุทยานแห่งชาติทางทะเล. 2543. การสารวจหญ้าทะเล คู่มืออุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 3.สานักอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้. 46 หน้า
ผลการศึกษา
ผลจากการศึกษาทั้ง 4 สถานี พบปะการังเด่นๆ คือ ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora),
ปะการังโขด (Porites), ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia) ปะการังลูกฟูก (Pachyseris) ,ปะการังกา
แล็กซี่ (Galaxea) ,ปะการังลายดอกไม้ (Pavona) และปะการังช่องเหลี่ยม (Favites) และการสารวจ
ปลาพบทั้งหมด 22 ชนิด ซึ่งเป็นปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides) ปลาสลิดเทาหางเหลือง (Neopomacentrus bankieri) และปลา
สลิดหินหางพัด (Abudefduf bengalensis) ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแนวปะการังในบริเวณดังกล่าว
ปะการังโขด (Porites) ปะการังลายดอกไม้ (Pavona) ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia)
ปลาสลิดหินบั้งหางกรรไกร
(Abudefduf sexfasciatus)
ปลาผีเสื้อแปดขีด
(Chaetodon octofasciatus)
ปลาสลิดหินหางพัด
(Abudefduf bengalensis)
3. การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม Coral Point Count with Excel extensions (CPCe) เป็น
โปรแกรมสาหรับการวิเคราะห์สัดส่วนเปอร์เซ็นต์การปกคลุมพื้นที่ของพืช การประมาณค่าประชากรสัตว์
หรือการคานวณเปอร์เซ็นต์ปกคลุมของสิ่งมีชีวิตบนพื้นทะเล ปะการัง ซึ่งโปรแกรมสามารถที่จะทาการ
วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ปกคลุมได้ทั้งในเชิงพื้นที่ (area) และการวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ปกคลุมโดยวิธีการสุ่ม
จุด (point) ได้ทั้งการสุ่มแบบกาหนดจุดแน่นอน (fixed point) หรือการสุ่มจุดแบบสุ่ม (random point)
รวมถึงการเพิ่มหรือลดจานวนจุดได้หลากหลาย นอกจากนี้เมื่อทาการจาแนกชนิดเชิงพื้นที่ หรือการ
จาแนกชนิดโดยการสุ่มจุดเสร็จสิ้นแล้ว โปรแกรมสามารถที่จะคานวณเปอร์เซ็นต์ปกคลุมของสิ่งมีชีวิตได้
โดยอัตโนมัติ
ชัยณรงค์ เรืองทอง1 , ธรรมศักดิ์ ยีมิน 2, ทรงธรรม สุขสว่าง3
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จ.ชุมพร1 , คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง2, สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง3
คานา
อุทยานแห่งชาติหาดขนอม - หมู่เกาะทะเลใต้ จัดเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มี
ความอุดมสมบูรณ์ และเป็นบริเวณหนึ่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เช่น พืชบก พืชทะเล
สัตว์ต่างๆ และมีสิ่งมีชีวิตนานาพันธุ์รวมอยู่ในระบบนิเวศประเภทต่างๆ มากมาย เช่น หาดทราย
หาดหิน ป่าชายเลน และปะการัง ซึ่งระบบนิเวศเหล่านี้จัดเป็นบริเวณที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิต
โดยเฉพาะสัตว์น้า ในแง่ของการเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย และเป็นแหล่งหาอาหาร ปัจจุบัน
อุทยานแห่งชาติหาดขนอม - หมู่เกาะทะเลใต้ มีการเข้ามาใช้ประโยชน์และทากิจกรรมในรูปแบบ
ต่างๆ อย่างมากมายทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ ดาน้าชม
ปะการัง อีกทั้งยังเป็นแหล่งทาการประมงที่สาคัญ โดยเฉพาะความหลากหลายทางชีวภาพของ
ระบบนิเวศทางทะเลของสัตว์ทะเลขนาดใหญ่ในบริเวณนั้น รวมถึงความชุกชุมของสัตว์น้าบริเวณ
แนวปะการัง จึงเป็นดรรชนีเบื้องต้นที่สามารถบ่งบอกถึงทิศทางระบบเศรษฐกิจการท่องเที่ยว
สังคมและนิเวศวิทยาในบริเวณพื้นที่นี้ได้
อุปกรณ์
จากการสารวจปะการังในบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้ ซึ่งมีการสารวจ
4 สถานีคือ เกาะวังนอก เกาะกะเต็น เกาะราบ และเกาะวังใน ซึ่งเป็นปะการังมีชีวิตที่มีความสมบูรณ์
ตามลาดับ ดังนี้ 68, 54, 51 และ38 ซึ่งมีความหลากหลายในบริเวณแนวปะการังและพบปะการังที่มี
ความสมบูรณ์ในบริเวณแนวปะการัง พบปะการังเด่นๆ คือ ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora), ปะการัง
โขด (Porites), ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia) ปะการังลูกฟูก (Pachyseris) ,ปะการังกาแล็กซี่
(Galaxea) ,ปะการังลายดอกไม้ (Pavona) และปะการังช่องเหลี่ยม (Favites) ในส่วนของการสารวจ
ปลาพบทั้งหมด 22 ชนิด ซึ่งเป็นปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว
(Neopomacentrus anabatoides) ปลาสลิดเทาหางเหลือง (Neopomacentrus bankieri) และ
ปลาสลิดหินหางพัด (Abudefduf bengalensis) ซึ่งเป็นดัชนีบ่งบอกความสมบูรณ์อีกตัวหนึ่งบริเวณ
แนวปะการังนั้น
1. อุปกรณ์ดาน้า
2. เครื่องมือจับพิกัด (GPS)
3. เส้นเทป
4. กล้องถ่ายภาพใต้น้า
5. กรอบสี่เหลี่ยม (Quadrat)
6. คอมพิวเตอร์
สรุปผลการสารวจ
เอกสารอ้างอิง
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหงมหาวิทยาลัยรามคาแหง

More Related Content

What's hot

ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการังUNDP
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อPinNii Natthaya
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติyah2527
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 

What's hot (12)

ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
For
ForFor
For
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Kamonrat5 3 16
Kamonrat5 3 16Kamonrat5 3 16
Kamonrat5 3 16
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 

Viewers also liked

7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษาPinNii Natthaya
 
5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการPinNii Natthaya
 

Viewers also liked (6)

7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
ปกหน้า
ปกหน้าปกหน้า
ปกหน้า
 
6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา6.2ผลการศึกษา
6.2ผลการศึกษา
 
6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา6.ผลการศึกษา
6.ผลการศึกษา
 
5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ
 
Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015
 

Similar to ศูนย์ชุมพร

ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptxอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptxssuserda793f
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 

Similar to ศูนย์ชุมพร (20)

ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Coral lec02
Coral lec02Coral lec02
Coral lec02
 
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptxอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเกาะ.pptx
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
032147
032147032147
032147
 
032147 2
032147 2032147 2
032147 2
 
032147
032147032147
032147
 
3
33
3
 

More from Jaae Watcharapirak

More from Jaae Watcharapirak (10)

Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
โปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทองโปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทอง
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
 
Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015
 
1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 

ศูนย์ชุมพร

  • 1. สถานภาพแนวปะการังบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสุราษฏร์ธานี บทคัดย่อ การสารวจแนวปะการังบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ จังหวัดสุราษฏร์ธานี เพื่อรวบรวมข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ และประเมินสถานภาพแนวปะการังด้วยวิธี Photo Belt Transect บริเวณ 4 สถานีศึกษา พบ ปะการังมีชีวิตมากที่สุด บริเวณเกาะวังนอก คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมาได้แก่ เกาะกะเต็น เกาะ ราบ และเกาะวังใน คิดเป็นร้อยละ 54 52 และ 38 ตามลาดับ ปะการังชนิดเด่นที่พบได้แก่ ปะการังโขด (Porites spp.) ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia spp.) ปะการังลายดอกไม้ (Pavona spp.) ปะการังลูกฟูก (Pachyseris spp.) ปะการังกาแล็กซี่ (Galaxea spp.) และ ปะการังช่องเหลี่ยม (Favites spp.) สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่ชนิดเด่น ได้แก่ เม่นดาหนามยาว (Diadema setosum) หอยเจาะปะการัง (Beguina semiorbiculata) หอยเม็ดขนุน (Arca ventricosa) หนอนท่อ (Sabellastarte sp.) และดอกไม้ทะเล (Heteractis magnifica) ปลาใน แนวปะการังชนิดเด่น ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว (Neopomacentrus anabatoides) ปลา สลิดเทาหางเหลือง (Neopomacentrus bankieri) ปลาสลิดหินหางพัด (Abudefduf bengalensis) ส่วนปลาเศรษฐกิจที่พบ ได้แก่ ปลากะรังบั้ง (Cephalopholis boenak) ปลากะรัง ลายเสือครีบยาว (Epinephelus quoyanus) ปลาสร้อยนกเขาหางเยียด (Diagramma pictum) นอกจากนี้ยังพบปลาผีเสื้อแปดขีด (Chaetodon octofasciatus) ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์ ของแนวปะการังบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้อีกด้วย สถานภาพแนวปะการังบริเวณ อุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ จังหวัดสุราษฏร์ธานี Status of Coral Reefs at Hat Khanom – Mu Ko Thale Tai National Park, Nakhon Si Thammarat Province and Surat Thani Province สถานีศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสารวจความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ใกล้เคียงกับ อุทยานแห่งชาติที่เป็นเป้าหมายเพื่อกาหนดระบบนิเวศที่มีศักยภาพในการทาหน้าที่เป็นแนว เชื่อมต่อทางทะเล 2. เพื่อจัดทาฐานข้อมูล ประเมินและติดตามสถานภาพของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดย ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3. เพื่อเสนอแนวทางการจัดการพื้นที่บริเวณแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ ระหว่างอุทยานแห่งชาติ โดยเน้นกระบวนการมีส่วนจากผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน 4. เพื่อวางระบบการติดตามตรวจสอบ (Monitoring) ทรัพยากรชีวภาพ ในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ ในระยะยาวอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักประกันความยั่งยืนของความหลากหลายทางชีวภาพทั้ง ในพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและแนวเชื่อมต่อสาคัญ วิธีการดาเนินงาน 1. การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษาข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อกาหนดพื้นที่ เป้าหมายพร้อมทั้งใช้ข้อมูลเบื้องต้นจากการค้นคว้าเอกสารงานวิจัยในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง 2. การสารวจแบบ Photo Belt Transect ทาการสารวจโดยการวางเส้นสารวจยาวประมาณ 20 หรือ 30 เมตร ขนานไปกับแนวชายฝั่ง จานวน 5 transect ในแต่ละสถานี ก่อนเริ่มถ่ายภาพจะต้องทา การทาเครื่องหมายจุดเริ่มต้น พร้อมถ่ายภาพบันทึกไว้เป็นภาพแรกก่อนการสารวจ จากนั้นเริ่มบันทึกด้วย กล้องบันทึกกล้องใต้น้าทุก Transect Line โดยบันทึกภาพให้มีระยะห่างระหว่างกล้องกับพื้นประมาณ 30 เซนติเมตร โดยใช้มุมมองภาพกว้างที่สุดเพื่อครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดถ่ายภาพด้านข้างสายวัดใน แนวตั้งฉากโดยไม่ให้สายวัดปรากฏในภาพ และทาการบันทึกภาพทุกๆ 50 เซนติเมตร จนครบทั้งเส้น สารวจ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. 2557. คู่มือการจาแนกชนิดสัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลใน ประเทศไทย.โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. 96 หน้า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ๒๕๕๓. คู่มืออุทยานแห่งชาติลาดับที่ 13 : การจัดการ สารวจ ติดตามทรัพยากรทางบกและทางทะเล . พิมพ์ครั้งที่ 1. 105 หน้า . กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2553. อุทยาแห่งชาติทางภาคใต้. 293 หน้า. ส่วนอุทยานแห่งชาติทางทะเล. 2543. การสารวจหญ้าทะเล คู่มืออุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 3.สานักอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้. 46 หน้า ผลการศึกษา ผลจากการศึกษาทั้ง 4 สถานี พบปะการังเด่นๆ คือ ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora), ปะการังโขด (Porites), ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia) ปะการังลูกฟูก (Pachyseris) ,ปะการังกา แล็กซี่ (Galaxea) ,ปะการังลายดอกไม้ (Pavona) และปะการังช่องเหลี่ยม (Favites) และการสารวจ ปลาพบทั้งหมด 22 ชนิด ซึ่งเป็นปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว (Neopomacentrus anabatoides) ปลาสลิดเทาหางเหลือง (Neopomacentrus bankieri) และปลา สลิดหินหางพัด (Abudefduf bengalensis) ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแนวปะการังในบริเวณดังกล่าว ปะการังโขด (Porites) ปะการังลายดอกไม้ (Pavona) ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia) ปลาสลิดหินบั้งหางกรรไกร (Abudefduf sexfasciatus) ปลาผีเสื้อแปดขีด (Chaetodon octofasciatus) ปลาสลิดหินหางพัด (Abudefduf bengalensis) 3. การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม Coral Point Count with Excel extensions (CPCe) เป็น โปรแกรมสาหรับการวิเคราะห์สัดส่วนเปอร์เซ็นต์การปกคลุมพื้นที่ของพืช การประมาณค่าประชากรสัตว์ หรือการคานวณเปอร์เซ็นต์ปกคลุมของสิ่งมีชีวิตบนพื้นทะเล ปะการัง ซึ่งโปรแกรมสามารถที่จะทาการ วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ปกคลุมได้ทั้งในเชิงพื้นที่ (area) และการวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ปกคลุมโดยวิธีการสุ่ม จุด (point) ได้ทั้งการสุ่มแบบกาหนดจุดแน่นอน (fixed point) หรือการสุ่มจุดแบบสุ่ม (random point) รวมถึงการเพิ่มหรือลดจานวนจุดได้หลากหลาย นอกจากนี้เมื่อทาการจาแนกชนิดเชิงพื้นที่ หรือการ จาแนกชนิดโดยการสุ่มจุดเสร็จสิ้นแล้ว โปรแกรมสามารถที่จะคานวณเปอร์เซ็นต์ปกคลุมของสิ่งมีชีวิตได้ โดยอัตโนมัติ ชัยณรงค์ เรืองทอง1 , ธรรมศักดิ์ ยีมิน 2, ทรงธรรม สุขสว่าง3 ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จ.ชุมพร1 , คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง2, สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง3 คานา อุทยานแห่งชาติหาดขนอม - หมู่เกาะทะเลใต้ จัดเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มี ความอุดมสมบูรณ์ และเป็นบริเวณหนึ่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เช่น พืชบก พืชทะเล สัตว์ต่างๆ และมีสิ่งมีชีวิตนานาพันธุ์รวมอยู่ในระบบนิเวศประเภทต่างๆ มากมาย เช่น หาดทราย หาดหิน ป่าชายเลน และปะการัง ซึ่งระบบนิเวศเหล่านี้จัดเป็นบริเวณที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะสัตว์น้า ในแง่ของการเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย และเป็นแหล่งหาอาหาร ปัจจุบัน อุทยานแห่งชาติหาดขนอม - หมู่เกาะทะเลใต้ มีการเข้ามาใช้ประโยชน์และทากิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ อย่างมากมายทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ ดาน้าชม ปะการัง อีกทั้งยังเป็นแหล่งทาการประมงที่สาคัญ โดยเฉพาะความหลากหลายทางชีวภาพของ ระบบนิเวศทางทะเลของสัตว์ทะเลขนาดใหญ่ในบริเวณนั้น รวมถึงความชุกชุมของสัตว์น้าบริเวณ แนวปะการัง จึงเป็นดรรชนีเบื้องต้นที่สามารถบ่งบอกถึงทิศทางระบบเศรษฐกิจการท่องเที่ยว สังคมและนิเวศวิทยาในบริเวณพื้นที่นี้ได้ อุปกรณ์ จากการสารวจปะการังในบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้ ซึ่งมีการสารวจ 4 สถานีคือ เกาะวังนอก เกาะกะเต็น เกาะราบ และเกาะวังใน ซึ่งเป็นปะการังมีชีวิตที่มีความสมบูรณ์ ตามลาดับ ดังนี้ 68, 54, 51 และ38 ซึ่งมีความหลากหลายในบริเวณแนวปะการังและพบปะการังที่มี ความสมบูรณ์ในบริเวณแนวปะการัง พบปะการังเด่นๆ คือ ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora), ปะการัง โขด (Porites), ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia) ปะการังลูกฟูก (Pachyseris) ,ปะการังกาแล็กซี่ (Galaxea) ,ปะการังลายดอกไม้ (Pavona) และปะการังช่องเหลี่ยม (Favites) ในส่วนของการสารวจ ปลาพบทั้งหมด 22 ชนิด ซึ่งเป็นปลาชนิดเด่นที่พบ ได้แก่ ปลาสลิดหินเล็กเกล็ดวาว (Neopomacentrus anabatoides) ปลาสลิดเทาหางเหลือง (Neopomacentrus bankieri) และ ปลาสลิดหินหางพัด (Abudefduf bengalensis) ซึ่งเป็นดัชนีบ่งบอกความสมบูรณ์อีกตัวหนึ่งบริเวณ แนวปะการังนั้น 1. อุปกรณ์ดาน้า 2. เครื่องมือจับพิกัด (GPS) 3. เส้นเทป 4. กล้องถ่ายภาพใต้น้า 5. กรอบสี่เหลี่ยม (Quadrat) 6. คอมพิวเตอร์ สรุปผลการสารวจ เอกสารอ้างอิง ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหงมหาวิทยาลัยรามคาแหง