SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
สรุปพื้นที่โครงการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
มิติของการศึกษา
ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
ด้านเศรษฐสังคม
การดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การผนวกพื้นที่เป็นพื้นที่
อนุรักษ์ การจัดตั้งกองทุนเพื่อตอบแทนคุณระบบนิเวศ
ดาเนินการศึกษาตั้งแต่ปี 2554 – 2558
รวมสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ 17 แนว
11 กลุ่มป่า
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศทางบก 13 แนว
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศทางทะเล 4 แนว
สารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม 5 แนว
(ในแนวเดิมที่เคยศึกษาความหลากหลาย)
รวมทาการศึกษา 19 โครงการ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ปี 2554 ดำเนินกำร 1 แนว
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่างอุทยาน
แห่งชาติแก่งกระจานและอุทยานแห่งชาติ
กุยบุรี ในกลุ่มป่าแก่งกระจาน มีพื้นที่รวม
131,292 ตร.กม. อยู่ในความรับผิดชอบ
ของ 3 หน่วยงาน คือ กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กองทัพบก และกรม
ป่าไม้
ข้อมูลนาไปประกอบการผนวกพื้นที่
เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ
และพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี
ปี 2555 ดำเนินกำร 3 แนว
แนวเชื่อมต่อทางระบบนิเวศ
ระหว่างอุทยานแห่งชาติน้าหนาวกับเขต
รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูผาแดง ในกลุ่มป่า
ภูเขียว–น้าหนาว
เป็นการศึกษาพื้นที่ที่ได้รับ
ผลกระทบจากทางหลวงหมายเลข 12 ตัด
ผ่านกลางพื้นที่อุทยานแห่งชาติน้าหนาว
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูผาแดง ทาให้
ผืนป่าถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่งผล
กระทบต่อการเคลื่อนย้ายของสัตว์ป่า
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศของ
เทือกเขาและฝั่งทะเลอันดามันระหว่าง
อุทยานแห่งชาติศรีพังงาและเขตห้ามล่า
สัตว์ป่าเกาะระ-เกาะพระทอง ในกลุ่มป่า
คลองแสง-เขาสก ทาการศึกษาตั้งแต่
เทือกเขาสูงใน อช.ศรีพังงา ถึง เกาะใกล้
ฝั่งและชายฝั่งทะเลใน ขลป. เกาะระ-
เกาะพระทอง พื้นที่รวม 16.99 ตร.กม.
ยาว 17 กม. กว้างเฉลี่ย 0.506 กม.
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลอง
นาคาและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าคลอง
ม่วงกลวง ในกลุ่มป่าคลองแสง-เขา
สก
เป็นการศึกษาจากภูมิ
ประเทศที่เป็นเทือกเขาสูงชันจนถึง
ระบบนิเวศป่าชายเลน โดยมีถนน
เพชรเกษมตัดผ่านกลาง
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ปี 2556 ดำเนินกำร 4 แนว
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
เขาอ่างฤาไนและอุทยานแห่งชาติเขา
ชะเมา-เขาวง ในกลุ่มป่าตะวันออก
ทาการศึกษาในพื้นที่
ช่องว่างระหว่างพื้นที่อนุรักษ์ทั้งสอง
แต่เป็นพื้นที่ที่เกิดปัญหาการข้ามผ่าน
ไปมาของสัตว์ป่าและปัญหาความ
ขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่า
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ
และพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศทาง
ทะเลระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลารู่
อุทยานแห่งชาติสิรินาถ และอุทยาน
แห่งชาติ เขาลาปี-หาดท้ายเหมือง ในกลุ่ม
ป่าอันดามัน
ทาการศึกษาทรัพยากรทาง
ทะเลตามแนวยาวของชายฝั่งอันดามัน
ระหว่าง อช. สิรินาถ อช. เขาลาปี-หาดท้าย
เหมือง และ อช. เขาหลัก-ลารู่ รวม 9
สถานี
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่าง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่กับเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่และระหว่างอุทยาน
แห่งชาติตาพระยากับอุทยานแห่งชาติตา
พระยา ในกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
ทาการศึกษา เนื่องจากทาง
หลวงหมายเลข 348 จะขยายเป็น 4 เลน
ทางหลวงเส้นนี้ ช่วงหนึ่งตัดผ่าน
ขสป. ดงใหญ่ และอีกช่วงหนึ่งตัดผ่าน
อช.ตาพระยา
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่าง
อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง อุทยาน
แห่งชาติเขาค้อ และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัง
โป่ง - ชนแดน ในกลุ่มป่าภูเมี่ยง-ภูทอง
เนื่องจากพื้นที่ว่างดังกล่าว ไม่มี
เจ้าของตามกฎหมาย และสภาพป่ามี
ความอุดมสมบูรณ์ จึงทากรสารวจ เพื่อนา
ข้อมูลไปใช้ประกอบในการผนวกพื้นที่เป็น
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าวังโป่ง - ชนแดน
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
ปี 2557 ดำเนินกำร 5 แนว
แนวเชื่อมต่อทางระบบ
นิเวศระหว่างอุทยานแห่งชาติ
เขาคิชฌกูฎกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
เขาสอยดาว
เพื่อใช้เป็นข้อมูลผนวกพื้นที่
เป็นอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ
สาหรับเสริมประสิทธิภาพในการ
ป้ องกัน รวมทั้งบริเวณนี้เป็นเส้นทาง
หากินของช้างป่า
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่าง
อุทยานแห่งชาติน้าตกหงาวกับเขต
รักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งระยะ- นาสัก
เนื่องจากพื้นที่อนุรักษ์ทั้งสอง มี
ทางหลวงชนบท หมายเลข 5011
ขนาด 2 เลน ตัดผ่าน แบ่งแยกระบบ
นิเวศออกจากัน ข้อมูลที่ได้ เป็นการ
เตรียมความพร้อม หากจะมีการ
ขยายถนนเป็น 4 เลน
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ทุ่งระยะ - นาสัก
น้าตกหงาว
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ระหว่างอุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า
กับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสนาม
เพรียง
ข้อมูลที่ได้ นาไปประกอบการ
ประกาศผนวกพื้นที่ส่วนที่ใกล้พื้นที่
อนุรักษ์ใด เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่
อนุรักษ์นั้น
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศทาง
ทะเลระหว่างอุทยานแห่งชาติหมู่
เกาะอ่างทองและอุทยานแห่งชาติ
หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
ข้อมูลฐานทรัพยากรที่ได้ เพื่อใช้
ในการจัดการพื้นที่ต่อไป
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศทาง
ทะเลระหว่างอุทยานแห่งชาติหาดเจ้า
ไ ห มแ ละ เข ตห้ าม ล่า สัต ว์ ป่ า
หมู่เกาะลิบง
key species หลักในการ
สารวจ คือ พะยูน ซึ่งเป็นสัตว์ที่
เคลื่อนผ่านระบบนิเวศและใช้
ทรัพยากรธรรมชาติบริเวณนี้ในการ
ดารงชีวิต
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร
การศึกษาลักษณะเศรษฐสังคม
ในแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในพื้นที่
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ซึ่งมี
ถนนตัดผ่านแยกพื้นที่เป็น 2 ส่วน
เป็นการดาเนินการในระยะที่ 2
ในพื้นที่ที่เคยทาการสารวจความ
หลากหลายทางชีวภาพแล้ว เพื่อ
สอบถามความคิดเห็นและการ
ยอมรับของชุมชนในแนวเชื่อมต่อ
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
ปี 2558 ดำเนินกำร 6 แนว
การศึกษาเศรษฐสังคม ในแนวเชื่อมต่อ
ระบบนิเวศทางทะเลระหว่างเขตห้ามล่า
สัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง และอุทยานแห่งชาติ
หาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
เป็นการดาเนินการในระยะที่ 2 ในพื้นที่
ที่เคยทาการสารวจความหลากหลายทาง
ชีวภาพแล้ว เพื่อสอบถามความคิดเห็นและ
การยอมรับของชุมชนในแนวเชื่อมต่อ
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ระหว่างอุทยานแห่งชาติแก่งเจ็ดแคว
กับอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูค้อ -
ภูกระแต และอุทยานแห่งชาติภู
กระดึง
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
การศึกษาเศรษฐสังคม ในแนว
เชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่างอุทยาน
แห่งชาติน้าตกหงาวกับเขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าทุ่งระยะ- นาสัก
เป็นการดาเนินการในระยะที่ 2
ในพื้นที่ที่เคยทาการสารวจความ
หลากหลายทางชีวภาพแล้ว เพื่อ
สอบถามความคิดเห็นและการ
ยอมรับของชุมชนในแนวเชื่อมต่อ
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศทางทะเล
ฝั่งอันดามันตอนเหนือ ระหว่าง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะระนองและ
อุทยานแห่งชาติแหลมสน
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในพื้นที่
อุทยานแห่งชาติกุยบุรี
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและ
พื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี
Contact : ฝ่ายวิจัยฯ hnukool@hotmail.com
www.dnpii.org

More Related Content

What's hot

กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 

What's hot (10)

กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 

Viewers also liked

InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
EVS - Biodiversity Notes
EVS - Biodiversity NotesEVS - Biodiversity Notes
EVS - Biodiversity NotesArzoo Sahni
 
Biodiversity powerpoint
Biodiversity  powerpointBiodiversity  powerpoint
Biodiversity powerpointdarrylw
 

Viewers also liked (20)

InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
Carbon Credits
Carbon CreditsCarbon Credits
Carbon Credits
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
EVS - Biodiversity Notes
EVS - Biodiversity NotesEVS - Biodiversity Notes
EVS - Biodiversity Notes
 
Biodiversity powerpoint
Biodiversity  powerpointBiodiversity  powerpoint
Biodiversity powerpoint
 

More from Auraphin Phetraksa

สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (14)

สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ