SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริง
ตามหลักกาลามสูตร
อังคุตตรนิกาย เอก
๖๖/๒๕๔-๒๖๓
ดร. ชนะยุทธ
เกตุอยู่
ธรรมคุณ ๖ความจริงเชิงประจักษ์
• 1. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม (พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
ดีแล้ว คือ ตรัสไว้เป็ นความจริงแท้ อีกทั้งงามในเบื้องต้น งามใน
ท่ามกลาง งามในที่สุด พร้อมทั้งอรรถพร้อมทั้งพยัญชนะ ประกาศ
หลักการครองชีวิตอันประเสริฐ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง — Well
proclaimed is the Dhamma by the Blessed One)
2. สนฺทิฏฺฐิโก (อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง คือ ผู้ใด
ปฏิบัติ ผู้ใดบรรลุ ผู้นั้นย่อมเห็นประจักษ์ด้วยตนเองไม่ต้องเชื่อตาม
คาของผู้อื่น ผู้ใดไม่ปฏิบัติ ไม่บรรลุ ผู้อื่นจะบอกก็เห็นไม่ได้ — to
be seen for oneself)
3. อกาลิโก (ไม่ประกอบด้วยกาล คือ ไม่ขึ้นกับกาลเวลา พร้อม
เมื่อใด บรรลุได้ทันที บรรลุเมื่อใด เห็นผลได้ทันที อีกอย่างว่า เป็ นจริง
อยู่อย่างไร ก็เป็ นอย่างนั้น ไม่จากัดด้วยกาล — not delayed;
timeless)
4. เอหิปสฺสิโก (ควรเรียกให้มาดู คือ เชิญชวนให้มาชม และ
พิสูจน์ หรือท้าทายต่อการตรวจสอบ เพราะเป็ นของจริงและดีจริง
— inviting to come and see; inviting inspection)
5. โอปนยิโก (ควรน้อมเข้ามา คือ ควรเข้ามาไว้ในใจ หรือน้อม
ใจเข้าไปให้ถึง ด้วยการปฏิบัติให้เกิดมีขึ้นในใจ หรือให้ใจบรรลุถึง
อย่างนั้น หมายความว่า เชิญชวนให้ทดลองปฏิบัติดู อีกอย่างหนึ่ง
ว่าเป็ นสิ่งที่นาผู้ปฏิบัติให้เข้าไปถึงที่หมายคือนิพพาน — worthy
of inducing in and by one’s own mind; worthy of realizing; to
เกณฑ์การตัดสินพระวินัย ๘ ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์
ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8 หรือ หลักกาหนดธรรมวินัย 8 (criteria of
the Doctrine and the Discipline)
ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อ
1. วิราคะ คือ ความคลายกาหนัด, ความไม่ติดพัน เป็ นอิสระ
(detachment; dispassionateness) มิใช่เพื่อความกาหนัดย้อมใจ, การ
เสริมความติด
2. วิสังโยค คือ ความหมดเครื่องผูกรัด, ความไม่ประกอบทุกข์
(release from bondage) มิใช่เพื่อผูกรัด หรือประกอบทุกข์
3. อปจยะ คือ ความไม่พอกพูนกิเลส (dispersion of defilements)
มิใช่เพื่อพอกพูนกิเลส
4. อัปปิ จฉตา คือ ความอยากอันน้อย, ความมักน้อย (wanting
little) มิใช่เพื่อความอยากอันใหญ่, ความมักใหญ่ หรือมักมากอยากใหญ่
5. สันตุฏฐี คือ ความสันโดษ (contentment) มิใช่เพื่อความไม่
สันโดษ
6. ปวิเวก คือ ความสงัด (seclusion; solitude) มิใช่เพื่อความคลุก
ปฐมพจน์
กาลามสูตร พระสูตรนี้ได้แสดงให้เห็นความเป็ นนักเสรี
ประชาธิปไตยของพระพุทธเจ้า เพราะพระองค์ทรงสอนให้คนใช้
ความคิดด้วยเหตุผลโดยรอบคอบเสียก่อนแล้วจึงค่อยเชื่อ
พระพุทธเจ้าทรงสอนว่าจงอย่าได้เชื่อโดยการอ้างตารา หรือเพราะ
ครูอาจารย์สอนไว้อย่างนั้น หรือเพราะคาพูดนั้นตรงกับความเห็น
ของเรา หรือเพราะผู้นั้นเป็นบุคคลที่ควรเชื่อ หรือโดยการคาดคะเน
หรือ นึกเดาเอาหรือโดยการใช้เหตุผลตามหลักตรรกศาสตร์
พระองค์ทรงสอนว่าการกระทาใด ๆ ถ้าจะไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ใน
ภายหลัง นักปราชญ์ไม่ติเตียน ไม่เป็ นไปเพื่อเบียดเบียนตนและ
ผู้อื่นแล้ว พึงทาเถิดแต่ถ้าตรงกันข้ามกันก็อย่าทาเลย
วิทยาศาสตร์เชิงพุทธในกาลามสูตร
กาลามสูตร : เป็ นพระสูตรสาคัญสูตรหนึ่งในพระพุทธศาสนา ได้รับความสนใจมาก
เป็ นพิเศษ จากนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร ์ในยุคปัจจุบัน แท้ที่จริง ในพระไตรปิ ฎก
ชื่อกาลามสูตรไม่ได้มีปรากฏอยู่ หากมีแต่ชื่อว่า เกสปุตตสูตร ทั้งนี้ก็
เพราะว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระสูตรนี้แก่ชาวกาลามะ ซึ่งอยู่ใน เกสปุตต
นิคม เพราะฉะนั้น จึงตั้งชื่อพระสูตรนี้ตามชื่อของนิคมนี้ว่า เกสปุตตสูตร แต่คนที่อยู่ใน
นิคมหรือ ตาบลนี้เป็ นเชื้อสาย หรือมีสกุลเดียวกัน คือ สกุลกาลามะ เขาจึงเรียก
ประชาชนเหล่านี้ว่ากาลามชน ซึ่งมีโคตรอันเดียวกัน สกุลเดียวกัน คือ กาลาม
โคตร เพราะฉะนั้นเขาจึงเรียกพระสูตรนี้ว่า เกสปุตตสูตร แต่ชาวโลกทั่วไป มักจะเรียก
พระสูตรนี้ว่า กาลามสูตร เพราะรู ้สึกว่าจะเรียกได้ง่ายกว่า
พระสูตรนี้เป็ นพระสูตรที่ไม่ยาว แต่มีใจความลึกซึ้งน่าคิดประกอบด้วยหตุผล ซึ่งผู้นับ
ถือ พระพุทธศาสนา หรือผู้ศึกษาพระพุทธศาสนาควรจะได้ศึกษาเป็ นอย่างยิ่ง เพราะ
เป็ นการใช้เหตุผลตามหลัก วิทยาศาสตร ์สอดคล้องกับ กฎทางวิทยาศาสตร ์
พระสูตรนี้มีความเป็ นมาโดยย่อว่า ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปยังเกสปุตตนิคม
อันเป็ นที่อยู่ของพวกชาวกาลามโคตรหรือกาลามชน ชาวกาลามชนในเกสปุตตนิคม
ทราบข่าวมาก่อนแล้วว่า พระพุทธเจ้ามีชื่อเสียงโด่งดังอย่างไรก่อนที่พระองค์จะได้เสด็จ
มายังหมู่บ้านของพวกเขา จึงต่างก็พากันไปเฝ
้ าเป็ น จานวนมาก เพราะชื่อเสียงของ
พระพุทธเจ้าดังก้องไปว่า "อิติปิ โส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทธโธ" เป็ นต้น ดังที่เราสวด
สรรเสริญกันในบทสวดมนต์ซึ่งปรากฏมากในพระสูตรต่าง ๆ ว่า...
พุทธวจนะ แห่งข้อเท็จจริง
พระพุทธเจ้าแทนที่จะตรัสเหมือนกับ
สมณพราหมณ์เหล่าอื่นที่เคยพู ด
มาแล้ว พระองค์ไม่ได้ทรงสรรเสริญคา
สอนของพระองค์ และก็ไม่ทรงติเตียน
คาสอนศาสนาของผู้อื่น แต่พระองค์
กลับตรัสอีกแบบหนึ่ง การพูดแบบนี้
เป็ นลักษณะของวิทยาศาสตร ์ปัจจุบัน
คือพระองค์ได้กล่าวถึงสิ่งที่ไม่ควรเชื่อ
หลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่งข้อเท็จจริง
มา อนุสฺสวเนน อย่าเพิ่งเชื่อโดยฟังตามกันมา
มา ปรมฺปราย อย่าเพิ่งเชื่อโดยถือว่าเป็ นของเก่าเล่า
สืบๆ กันมา
มา อิติกิราย อย่าเพิ่งเชื่อเพราะข่าวเล่าลือ
มา ปิ ฏกสมฺปทาเนน อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างคัมภีร ์หรือตารา
มา ตกฺกเหตุ อย่าเพิ่งเชื่อโดยคิดเดาเอาเอง
มา นยเหตุ อย่าเพิ่งเชื่อโดยคิดคาดคะเนอนุมาน
เอา
มา อาการปริวิตกฺเกน อย่าเพิ่งเชื่อโดยตรึกเอาตามอาการ
ที่ปรากฏ
มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา อย่าเพิ่งเชื่อเพราะเห็นว่าต้องกับ
ความเห็นของตน
่ ่ ่
ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง
ข้อเท็จจริง
ข้อความประเภทนี้ตรงกับกฎทางวิทยาศาสตร ์เพราะนักวิทยาศาสตร ์จะไม่
เชื่อถ้าเขายังไม่ได้ ทดสอบหรือพิจารณาเหตุผลให้ปรากฏก่อน และข้อความ
เช่นนี้ไปตรงกันได้อย่างไรในข้อที่ไม่ให้เชื่อเพราะเหตุเหล่านี้ ถ้าเช่นนั้นแล้ว
เราควรจะเชื่อแบบใดเมื่อปฏิเสธไปหมดเลยทั้ง ๑๐ ข้อ และเราควรจะเชื่ออะไร
ได้บ้าง
พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาของเหตุและผล ไม่โจมตีศาสนาไม่โจมตีผู้ใด ชี้
แต่เหตุและผลที่ยกขึ้นมาอธิบายเท่านั้น
พระพุทธวจนะทั้ง ๑๐ ประการข้างต้นนั้น ท่านทั้งหลายฟังดูแล้วอาจคิดว่า ถ้า
ใครถือตามแบบนี้ทั้งหมดก็มองดูว่า น่าจะเป็ นมิจฉาทิฎฐิ คือ ไม่เชื่ออะไรเลย
แม้แต่ครูของตนเอง แม้แต่พระไตรปิ ฎกก็ไม่ให้เชื่อ พิจารณาดูแล้ว น่าจะเป็ น
มิจฉาทิฎฐิ แต่ก็ไม่ใช่
คาว่า "มา" อันเป็ นคาบาลีในพระสูตรนี้ เป็ นการปฏิเสธมีความหมาย
เท่ากับ "No" หรือนะคืออย่า แต่โบราณาจารย์กล่าวว่า ถ้าแปลว่า อย่า
เชื่อ เป็ นการแปลที่ค่อนข้างจะแข็งไปควรแปลว่า "อย่าเพิ่งเชื่อ" คือให้ ฟังไว้
ก่อน สานวนนี้ ได้แก่สานวนแปลของสมเด็จพระพุทธโฆสาจารย์(เจริญ) วัด
เทพศิรินทราวาส นักปราชญ์รูปหนึ่งในยุครัตนโกสินทร ์แต่บางอาจารย์ให้
แปลว่า "อย่าเพิ่งปลงในเชื่อ" แต่บางท่านแปลตามศัพท์ว่า "อย่าเชื่อ" ดังนั้น
การแปลในปัจจุบันนี้จึงมีอยู่ ๓ แบบคือ
๑. อย่าเชื่อ ๒. อย่าเพิ่งเชื่อ ๓. อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ การแปลว่า "อย่าเชื่อ" นั้น
ข้อสังเกตทางพุทธวจนะที่ตรัสแก่ชาวกาลามะดยย
หลักสามัคคีธรรม (พรหมวิหารธรรม)
ท่านทั้งหลายจงพิจารณาข้อความนี้ดูว่า ในกาลามสูตรนี้ถ้าหากคณาจารย์อื่น ๆ มา
พบชาวกาละมะเข้า อาจจะพูดเหมือนบรรดาอาจารย์อื่น ๆ ที่เคยผ่านมา คือ พูด ติ
เตียนศาสนาอื่นแล้วยกย่องศาสนาของตนเอง แต่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงกระทาเช่นนั้น
คือ ไม่โจมตีศาสนาอื่นเลย แม้แต่สักคาเดียว พระองค์เพียงแต่บอกว่าอย่าเพิ่งเชื่อถ้า
ใครพูดชักนามา ทรงเตือนว่าอย่าเพิ่งเชื่อและให้พิจารณาด้วยตนเองเท่านั้น เมื่อได้
พิจารณาด้วยตนเองแล้วเห็นว่าเป็ นกุศล ก็ให้ทาตาม แต่ถ้าเป็ นอกุศลก็ให้ละเสีย ใน
ที่สุด พระพุทธเจ้าก็ตรัสว่า ถ้าเราทาดีโดยการมีเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขาแล้ว
เราจะมี ความอุ่นใจถึง ๔ อย่าง ซึ่งคนทาชั่วนั้นจะไม่มีความอุ่นใจดังกล่าวเลย การ
พิจารณาอย่างนี้เป็ นข้อความสาคัญในกาลามสูตร แท้ที่จริง ยังมีข้อความอื่นอีกในพระ
สูตรนี้ แต่เป็ นข้อปลีกย่อย จึงไม่ได้นามากล่าวไว้ในที่นี้ในปัจจุบันนี้นักวิทยาศาสตร ์นัก
คิดชาวตะวันตก ได้สรรเสริญพระพุทธศาสนาในแง่ของการมีเหตุผลไว้มาก เพราะเป็ น
คาสอนอันมีเหตุผลและสอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร ์ของพระพุทธศาสนา
ดังนั้น กาลามสูตรจึงเป็ นพระสูตรที่ให้อิสระในด้านความคิด แต่ไม่ได้หมายความว่า
ไม่ให้เราเชื่อ แต่ให้พิจารณาให้ดีเสียก่อน แล้วจึงค่อยเชื่อ อย่าเชื่อโดยฟังตามกันมา
แม้แต่พระคัมภีร ์ก็อย่าเพิ่งเชื่อ ให้พิจารณา ดูเสียก่อน ถ้าทาได้อย่างนี้ ถือว่าสมกับการ
เป็ นชาวพุทธ ไม่เชื่ออะไรอย่างไร้เหตุผล โดยไม่พิจารณาว่าควรเชื่อหรือไม่เพียงไรเรา
จึงควรภูมิใจที่เราได้นับถือพระพุทธศาสนา อันเป็ นศาสนาที่มีเหตุผลสอดคล้องกับ
่ ่ ่
ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง
ข้อเท็จจริง
สาหรับกาลามสูตร หรือ เกสปุตตสูตร
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมกับชาวกาลา
ม ะ ที่ว่ า มีส ม ณ พ ร า ห ม ณ์ม า แ ส ด ง
ความเห็นต่างๆและก็กล่าวว่า ความเห็น
ข อ ง ผู้นี้ไ ม่ จ ริง ข อ ง เ ร า จ ริง ส ม ณ
พราหมณ์ต่างๆก็มาแสดงความเห็น
มากมาย ชาวกาลามะก็เลยสงสัยมากราบ
ทูลพระพุทธเจ้าในเรื่องนี้ ว่าข้าพระองค์
ส ง สัย ว่ า ใ ค ร พู ด จ ริง ใ ค ร พู ด เ ท็ จ
ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง
ข้อเท็จจริง
แต่ตอนท้ายพระองค์ก็แสดงว่า แต่เมื่อใดที่ท่าน
ทั้งหลายรู ้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมนี้มีโทษ เป็ น
อกุศล ผู้ที่เสพคุ้นหรือเจริญอกุศลย่อมมีโทษ และ
ท่านก็ควรละธรรมเหล่านั้น จากข้อความนี้แสดงให้
เห็นครับว่า พระองค์ให้ชาวกาลามะ รวมทั้งพวก
เราได้พิจารณาด้วยปัญญาของตนเอง ไม่ใช่เชื่อ
เลยเมื่อได้ยินมาหรือจากเหตุอื่นก็ไม่ควรเชื่อเลย
ทีเดียว แต่พิจารณาด้วยปัญญา โดยการรู ้ด้วย
ตนเองนั่นแหละครับ จึงรู ้ความจริงว่าสิ่งใดดี สิ่งใดไม่
ดี เมื่อเกิดปัญญา พิจารณารู ้ได้ด้วยตนเองแล้ว จึง
ไ ม่ เ ชื่อใ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ถู ก ต้อ ง แ ล ะ เ ชื่อใ น สิ่ ง ที่
ถูกต้อง เพราะพิจารณาด้วยปัญญาของตนแล้ว
ครับ ดังนั้นพระองค์จึงสื่อความหมายให้พุทธบริษัท
พิจารณาในสิ่งต่างๆ ไม่ใช่เชื่อทันที คือพิจารณา
ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง
ความคิย
สาหรับข้อที่ 7 อย่าปลงใจเชื่อด้วยการคิดตรอง
ตามแนวเหตุผล เพราะเหตุว่า ทางหลัก
วิทยาศาสตร ์ หรือทั่วๆไป ก็มีเหตุผล ตาม
หลักการของเขา แต่ไม่ได้หมายความสิ่งนั้นต้อง
จ ริง ที่เ ป็ น ก า ร คิดโ ด ย ต ร ร ก ะ ห รือ โ ด ย
เหตุผล หรือ แม้หลักเหตุผล ง่ายๆที่ว่า สิ่งใดไม่
เที่ยง สิ่งนั้นเป็ นทุกข์ สิ่งนั้นเป็ นอนัตตาแต่ เมื่อ
เอาหลัก ตรรกะ การคิดแบบเหตุผล มาสรุป
ทั้งหมดก็ผิด คือ สิ่งใดเที่ยง สิ่งนั้นเป็ นสุข สิ่งใด
เป็ นสุข สิ่งนั้นเป็ นอัตตา (แต่ความจริงคือ
อนัตตา) นี่คือการคิดแบบเหตุผล ตรรกะ แต่เป็ น
การสรุปที่ผิด เพราะ จริงๆแล้ว (นิพพาน)สิ่งใด
ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง
ข้อเท็จจริง
ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงในเกสปุตตสูตร ว่า
ด้วย ไม่ควรเชื่อโดยอารการ ๑๐ อย่าง มีไม่ควรเชื่อ
โดยการฟังตามกันมาเป็ นต้นนั้น นั้น ก็เพื่อให้ผู้ฟัง
เกิดปัญญา เข้าใจด้วยตนเอง รู ้ได้ด้วยตนเอง ไม่ว่า
จะได้ยินได้ฟั งอะไรมา ก็อย่าพึ่งเชื่อ แต่ควร
พิจารณาไตร่ตรองด้วยเหตุด้วยผล ตรงตามความ
เป็ นจริง ว่าเป็ นจริงอย่างที่ได้ยินได้ฟั งมาหรือไม่
อย่างไร ควรละ หรือ ควรเจริญ เป็ นไปเพื่อมิใช่
ประโยชน์ หรือ เป็ นไปเพื่อประโยชน์ เป็ นต้น ปัญญา
ความเข้าใจถูกเห็นถูกเท่านั้น ที่จะเข้าใจในสิ่งนั้น
ตรงตามความเป็ นจริง ไม่ผิด ไม่คลาดเคลื่อนจาก
ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
พระธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง เพื่อให้ผู้
ศึกษาเกิดปัญญาเป็ นของตัวเอง เข้าใจอย่างถูกต้อง
หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการแห่งข้อเท็จจริง
๑. ปัญญา ๓ สุตต จินต ภาวนา
๒. ภาวนา ๔ กาย ศีล จิต ปัญญา
๓. ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา
๔. ไตรลักษณ์ อนิจจ ทุกข อนัตตา
๕. อริยสัจ ๔ ทุกข์สมุทัย นิโรธ มรรค
๖. อิทธิบาท ๔ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
๗. หัวใจนักปราชญ์สุตต จินต ปุจฉา ลิขิต
๘. พละ ๕ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
๙. โยนิโสมนสิการ
๑๐. สัปปุริสธรรม ๗ เหตุ ผล ตน ประมาณ กาล บุคคล
ชุมชน
ปัจฉิมพจน์
พุทธวจน

More Related Content

What's hot

ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 

What's hot (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 

Similar to เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร

10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 

Similar to เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร (20)

10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 

More from solarcell2

โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร solarcell2
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม solarcell2
 
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...solarcell2
 
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571solarcell2
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561solarcell2
 

More from solarcell2 (6)

โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
 
Sathiti 2560
Sathiti 2560Sathiti 2560
Sathiti 2560
 
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
 

เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร

  • 2. ธรรมคุณ ๖ความจริงเชิงประจักษ์ • 1. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม (พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส ดีแล้ว คือ ตรัสไว้เป็ นความจริงแท้ อีกทั้งงามในเบื้องต้น งามใน ท่ามกลาง งามในที่สุด พร้อมทั้งอรรถพร้อมทั้งพยัญชนะ ประกาศ หลักการครองชีวิตอันประเสริฐ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง — Well proclaimed is the Dhamma by the Blessed One) 2. สนฺทิฏฺฐิโก (อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง คือ ผู้ใด ปฏิบัติ ผู้ใดบรรลุ ผู้นั้นย่อมเห็นประจักษ์ด้วยตนเองไม่ต้องเชื่อตาม คาของผู้อื่น ผู้ใดไม่ปฏิบัติ ไม่บรรลุ ผู้อื่นจะบอกก็เห็นไม่ได้ — to be seen for oneself) 3. อกาลิโก (ไม่ประกอบด้วยกาล คือ ไม่ขึ้นกับกาลเวลา พร้อม เมื่อใด บรรลุได้ทันที บรรลุเมื่อใด เห็นผลได้ทันที อีกอย่างว่า เป็ นจริง อยู่อย่างไร ก็เป็ นอย่างนั้น ไม่จากัดด้วยกาล — not delayed; timeless) 4. เอหิปสฺสิโก (ควรเรียกให้มาดู คือ เชิญชวนให้มาชม และ พิสูจน์ หรือท้าทายต่อการตรวจสอบ เพราะเป็ นของจริงและดีจริง — inviting to come and see; inviting inspection) 5. โอปนยิโก (ควรน้อมเข้ามา คือ ควรเข้ามาไว้ในใจ หรือน้อม ใจเข้าไปให้ถึง ด้วยการปฏิบัติให้เกิดมีขึ้นในใจ หรือให้ใจบรรลุถึง อย่างนั้น หมายความว่า เชิญชวนให้ทดลองปฏิบัติดู อีกอย่างหนึ่ง ว่าเป็ นสิ่งที่นาผู้ปฏิบัติให้เข้าไปถึงที่หมายคือนิพพาน — worthy of inducing in and by one’s own mind; worthy of realizing; to
  • 3. เกณฑ์การตัดสินพระวินัย ๘ ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8 หรือ หลักกาหนดธรรมวินัย 8 (criteria of the Doctrine and the Discipline) ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อ 1. วิราคะ คือ ความคลายกาหนัด, ความไม่ติดพัน เป็ นอิสระ (detachment; dispassionateness) มิใช่เพื่อความกาหนัดย้อมใจ, การ เสริมความติด 2. วิสังโยค คือ ความหมดเครื่องผูกรัด, ความไม่ประกอบทุกข์ (release from bondage) มิใช่เพื่อผูกรัด หรือประกอบทุกข์ 3. อปจยะ คือ ความไม่พอกพูนกิเลส (dispersion of defilements) มิใช่เพื่อพอกพูนกิเลส 4. อัปปิ จฉตา คือ ความอยากอันน้อย, ความมักน้อย (wanting little) มิใช่เพื่อความอยากอันใหญ่, ความมักใหญ่ หรือมักมากอยากใหญ่ 5. สันตุฏฐี คือ ความสันโดษ (contentment) มิใช่เพื่อความไม่ สันโดษ 6. ปวิเวก คือ ความสงัด (seclusion; solitude) มิใช่เพื่อความคลุก
  • 4. ปฐมพจน์ กาลามสูตร พระสูตรนี้ได้แสดงให้เห็นความเป็ นนักเสรี ประชาธิปไตยของพระพุทธเจ้า เพราะพระองค์ทรงสอนให้คนใช้ ความคิดด้วยเหตุผลโดยรอบคอบเสียก่อนแล้วจึงค่อยเชื่อ พระพุทธเจ้าทรงสอนว่าจงอย่าได้เชื่อโดยการอ้างตารา หรือเพราะ ครูอาจารย์สอนไว้อย่างนั้น หรือเพราะคาพูดนั้นตรงกับความเห็น ของเรา หรือเพราะผู้นั้นเป็นบุคคลที่ควรเชื่อ หรือโดยการคาดคะเน หรือ นึกเดาเอาหรือโดยการใช้เหตุผลตามหลักตรรกศาสตร์ พระองค์ทรงสอนว่าการกระทาใด ๆ ถ้าจะไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ใน ภายหลัง นักปราชญ์ไม่ติเตียน ไม่เป็ นไปเพื่อเบียดเบียนตนและ ผู้อื่นแล้ว พึงทาเถิดแต่ถ้าตรงกันข้ามกันก็อย่าทาเลย
  • 5. วิทยาศาสตร์เชิงพุทธในกาลามสูตร กาลามสูตร : เป็ นพระสูตรสาคัญสูตรหนึ่งในพระพุทธศาสนา ได้รับความสนใจมาก เป็ นพิเศษ จากนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร ์ในยุคปัจจุบัน แท้ที่จริง ในพระไตรปิ ฎก ชื่อกาลามสูตรไม่ได้มีปรากฏอยู่ หากมีแต่ชื่อว่า เกสปุตตสูตร ทั้งนี้ก็ เพราะว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระสูตรนี้แก่ชาวกาลามะ ซึ่งอยู่ใน เกสปุตต นิคม เพราะฉะนั้น จึงตั้งชื่อพระสูตรนี้ตามชื่อของนิคมนี้ว่า เกสปุตตสูตร แต่คนที่อยู่ใน นิคมหรือ ตาบลนี้เป็ นเชื้อสาย หรือมีสกุลเดียวกัน คือ สกุลกาลามะ เขาจึงเรียก ประชาชนเหล่านี้ว่ากาลามชน ซึ่งมีโคตรอันเดียวกัน สกุลเดียวกัน คือ กาลาม โคตร เพราะฉะนั้นเขาจึงเรียกพระสูตรนี้ว่า เกสปุตตสูตร แต่ชาวโลกทั่วไป มักจะเรียก พระสูตรนี้ว่า กาลามสูตร เพราะรู ้สึกว่าจะเรียกได้ง่ายกว่า พระสูตรนี้เป็ นพระสูตรที่ไม่ยาว แต่มีใจความลึกซึ้งน่าคิดประกอบด้วยหตุผล ซึ่งผู้นับ ถือ พระพุทธศาสนา หรือผู้ศึกษาพระพุทธศาสนาควรจะได้ศึกษาเป็ นอย่างยิ่ง เพราะ เป็ นการใช้เหตุผลตามหลัก วิทยาศาสตร ์สอดคล้องกับ กฎทางวิทยาศาสตร ์ พระสูตรนี้มีความเป็ นมาโดยย่อว่า ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปยังเกสปุตตนิคม อันเป็ นที่อยู่ของพวกชาวกาลามโคตรหรือกาลามชน ชาวกาลามชนในเกสปุตตนิคม ทราบข่าวมาก่อนแล้วว่า พระพุทธเจ้ามีชื่อเสียงโด่งดังอย่างไรก่อนที่พระองค์จะได้เสด็จ มายังหมู่บ้านของพวกเขา จึงต่างก็พากันไปเฝ ้ าเป็ น จานวนมาก เพราะชื่อเสียงของ พระพุทธเจ้าดังก้องไปว่า "อิติปิ โส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทธโธ" เป็ นต้น ดังที่เราสวด สรรเสริญกันในบทสวดมนต์ซึ่งปรากฏมากในพระสูตรต่าง ๆ ว่า...
  • 6. พุทธวจนะ แห่งข้อเท็จจริง พระพุทธเจ้าแทนที่จะตรัสเหมือนกับ สมณพราหมณ์เหล่าอื่นที่เคยพู ด มาแล้ว พระองค์ไม่ได้ทรงสรรเสริญคา สอนของพระองค์ และก็ไม่ทรงติเตียน คาสอนศาสนาของผู้อื่น แต่พระองค์ กลับตรัสอีกแบบหนึ่ง การพูดแบบนี้ เป็ นลักษณะของวิทยาศาสตร ์ปัจจุบัน คือพระองค์ได้กล่าวถึงสิ่งที่ไม่ควรเชื่อ
  • 7. หลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่งข้อเท็จจริง มา อนุสฺสวเนน อย่าเพิ่งเชื่อโดยฟังตามกันมา มา ปรมฺปราย อย่าเพิ่งเชื่อโดยถือว่าเป็ นของเก่าเล่า สืบๆ กันมา มา อิติกิราย อย่าเพิ่งเชื่อเพราะข่าวเล่าลือ มา ปิ ฏกสมฺปทาเนน อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างคัมภีร ์หรือตารา มา ตกฺกเหตุ อย่าเพิ่งเชื่อโดยคิดเดาเอาเอง มา นยเหตุ อย่าเพิ่งเชื่อโดยคิดคาดคะเนอนุมาน เอา มา อาการปริวิตกฺเกน อย่าเพิ่งเชื่อโดยตรึกเอาตามอาการ ที่ปรากฏ มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา อย่าเพิ่งเชื่อเพราะเห็นว่าต้องกับ ความเห็นของตน ่ ่ ่
  • 8. ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง ข้อเท็จจริง ข้อความประเภทนี้ตรงกับกฎทางวิทยาศาสตร ์เพราะนักวิทยาศาสตร ์จะไม่ เชื่อถ้าเขายังไม่ได้ ทดสอบหรือพิจารณาเหตุผลให้ปรากฏก่อน และข้อความ เช่นนี้ไปตรงกันได้อย่างไรในข้อที่ไม่ให้เชื่อเพราะเหตุเหล่านี้ ถ้าเช่นนั้นแล้ว เราควรจะเชื่อแบบใดเมื่อปฏิเสธไปหมดเลยทั้ง ๑๐ ข้อ และเราควรจะเชื่ออะไร ได้บ้าง พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาของเหตุและผล ไม่โจมตีศาสนาไม่โจมตีผู้ใด ชี้ แต่เหตุและผลที่ยกขึ้นมาอธิบายเท่านั้น พระพุทธวจนะทั้ง ๑๐ ประการข้างต้นนั้น ท่านทั้งหลายฟังดูแล้วอาจคิดว่า ถ้า ใครถือตามแบบนี้ทั้งหมดก็มองดูว่า น่าจะเป็ นมิจฉาทิฎฐิ คือ ไม่เชื่ออะไรเลย แม้แต่ครูของตนเอง แม้แต่พระไตรปิ ฎกก็ไม่ให้เชื่อ พิจารณาดูแล้ว น่าจะเป็ น มิจฉาทิฎฐิ แต่ก็ไม่ใช่ คาว่า "มา" อันเป็ นคาบาลีในพระสูตรนี้ เป็ นการปฏิเสธมีความหมาย เท่ากับ "No" หรือนะคืออย่า แต่โบราณาจารย์กล่าวว่า ถ้าแปลว่า อย่า เชื่อ เป็ นการแปลที่ค่อนข้างจะแข็งไปควรแปลว่า "อย่าเพิ่งเชื่อ" คือให้ ฟังไว้ ก่อน สานวนนี้ ได้แก่สานวนแปลของสมเด็จพระพุทธโฆสาจารย์(เจริญ) วัด เทพศิรินทราวาส นักปราชญ์รูปหนึ่งในยุครัตนโกสินทร ์แต่บางอาจารย์ให้ แปลว่า "อย่าเพิ่งปลงในเชื่อ" แต่บางท่านแปลตามศัพท์ว่า "อย่าเชื่อ" ดังนั้น การแปลในปัจจุบันนี้จึงมีอยู่ ๓ แบบคือ ๑. อย่าเชื่อ ๒. อย่าเพิ่งเชื่อ ๓. อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ การแปลว่า "อย่าเชื่อ" นั้น
  • 9. ข้อสังเกตทางพุทธวจนะที่ตรัสแก่ชาวกาลามะดยย หลักสามัคคีธรรม (พรหมวิหารธรรม) ท่านทั้งหลายจงพิจารณาข้อความนี้ดูว่า ในกาลามสูตรนี้ถ้าหากคณาจารย์อื่น ๆ มา พบชาวกาละมะเข้า อาจจะพูดเหมือนบรรดาอาจารย์อื่น ๆ ที่เคยผ่านมา คือ พูด ติ เตียนศาสนาอื่นแล้วยกย่องศาสนาของตนเอง แต่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงกระทาเช่นนั้น คือ ไม่โจมตีศาสนาอื่นเลย แม้แต่สักคาเดียว พระองค์เพียงแต่บอกว่าอย่าเพิ่งเชื่อถ้า ใครพูดชักนามา ทรงเตือนว่าอย่าเพิ่งเชื่อและให้พิจารณาด้วยตนเองเท่านั้น เมื่อได้ พิจารณาด้วยตนเองแล้วเห็นว่าเป็ นกุศล ก็ให้ทาตาม แต่ถ้าเป็ นอกุศลก็ให้ละเสีย ใน ที่สุด พระพุทธเจ้าก็ตรัสว่า ถ้าเราทาดีโดยการมีเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขาแล้ว เราจะมี ความอุ่นใจถึง ๔ อย่าง ซึ่งคนทาชั่วนั้นจะไม่มีความอุ่นใจดังกล่าวเลย การ พิจารณาอย่างนี้เป็ นข้อความสาคัญในกาลามสูตร แท้ที่จริง ยังมีข้อความอื่นอีกในพระ สูตรนี้ แต่เป็ นข้อปลีกย่อย จึงไม่ได้นามากล่าวไว้ในที่นี้ในปัจจุบันนี้นักวิทยาศาสตร ์นัก คิดชาวตะวันตก ได้สรรเสริญพระพุทธศาสนาในแง่ของการมีเหตุผลไว้มาก เพราะเป็ น คาสอนอันมีเหตุผลและสอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร ์ของพระพุทธศาสนา ดังนั้น กาลามสูตรจึงเป็ นพระสูตรที่ให้อิสระในด้านความคิด แต่ไม่ได้หมายความว่า ไม่ให้เราเชื่อ แต่ให้พิจารณาให้ดีเสียก่อน แล้วจึงค่อยเชื่อ อย่าเชื่อโดยฟังตามกันมา แม้แต่พระคัมภีร ์ก็อย่าเพิ่งเชื่อ ให้พิจารณา ดูเสียก่อน ถ้าทาได้อย่างนี้ ถือว่าสมกับการ เป็ นชาวพุทธ ไม่เชื่ออะไรอย่างไร้เหตุผล โดยไม่พิจารณาว่าควรเชื่อหรือไม่เพียงไรเรา จึงควรภูมิใจที่เราได้นับถือพระพุทธศาสนา อันเป็ นศาสนาที่มีเหตุผลสอดคล้องกับ ่ ่ ่
  • 10. ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง ข้อเท็จจริง สาหรับกาลามสูตร หรือ เกสปุตตสูตร พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมกับชาวกาลา ม ะ ที่ว่ า มีส ม ณ พ ร า ห ม ณ์ม า แ ส ด ง ความเห็นต่างๆและก็กล่าวว่า ความเห็น ข อ ง ผู้นี้ไ ม่ จ ริง ข อ ง เ ร า จ ริง ส ม ณ พราหมณ์ต่างๆก็มาแสดงความเห็น มากมาย ชาวกาลามะก็เลยสงสัยมากราบ ทูลพระพุทธเจ้าในเรื่องนี้ ว่าข้าพระองค์ ส ง สัย ว่ า ใ ค ร พู ด จ ริง ใ ค ร พู ด เ ท็ จ
  • 11. ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง ข้อเท็จจริง แต่ตอนท้ายพระองค์ก็แสดงว่า แต่เมื่อใดที่ท่าน ทั้งหลายรู ้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมนี้มีโทษ เป็ น อกุศล ผู้ที่เสพคุ้นหรือเจริญอกุศลย่อมมีโทษ และ ท่านก็ควรละธรรมเหล่านั้น จากข้อความนี้แสดงให้ เห็นครับว่า พระองค์ให้ชาวกาลามะ รวมทั้งพวก เราได้พิจารณาด้วยปัญญาของตนเอง ไม่ใช่เชื่อ เลยเมื่อได้ยินมาหรือจากเหตุอื่นก็ไม่ควรเชื่อเลย ทีเดียว แต่พิจารณาด้วยปัญญา โดยการรู ้ด้วย ตนเองนั่นแหละครับ จึงรู ้ความจริงว่าสิ่งใดดี สิ่งใดไม่ ดี เมื่อเกิดปัญญา พิจารณารู ้ได้ด้วยตนเองแล้ว จึง ไ ม่ เ ชื่อใ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ถู ก ต้อ ง แ ล ะ เ ชื่อใ น สิ่ ง ที่ ถูกต้อง เพราะพิจารณาด้วยปัญญาของตนแล้ว ครับ ดังนั้นพระองค์จึงสื่อความหมายให้พุทธบริษัท พิจารณาในสิ่งต่างๆ ไม่ใช่เชื่อทันที คือพิจารณา
  • 12. ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง ความคิย สาหรับข้อที่ 7 อย่าปลงใจเชื่อด้วยการคิดตรอง ตามแนวเหตุผล เพราะเหตุว่า ทางหลัก วิทยาศาสตร ์ หรือทั่วๆไป ก็มีเหตุผล ตาม หลักการของเขา แต่ไม่ได้หมายความสิ่งนั้นต้อง จ ริง ที่เ ป็ น ก า ร คิดโ ด ย ต ร ร ก ะ ห รือ โ ด ย เหตุผล หรือ แม้หลักเหตุผล ง่ายๆที่ว่า สิ่งใดไม่ เที่ยง สิ่งนั้นเป็ นทุกข์ สิ่งนั้นเป็ นอนัตตาแต่ เมื่อ เอาหลัก ตรรกะ การคิดแบบเหตุผล มาสรุป ทั้งหมดก็ผิด คือ สิ่งใดเที่ยง สิ่งนั้นเป็ นสุข สิ่งใด เป็ นสุข สิ่งนั้นเป็ นอัตตา (แต่ความจริงคือ อนัตตา) นี่คือการคิดแบบเหตุผล ตรรกะ แต่เป็ น การสรุปที่ผิด เพราะ จริงๆแล้ว (นิพพาน)สิ่งใด
  • 13. ข้อสังเกตหลักความเชื่อ ๑๐ ประการแห่ง ข้อเท็จจริง ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงในเกสปุตตสูตร ว่า ด้วย ไม่ควรเชื่อโดยอารการ ๑๐ อย่าง มีไม่ควรเชื่อ โดยการฟังตามกันมาเป็ นต้นนั้น นั้น ก็เพื่อให้ผู้ฟัง เกิดปัญญา เข้าใจด้วยตนเอง รู ้ได้ด้วยตนเอง ไม่ว่า จะได้ยินได้ฟั งอะไรมา ก็อย่าพึ่งเชื่อ แต่ควร พิจารณาไตร่ตรองด้วยเหตุด้วยผล ตรงตามความ เป็ นจริง ว่าเป็ นจริงอย่างที่ได้ยินได้ฟั งมาหรือไม่ อย่างไร ควรละ หรือ ควรเจริญ เป็ นไปเพื่อมิใช่ ประโยชน์ หรือ เป็ นไปเพื่อประโยชน์ เป็ นต้น ปัญญา ความเข้าใจถูกเห็นถูกเท่านั้น ที่จะเข้าใจในสิ่งนั้น ตรงตามความเป็ นจริง ไม่ผิด ไม่คลาดเคลื่อนจาก ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง พระธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง เพื่อให้ผู้ ศึกษาเกิดปัญญาเป็ นของตัวเอง เข้าใจอย่างถูกต้อง
  • 14. หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการแห่งข้อเท็จจริง ๑. ปัญญา ๓ สุตต จินต ภาวนา ๒. ภาวนา ๔ กาย ศีล จิต ปัญญา ๓. ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา ๔. ไตรลักษณ์ อนิจจ ทุกข อนัตตา ๕. อริยสัจ ๔ ทุกข์สมุทัย นิโรธ มรรค ๖. อิทธิบาท ๔ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ๗. หัวใจนักปราชญ์สุตต จินต ปุจฉา ลิขิต ๘. พละ ๕ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ๙. โยนิโสมนสิการ ๑๐. สัปปุริสธรรม ๗ เหตุ ผล ตน ประมาณ กาล บุคคล ชุมชน