SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
บทความเรื่อง “การบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา”

                                                                  พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร
                                                   ป.ธ.๘, พธ.บ, พธ.ม, พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
                                        มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
                                    *******************

๑. บทนํา
                                                                                   ้ ่
              ฆราวาสธรรม เป็ นหลักคําสอนที่พระพุทธองค์แสดงไว้เพื่อให้สาวกผูอยูครองเรื อนได้
นําไปเป็ นแนวทางในการดําเนินชีวตให้ประสบความสําเร็จตามที่ต้งเป้ าหมายไว้ ธรรมดาผูอยูครอง
                                    ิ                              ั                       ้ ่
เรื อนย่อมจะมีการเกี่ยวข้องกันกับสมาชิกในครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น สามีเกี่ยวข้องกับ
ภรรยา บุตรธิ ดา เกี่ยวข้อ งกับบิดามารดา พ่อ ตา แม่ ยาย เกี่ ยวข้อ งกับลูกเขย นายจ้างเกี่ ยวข้องกับ
ลูกจ้าง เป็ นต้น บุคคลผูมีความเกี่ยวข้องกันจําเป็ นต้องมีธรรมะเป็ นเครื่ องมือในการปฏิบติตนต่อกัน
                        ้                                                                ั
                ่ ้                                                                    ้ ่
จึงจะทําให้อยูดวยกันอย่างมีความสุข ดังนั้น พระพุทธองค์จึงวางหลักธรรมสําหรับผูอยูครองเรื อน
ไว้ เรี ยกว่า ฆราวาสธรรม
            การศึกษาเรื่ องการบริ หารงานตามหลักฆราวาสธรรม ในบทความนี้ มีวตถุประสงค์ ๒
                                                                              ั
อย่าง คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักคําสอนเรื่ องฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ๒) เพื่อ ศึกษาวิเคราะห์
การบริ หารงานตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ปั ญหาที่ตองการทราบในเบื้องต้นคือ ๑)
                                                                  ้
หลักคําสอนเรื่ องฆราวาสธรรมเกี่ยวข้องกับการอยูครองเรื อนเป็ นอย่างไร ๒) เพราะเหตุไรพระพุทธ
                                               ่
                                        ้ ่
องค์จึงวางหลักธรรมเหล่านี้ ไ ว้สาหรับผูอยูครองเรื อน ๓) เมื่อ นําหลักฆราวาสธรรมไปใช้ในการ
                                ํ
บริ หารงานจะเกิดประโยชน์อย่างไร
๒. ความหมายและลักษณะของฆราวาสธรรม
                                                                       ้ ่
            ฆราวาสธรรม หมายถึงธรรมสําหรับครองเรื อน หรื อธรรมสําหรับผูอยูครองเรื อน มี ๔
อย่าง คือ ๑) สัจจะ ความซื่อสัตย์ต่อกัน ๒) ทมะ การฝึ กตน ๓) ขันติ ความอดทนอดกลั้น ๔) จาคะ
การเสียสละ การแบ่งปั น มีน้ าใจ ๑
                            ํ   0




           ๑
            องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๒, ๒๕๖/๕๑, ๓๗๓, ดูเพ่ิมเติมใน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต),
พจนานุก รมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศั พท์ , พิมพคร้ ังที่ ๑๖, (กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริ ษท สหธรรมิก
                                           ์                                             ั
จํากัด, ๒๕๕๔), หนา ๕๔.
                  ้
๒




๓. วิเคราะห์ การบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา
                 ผูที่อยู่ครองเรื อ นต้อ งบริ หารกิ จการในครอบครัวให้เป็ นไปอย่างราบรื่ นเรี ยบร้อ ยต้อ ง
                   ้
ประกอบด้วยธรรม ๔ ข้อนี้ คือผูเ้ ป็ นหัวหน้าครอบครัวต้องมีสจจะความซื่อสัตย์ต่อคนในครอบครัว
                                                                             ั
เช่ น สามี มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ต่ อ ภรรยา ต่ อ บุ ต รธิ ด า ภรรยามี ค วามซื่ อ สั ต ย์ต่ อ สามี ต่ อ บุ ต รธิ ด า
เมื่ อ ผูนํา มี ความซื่ อ สัตย์ต่อ คนรอบข้าง จะทําให้คนรอบข้างไว้วางใจไม่ เกิ ดความระแวงต่อ กัน
         ้
แต่ ล ะคนก็ จ ะตั้ง ใจทํา งานตามหน้า ที่ ของตนได้เ ต็ม ความสามารถ การงานที่ ท า ก็ จ ะออกมาดี          ํ
ประสบความสํ า เร็ จ ตามที่ ต้ ัง เอาไว้ ไม่ เ ฉพาะความซื่ อ สั ต ย์เ ท่ า นั้ นที่ นํา ความสํ า เร็ จ มาให้
แม้แต่วาจาสัจหรื อ การพูดความจริ งก็นําประโยชน์อ ันยิ่งใหญ่ม าให้ดังพระพุทธพจน์ว่า สจฺ จ ํ เว
อมตา วาจา คําสัจ เป็ นวาจาที่ไม่ตาย ๒ คนที่มีสัจจะนอกจากจะบริ หารงานประสบความสําเร็ จแล้ว
ยั ง ส า ม า ร ถ ก ลั บ ใจ ศั ต รู ใ ห้ เ ป็ น มิ ต รไ ด้ ดั ง ตั ว อ ย่ า ง เรื่ อ ง ข อ ง ส า ม เ ณ รอ ธิ มุ ตต ก ะ ผู ้
เดินทางผ่านป่ าใหญ่เพือที่จะไปเยียมบิดามารดาถูกพวกโจรจับตัวเพือจะฆ่าบวงสรวงเทวดาสามเณร
                             ่            ่                                          ่
ขอชีวตไว้แล้วรับปากกับโจรว่าถ้าไปแล้วเห็นคนเดินผ่านมาจะไม่บอกว่ามีพวกโจรอยูในป่ านี้ พวก
           ิ                                                                                             ่
โจรเชื่ อ ถ้อ ยคํา ขอสามเณรจึ ง ปล่ อ ยไปเมื่ อ สามเณรเดิ น ไปพบบิ ด ามารดาและพี่ น้ อ งชาย
เดินสวนทางมาเมื่อทักทายกันเรี ยบร้อยแล้วก็ลาจากกันบิดามารดาของสามเณรเดินทางเข้าป่ าใหญ่
แห่งนั้นถูกพวกโจรจับไว้มารดาของสามเณรบ่นเพ้อว่าสามเณรทําไมไม่บอกแม่สกคําว่ามีพวกโจรอ                ั
าศัยอยู่ในป่ านี้ หัวหน้าพวกโจรจึงถามเอาความจริ งมารดาของสามเณรจึงเล่าให้ฟังว่าพวกเขาเป็ น
มารดาบิดาของสามเณรและลูกๆ ที่มาด้วยนี้ คือพี่น้องของสามเณร หัวหน้าโจรได้ฟังดังนั้น เกิ ด
                                                                       ่
ความเลื่อมใส ในความมีสจจะของสามเณรที่รับปากไว้วาจะไม่บอกใครว่ามีพวกโจรอาศัยอยูในป่ า
                                  ั                                                                              ่
นี้ จึงปล่ อยคนเหล่ านั้นแล้วพาลู กน้องทั้งหมดติดตามไปขอบวชกับสามเณร สามเณรให้พวกโจร
เหล่านั้นรับไตรสรณคมน์และสิกขาบท ๑๐ แล้ว นําไปขออุปสมบทกับพระอุปัชฌาย์ของตนคือพระ
สังกิจจเถระ ๓ 2




                       การรักษาสัจจนอกจากจะมีผลทําให้ผรักษาเป็ นที่เคารพนับถือของคนอื่นแล้วการทํา
                                                                  ู้
                                                       ู้            ่
สัจจกิริยาหรื อการตั้งสัจจะอธิษฐานยังทําให้ผที่ตกอยูในอันตรายรอดพ้นจากอันตรายได้ดวยดังตัว                      ้
อย่างเรื่ องสามกุมารในสุวรรณสามชาดความย่อว่าสามกุมารเป็ นคนมีเมตตาเป็ นที่รักของมนุ ษย์และ
                               ่                                               ่
สัตว์ท้งหลายเขาอาศัยอยูในป่ าเลี้ยงมารดาบิดาตาบอดทั้งสออยูมาวันหนึ่ งขณะที่เขาเดินไปตักนํ้าที่
             ั
ท่านํ้า พร้อมกับพวกสัตว์ท้งหลายที่ติดตามเขาไป ถูกพระเจ้าปิ ลยักษ์ยงด้วยธนู ได้รับความเจ็บปวด
                                    ั                                                  ิ
อย่างหนัก จึงอ้อนวอนให้พระเจ้าปิ ลยักษ์ไปบอกให้มารดาบิดาของเขาทราบด้วย พระเจ้าปิ ลยักษ์ก็

              ๒
                  ส.ํ ส. (บาลี) ๑๕/๒๑๓/๑๓๙, ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๒๑๓/๓๑๐.
              ๓
                  ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑-๔/๘๙/๓๗๐-๓๗๖, มงฺคล. (ไทย) ๑/๕๓/๓๒.
๓




                                                                          ่
ไปตามคําขอร้องของสามกุมาร บิดามารดาของสามกุมารมาแล้วรู ้วาอาการของลูกชายหนักมาก
โอกาสรอดชีวิตมีน้อย ด้วยความรักลู กชายจึงตั้งสัจจอธิษฐานขอให้ลูกชายฟื้ นและหายจากบาด
แผลและความ เจ็ บ ปวด เทวดาผู ้เ คยเป็ นมารดาของสามกุ ม ารก็ ม าร่ วมตั้ง สั จ จอธิ ษ ฐาน
ด้วยพอจบคําอธิษฐานของ มารดาบิดาและเทวดาเท่านั้น สามกุมารก็ฟ้ื นขึ้นมาและหายจากบาดแผล
และอาการบาดเจ็บ ๔ การรักษาสัจจะเป็ นทางให้ไปสู่ความเป็ นหมู่ของเทวดา
                จากตัวอย่างที่กล่าวมานี้ แสดงให้เห็นว่าสัจจะเป็ นคุณธรรมที่ทาให้มนุ ษย์ประสบความ
                                                                            ํ
สําเร็จในสิ่ งที่ปรารถนาได้ผที่เป็ นนักบริ หารจึงควรปลูกฝังสัจจะให้เกิดขึ้นในจิตใจของตนเพื่อจะ
                                ู้
ได้นาไปใช้ในการบริ หารตนและบริ หารคนให้ประสบความสําเร็จต่อไป
      ํ
                ทมะ การฝึ กตน ผูอ ยู่ครองเรื อ นต้อ งมี การพัฒนาตนเองอยู่ตลอเวลาเพื่อ จะมี ความรู ้
                                       ้
ใหม่ๆ มาบริ หารในครอบครัวให้เจริ ญก้าวหน้าต่อไปการฝึ กตนมีท้ งทางด้านร่ างกายและจิตใจและ
                                                                      ั
ทักษะอย่างอื่นที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินชีวต เช่น เข้าฝึ กอบรมหลักการวิชาการใหม่ๆ ตามโอกาสที่
                                              ิ
เหมาะสมการฝึ กตนในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ทรงสรรเสริ ญไว้ว่า “ในบรรดามนุ ษย์
ทั้งหลายผูที่ฝึกตนดีแล้วเป็ นผูประเสริ ฐ” ๕ “บัณฑิตย่อมฝึ กตน” ๖
            ้                      ้
                จากพระพุท ธพจน์ เ หล่ า นี้ พระองค์จึ ง ทรงสละเวลาและกํา ลัง แห่ ง พระวรกายของ
พระองค์ให้ก ับการฝึ กหัดบุคคลที่ควรฝึ กได้ตลอดพระชนมายุ ๔๕ พรรษาที่ทรงเผยแผ่พระธรรม
วินัยแก่ ชาวโลกทั้งหลาย จะเห็นได้จากการที่พระองค์เสด็จไปคามนิ คมน้อ ยใหญ่เพื่อแสดงพระ
ธรรมเทศนาโปรดเวไนยสัตว์ที่มีอุปนิสยจะได้บรรลุมรรคผลโดยไม่คานึงถึงความเหน็ดเหนื่ อยของ
                                           ั                            ํ
พระองค์แม้ใกล้จะเสด็จดับขันธปริ นิพพานแล้วยังแสดงพระเทศนาโปรดสุภททปริ พาชก ดังเรื่ องที่
                                                                              ั
ปรากฏในพระมหาปริ นิพพานสูตร ๗นั้น บุคคลที่ฝึกตนเองได้แล้วจึงจะสามารถแนะนําตักเตือนคน
                                  6




อื่นได้ ถ้าตนเองยังไม่ได้ฝึกฝนอบรมตนให้ดีก่อนเมื่อไปแนะนําคนอื่นเขาก็จะไม่เชื่อฟั งถ้อยคําของ
ตนแถมยังจะถูกว่ากล่าวย้อนกลับมาหาตัวเองอีก ผูบริ หารที่ดีตองฝึ กตนเองให้ดีก่อนแล้วค่อยไป
                                                         ้          ้
บริ หารคนอื่นแนะนําคนอื่น การทอย่างนี้จึงจะประสบความสําเร็จในการบริ หาร
                ขันติความอดทนผูบริ หารต้องมีความอดทนอดกลั้นเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นหรื อมีอุปสรรค
                                     ้
              ่
เกิดขึ้นไม่วาจะเป็ นความอดทนต่อความลําบากทางด้านร่ างกายที่จะต้องทํางานหนักหาเลี้ ยงครอบ ครัว
นอกจากนี้ยงต้องอดทนต่อความลําบากทางใจด้วย เช่น เมื่อมีเรื่ องความขัดแย้งมากระทบจิตใจทํา
                ั
ให้จิตใจเศร้าหมองขุ่นมัว อดทนต่อคําด่าว่ากล่าวตักเตือนจากคนในครอบครัว ถ้าผูบริ หารมีขนติ
                                                                                      ้       ั

           ๔
             ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๒๙๖-๔๒๐/๒๒๙-๒๔๕, ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๙/๓/๖๓.
           ๕
             ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๓๒๑/๓๓, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๒๑/๑๓๓.
           ๖
             ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๘๐/๑๔, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๘๐/๕๓.
           ๗
             ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๒/๑๖๐-๑๖๔.
๔




ความอดทนจะทําให้การบริ หารงานมีประสิ ทธิภาพ เพราะความอดทนเป็ นบ่อเกิดแห่ งคุ ณธรรม
ทั้งหลายอีกมากมาย ดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในโอวาทปาฏิโมกข์ว่า “ขนฺ ตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
ขันติ คือความอดทนอดกลั้นเป็ นตบะอย่างยิง” ๘    ่
             เรื่ องของพระพุทธองค์ที่ถูกพวกรับจ้างจากพระนางคันทิยาพระมเหสีของพระเจ้าอุเทนใ
ห้ม าด่ า พระพุท ธองค์ข ณะที่ เ ข้า ไปบิ ณ ฑบาตในพระนครจนพระอานนทเถระทนไม่ ไ หวทู ล
เชิญพระองค์เสด็จไปเมืองอื่นพระพุทธองค์ตรัสว่าการทําอย่างนั้นไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่ถูกปั ญหาเกิด
ที่ไหนต้อง แก้ที่นนแล้วพระองค์ก็อยูที่เมืองนั้นจนพวกที่ด่าหยุดด่าไปเอง ๙
                     ั่                  ่
             จากตัวอย่างนี้จะเห็นว่าความอดทนสามารถแก้ปัญหาที่ร้ายแรงให้กลับกลายเป็ นเบาและ
หมดไปในที่สุด
             ครั้งหนึ่ งพระสารี บุตรเถระถู กพระภิกษุใหม่ รูปหนึ่ งติเตียนว่าเดิ นไปเหยียบชายจีว ร
แล้ว ไม่ขอโทษแล้วนําเรื่ องนี้ ไปกราบทูลพระพุทธเจ้าพระองค์ตรัสเรี ยกพระสารี บุตรมาสอบถาม
พระสารี บุ ต รยอมรั บ ว่า ไม่ ไ ด้มีเ จตนาแล้ว ลดตัว ลงขอขมาโทษต่ อ พระภิ ก ษุใ หม่ รู ป นั้น ทํา ให้
พระภิกษุรูปนั้นถึงกับอดกลั้นนํ้าตาไม่ไหวที่เห็นความเป็ นคนสุภาพอ่อนโยนของพระสารี บุตร ๑๐       9




             จากตัวอย่างเรื่ องนี้ จะเห็ นว่าความอดทนอดกลั้นต่อ ถ้อยคําด่าทอต่างๆ ทําให้เรื่ อ งร้าย
กลายเป็ นดี ทาให้ศตรู กลายเป็ นมิ ตรทําให้เกิ ดความรักความสามัคคีข้ ึนในหมู่ คณะในสังคมและ
                 ํ      ั
ประเทศชาติ
             ตัวอย่างการใช้ขนติความอดทนต่อความลําบากทางใจเช่นเรื่ องของทีฆาวุกุมารที่ปรากฏ
                              ั
ในพระวินัยปิ ฎกเล่ มที่ ๕ ความย่อว่า ทีฆาวุกุมารเป็ นโอรสของพระเจ้าทีฆีติ พระราชาแห่ งนคร
โกศล ต่อมานครโกศลถูกพระเจ้าพรหมทัต พระราชาแห่ งนครพาราณสี ยกทัพมาตีและยึดเอาพระ
                                                          ่
ราชบัลลังก์พระเจ้าทีฆีติ จึงสังให้ทีฆาวุกุมารหลบหนีไปอยูที่อื่น ส่วนพระองค์และพระมเหสี ปลอม
                                ่
ตัวเป็ นชาวบ้าน อาศัยอยูในหมู่บานแห่ งหนึ่ ง ต่อมาถูกพระเจ้าพรหมทัตจับได้แล้วนําไปประหาร
                          ่          ้
ชีวต ขณะที่ถูกนําตัวเดินประจานไปตามถนนนั้นทีฆาวุก็แฝงตัวอยูในหมู่มหาชนเมื่อเห็นพระบิดาถูก
    ิ                                                            ่
ทําทารุ ณอย่างนั้น ก็ทนไม่ไหว จึงวิงเข้าไปใกล้พระบิดา พระเจ้าทีฆีติ เห็นดังนั้นจึงห้ามด้วยถ้อยคําว่า
                                       ่
ทีฆาวุ เจ้าอย่าเห็นแก่ยาว อย่าเห็นแก่ส้ น เวรย่อมไม่ระงับด้วยการจองเวร พูดเตือนสติทีฆาวุกุมาร
                                           ั
อย่างนี้ถึง ๓ ครั้ง จนทําให้พวกทหารเข้าใจว่าพระเจ้าทีฆีติบ่นเพ้อเพราะความกลัวต่อมรณภัยที่จะ
มาถึง เมื่อพระบิดาพระมารดาถูกประหารชีวตทิงศพไว้อย่างน่าสลดสังเวช ทีฆาวุกุมารก็แอบไปนํา
                                                 ิ ้
ร่ างของพระบิดาพระมารดามาทําฌาปนกิจ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วก็ไปขอสมัครเป็ นคนรับใช้คนเลี้ ยง

            ๘
              ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๑๘๔/๒๒, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๘๔/๙๐.
            ๙
              ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑-๔/๑๕/๑๑๗.
            ๑๐
               ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑-๔/๗๖/๓๓๙.
๕




ช้างของพระเจ้าพรหมทัต
             ต่อ มาได้รั บ ความไว้ว างใจจากพระเจ้า พรหมทัต จึ ง ได้เ ข้าไปรั บใช้อ ย่า งใกล้ชิ ด ใน
                ่
พระราชวัง อยูมาวันหนึ่งพระเจ้าพรหมทัตเสด็จไปล่าเนื้ อในป่ ากับพวกอํามาตย์โดยให้ทีฆาวุกุมาร
เป็ นนายสารถีคนที่พระเจ้าพรหมทัตประทับทีฆาวุแกล้งเร่ งรถให้เร็ วเพื่อไม่ให้พวกอํามาตย์ติดตาม
                  ั
ทันแล้วพาพระเจ้าพรหมทัตเข้าป่ าลึก ด้วยความเหน็ดเหนื่ อยพระเจ้าพรหมทัตจึงบรรทมหลับไป
บนตักของทีฆาวุกุมาร ทีฆาวุกุมารเมื่อเห็นว่าได้โอกาสแล้วจึงถอดพระขรรค์ออกมาหวังจะปลง
พระชนม์ของพระเจ้าพรหมทัตได้เงื้อพระขรรค์ข้ ึนถึ ง ๓ ครั้งแต่ไม่กล้าเพราะระลึกถึ งคําพูดของ
พระบิดา ขณะนั้นพระเจ้าพรหมทัตทรงสุ บินและตกใจตื่นขึ้นพร้อมกับแก้ความฝันให้ทีฆาวุกุมาร
ฟังว่ากําลังจะถูกพระโอรสของพระเจ้าทีฆีติฆ่า พอพูดจบทีฆาวุกุมารก็เอามือข้างหนึ่งจับที่หมวยผม
ของพระเจ้าพรหมทัตไว้ เอามื อข้างหนึ่ งเงื้อ พระขรรค์ข้ ึนเพื่อ จะปลงพระชนม์พระเจ้าพรหมทัต
พระเจ้า พรหมทัต พระเจ้า พรหมทัต เห็ น ดั ง นั้ น ก็ ต กใจจึ ง ร้ อ งขอชี วิ ต ไว้ที ฆ าวุ กุ ม ารจึ ง ลด
พระขรรค์ลงพร้อมกับหมอบลงแทบพระบาทของพระเจ้าพรหมทัตพูดว่าข้าพระองค์ต่างหากที่ตอง                       ้
ขอชีวตจากพระองค์พระองค์เป็ นเจ้าชีวตของข้าพระองค์ขอพระองค์จงไว้ชีวตให้แก่ขาพระองค์ดวย
       ิ                                 ิ                                    ิ         ้               ้
พระเจ้าพรหมทัตและทีฆาวุกุมารต่างคนต่างก็ขอชี วิตจากกันและกัน ถือ ว่าเป็ นผูมีบุญคุ ณต่อกัน
                                                                                      ้
แล้วทําปฏิญญาต่อกันว่าจะไม่เป็ นศัตรู ต่อกัน ด้วยความเป็ นคนอ่อนน้อมถ่อมตนและซื่ อสัตย์ของ
ทีฆาวุกุมาร พระเจ้าพรหมทัตจึงยกพระธิดาให้เป็ นมเหสี ของทีฆาวุกุมารแล้วคืนพระราชสมบัติ
ทุกอย่างที่เป็ นของพระบิดาของทีฆาวุกุม าร ต่อมาเมื่ อพระเจ้าพรหมทัตสวรรคต ทีฆาวุกุม ารได้
ครอบครองนครพาราณสี และนครโกศลพร้อมกัน ๑๑
             จากตัวอย่างที่กล่าวมานี้ แสดงให้เห็นถึงอานิ สงส์ของขันติความอดทนสามารถทําศัตรู
ให้เป็ นมิตรและยังเป็ นเหตุนามาซึ่งสมบัติอนยิงใหญ่สมกับพระพุทธพจน์ที่ได้ยกมาในเบื้องต้นนั้น
                             ํ               ั ่
             จาคะความเสียสละในที่น้ ีมีความหมาย๒นัยคือนัยแรกเสียสละแบ่งปั นสิ่งของที่หามาได้
ให้แก่คนในครอบครัวอย่างเป็ นธรรมไม่ลาเอียง นัยที่สอง เสี ยสละหรื อสละอารมณ์ที่เป็ นข้าศึก
                                              ํ
ต่อจิตใจที่ทาให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวอารมณ์โกรธความเคียดแค้นชิงชังความเกลียดความอาฆาตจอง
             ํ
เวรความพยาบาทปองร้ายเป็ นต้นเมื่ออารมณ์เหล่านี้ เกิดขึ้นต้องเสี ยสละออกไปจากจิตใจไม่ปล่อย
                    ่
ให้อารมณ์เหล่านี้อยูในจิตใจนานเพราะจะทําให้เสี ยสุ ขภาพกายและใจเป็ นอุปสรรคต่อการบริ หารงาน
การสละสิ่ ง ของของตนให้ค นอื่ น ที่ ค วรให้เ ป็ นเรื่ อ งที่ พ ระพุท ธองค์ท รงสรรเสริ ญ และยกย่อ ง
ดังที่พระองค์ได้วางหลักการปฏิบติไว้สาหรับพวกภิกษุท้งหลายว่าให้แบ่งปั นเอกลาภที่เกิดขึ้นในวัด
                                  ั        ํ                 ั
แก่ภิกษุที่มาถึงเช่นทรงอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์ทาการอปโลกกรรมแบ่งปั นสิ่งของให้ถึงแก่สงฆ์ทุกรู ป
                                                ํ
                                                                    ่
ตามลําดับพรรษา ทรงบัญญัติพระวินยไว้ให้ภิกษุสละผ้าจีวรที่อยูปราศจากคือปล่อยให้ผาอยูที่หนึ่ ง
                                       ั                                                     ้ ่
            ๑๑
                 ดูรายละเอียดใน วิ.ม. (ไทย) ๕/๔๕๘-๔๖๓/๓๔๓-๓๕๓.
๖




          ่
ตัวเองอยูที่หนึ่ งจนอรุ ณของวันใหม่ข้ ึนไป ทําให้ผานั้นเป็ นนิ สสัคคียคือเป็ นผ้าที่ควรสละเสี ยก่อน
                                                         ้                   ์
ส่วนตัวภิกษุเป็ นอาบัติปาจิตตียตองนําผ้าผืนนั้นไปทําพิธีสละให้เป็ นสมบัติของภิกษุรูปอื่นเสี ยก่อน
                                      ์้
แล้ ว ให้ ภิ ก ษุ รู ปนั้ นคื น ให้ ใ นภายหลั ง จึ ง แสดงอาบัติ ต่ อ หน้ า ภิ ก ษุ รู ป นั้ นหรื อ รู ป อื่ น ก็ ไ ด้
การทําอย่างนั้นจึงจะพ้นจากอาบัติที่ตองนั้น้
              มีขอความปรากฏในปราภวสูตร ๑๒ตอนหนึ่งว่าผูที่มีของเหลือกินเหลือใช้ไม่แบ่งปั นให้
                    ้                                             ้
คนอื่นหรื อคนรอบข้างกลับใช้สอยสิ่งเหล่านั้นเพียงผูเ้ ดียวพระพุทธองค์ตรัสว่าการทําอย่างนั้นเป็ น
ทางแห่งความเสื่อมของคนนั้น
              ในทางพระพุ ท ธศาสนาการสละแบ่ ง ปั น สิ่ ง ของของตนให้ ค นอื่ น หรื อ การถวาย
สิ่ ง ของของตนให้ เ ป็ นทานแก่ ส งฆ์ ห รื อแก่ บุ ค คลเป็ นอุ บ ายเครื่ องละกิ เ ลสอย่ า งหยาบ
คือความตระหนี่ออกจากจิตใจของตนทําให้จิตใจของตนเป็ นอิสระจากความตระหนี่ ซ่ ึ งเป็ นเครื่ อง
ผูกพันจิ ตใจอย่างหนึ่ ง ในโอวาทปาฏิโมกข์ซ่ ึ งเป็ นคําสอนที่ถือ ว่าเป็ นหัวใจหลักของพระพุท ธ
ศาสนาที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระอรหันต์สาวกจํานวน ๑,๒๕๐ รู ปที่มาประชุมกันที่พระเวฬุวน                                 ั
อุ ท ยานป่ าไผ่ ที่ พ ระเจ้า พิ ม พิ ส ารถวายให้ เ ป็ นที่ ป ระทับ ของพระพุ ท ธเจ้า และพระสาวกนั้ น
พระองค์ได้แนะนําให้สละอารมณ์ที่เป็ นข้าศึกแก่จิตใจด้วยการให้ชาระจิตใจของตนให้สะอาดให้
                                                                           ํ
ผ่ อ งใสจากเครื่ องเศร้ า หมองทั้ ง หลาย เครื่ องเศร้ า หมองในที่ น้ ี คื อ กิ เ ลสทั้ งหลาย เช่ น
ความกําหนัดยินดีใน รู ป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่มากระทบ ตา หู จมูก ลิ้น และร่ างกาย ความโกรธ
ความอาฆาต ความพยาบาทปองร้าย สิ่ งเหล่านี้ ทาให้จิตใจเศร้าหมองไม่ปลอดโปร่ ง บดบังปั ญญา
                                                       ํ
ปิ ดกั้นไม่ให้ คนบรรลุถึงความดีที่ควรจะได้
              เมื่อผูนาเข้าใจหลักการเหล่านี้แล้วนําไปบริ หารตนเอง บริ หารงานในครอบครัว และใน
                      ้ ํ
                                 ่
องค์การที่ตนรับผิดชอบอยูจะทําให้การบริ หารงานประสบ ความสําเร็ จตามที่ต้ งใจไว้ มีหลักฐาน    ั
ตามที่ได้ศึกษามานี้และตามหลักฐานที่พระพุทธองค์ได้ตรัสแก่อาฬวกยักษ์ในอาฬวกสูตรตอนหนึ่งว่า
                                   ในโลกนี้ เหตุให้ได้เกียรติที่ยงไปกว่า สัจจะ ก็ดี
                                                                    ิ่
                                   เหตุให้มีปัญญาที่ยงไปกว่า ทมะ ก็ดี
                                                        ิ่
                                   เหตุให้ผกมิตรสหายไว้ได้ที่ยงไปกว่า จาคะ ก็ดี
                                             ู                   ิ่
                                   เหตุให้หาทรัพย์ได้ที่ยงไปกว่า ขันติ ก็ดี มีอยูหรื อไม่ ๑๓
                                                           ิ่                     ่                    12




         เมื่ อ พระพระพุทธองค์ตรัสถามจบ อาฬวกยักษ์กราบทูล ว่า ไม่มีสิ่งใดที่จะยิ่งไปกว่า
หลักธรรมทั้ง ๔ อย่างนี้ คือ ไม่มีเหตุอื่นที่จะให้ได้เกียรติยงไปกว่า สัจจะ ความซื่ อสัตย์ ไม่มีเหตุอื่น
                                                              ิ่


             ๑๒
                  ขุ.สุตฺต. (ไทยป ๒๕/๑๐๒/๕๒๕.
             ๑๓
                  ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๑๙๑/๕๔๕.
๗




ที่จะให้เกิดปั ญญายิงไปกว่า ทมะ การฝึ กฝนอบรมตน ไม่มีเหตุอื่นที่จะผูกมิตรไว้ได้ยงไปกว่า จาคะ
                    ่                                                           ิ่
การเสียสละแบ่งปั น ไม่มีเหตุอื่นที่จะทําให้หาทรัพย์ได้ยงไปกว่า ขันติ ความอดทน
                                                       ิ่

๔. การนําหลักฆราวาสธรรมไปประยุกต์ ใช้ ในชีวิตประจําวัน
             ๑) บิดามารดา นายจ้างกับลูกจ้าง มีความซื่ อสัตย์ต่อกัน สามีไม่ปิดบังภรรยา ไม่นอกใจ
ภรรยา ภรรยาไม่นอกใจสามี มีความซื่อสัตย์ต่อกัน พูดความจริ งต่อกัน ไม่โกหกหลอกลวงกัน บิดา
มารดา มีความซื่อสัตย์ต่อบุตรธิดา เช่น รับปากว่า จะให้สิ่งของอย่างใดอย่างหนึ่ งต้องทําตามสัญญา
ที่ให้ไว้ จะทําให้บุตรธิดา เกิดความเชื่อมั่นในบิดามารดา บุตรธิดา มีความซื่ อสัตย์ต่อบิดามารดา
เช่น ไม่โกหกเพื่อให้บิดามารดาให้สิ่งของเกินความจําเป็ น รับปากว่าจะทําสิ่ งนั้นสิ่ งนี้ ให้ ต้องทํา
ตามที่รับปากไว้ กรณี ของนายจ้างกับลูกจ้างก็ให้ปฏิบติตามนัยที่กล่าวมานี้เหมือนกัน
                                                            ั
             ๒) ผูบ ริ ห ารหรื อ ผูเ้ ป็ นหัว หน้า ครอบครั ว หรื อ องค์ก รต้อ งหมั่น ฝึ กฝนอบรมตนอยู่
                         ้
ตลอดเวลา เพื่อ ที่จะได้เรี ยนรู ้ หลักการบริ หารใหม่ ๆ มาบริ หารคนในครอบครั วและองค์กรให้
เจริ ญก้าวหน้ายิงๆ ขึ้น การฝึ กฝนอบรมตนเองจะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีในตัวเอง และ
                   ่
                               ั
จะสร้างความน่ าเชื่อถือให้กบตนเอง เมื่อได้รับความเชื่อถือแล้วการสั่งงานหรื อการดําเนิ นกิจการ
                                                                               ่
ใดๆ ก็จะเป็ นไปโดยสะดวก ไม่มีอุปสรรคขัดขวาง การฝึ กตนเองมีอยูหลายวิธี เช่น การเรี ยนรู ้ตาม
ตํารา การสอบถามจากคนผูมีประสบการณ์โดยตรง การลงมือทดลองปฏิบติดวยตนเอง เป็ นต้น วิธี
                             ้                                                     ั ้
เหล่านี้จะช่วยให้เกิดการพัฒนาตนเองเป็ นอย่างดี
             ๓) ผูบริ หารหรื อ ผูเ้ ป็ นหัวหน้าครอบครัวหรื อองค์กรต้อ งมี ความหนักแน่ นมันคง ไม่
                     ้                                                                           ่
                                                                             ่ ้
หวันไหวเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นในครอบครัวหรื อองค์กร ธรรมดาการอยูดวยกันหลายคนย่อมจะมีการ
     ่
กระทบกระทังกันบ้าง ทั้งทางกิริยาท่าทางและทางวาจา ต้องอดทนต่อ กิริยานั้นๆ ให้ได้ไม่แสดง
               ่
อาการอันไม่พงประสงค์ออกมา ที่จะทําให้เกิดความขาดความเชื่อมันในผูบริ หาร หรื อผูนา ปั ญหา
                 ึ                                                         ่     ้           ้ ํ
บางอย่างไม่สามารถแก้ไขได้ดวยเหตุผลหรื อวิธีการ เช่น ปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวหรื อองค์
                                   ้
ต้องอาศัยกาลเวลาเป็ นตัวแก้ปัญหา ลักษณะอย่างนี้ผบริ หารต้องอาศัย ขันติ ความอดทน
                                                         ู้
             ๔) ผูบริ หารต้อ งเสี ยสละแบ่งปั นผลประโยชน์ที่เกิ ดขึ้นในครอบครัวหรื อ ในองค์กร
                       ้
ให้แก่สมาชิกอย่างเป็ นธรรม ไม่ลาเอียง คือไม่เห็นแก่หน้า เช่น ไม่คานึ งถึงว่า สมาชิกคนนั้นจะเป็ น
                                       ํ                                 ํ
ใคร ทุกคนควรที่จะได้ส่วนแบ่งตามสิทธิและหน้าที่ของตน สมาชิกในครอบครัวหรื อในองค์กรทุก
คนก็ตองรู ้จกเสี ยสละแบ่งปั นสิ่ งของของตนให้แก่สมาชิกคนอื่นบ้างตามสมควรแก่ฐานะของตน
        ้ ั
                                                       ั
และเสียสละแบ่งปั นความมีน้ าใจต่อกัน ให้อภัยแก่กนและกันในบางเรื่ องที่เห็นว่าสมาชิกบางคนทํา
                                 ํ
ผิดหรื อไม่เหมาะสม
๘




๕. บทสรุป

                จากการศึกษาวิเคราะห์การบริ หารงานตามหลักฆราวาสธรรม นี้ พอสรุ ปได้ว่า ฆราวาส
ธรรมเป็ นธรรมมีความสําคัญต่อการดําเนินชีวตทั้งผูบริ หารและผูปฏิบติตาม เพราะต่างก็อาศัยซึ่ งกัน
                                                   ิ    ้              ้ ั
และกัน ผูนาและผูตามในเบื้องต้นต้องมี สัจจะ ความซื่ อสัตย์ต่อกันจึงจะทํางานร่ วมกันได้ ถ้าฝ่ าย
            ้ ํ        ้
หนึ่ งฝ่ ายใดไม่ซื่อ สัตย์ ก็จะเกิดความบาดระแวงต่อกัน การสั่งงานของผูบริ หาร ก็จะไม่ไ ด้รับการ
                                                                               ้
สนองงานจากผูปฏิบติตาม ผลก็คือจะทําให้งานนั้นไม่ประสบความสําเร็จตามที่ต้งใจไว้
                    ้ ั                                                             ั
                ดังนั้น สัจจะ จึงเป็ นธรรมที่ท าให้เกิ ดความเชื่ อ มั่นต่อ กันของคนในครอบครัวและ
                                                 ํ
องค์กร สัจจะ ถ้าเปรี ยบเป็ นบ้านเรื อนก็เปรี ยบเหมือนเสาหลักของบ้าน บ้านเรื อนถ้าเสาหลักมันคง      ่
แล้วจึงจะทําให้เครื่ องประกอบอื่นๆ ตั้งอยูได้  ่
                ทมะ เป็ นธรรมเครื่ อ งข่ ม ใจหรื อ ฝึ กฝนตนเอง ผูเ้ ป็ นหัวหน้า ครอบครัว หรื อ หัว หน้า
องค์กร ฝึ กฝนอบรมตนเองอย่างสมํ่าเสมอจะทําให้นาพาครอบครัวหรื อองค์ไปสู่ ความเจริ ญรุ่ งเรื อง
                                                          ํ
                                                            ่
ได้ หรื อถ้าสมาชิกแต่ละคนหมันฝึ กฝนพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา จะทําให้ครอบครัวเจริ ญรุ่ งเรื อง
                                       ่
ขึ้นตามลําดับ เพราะการพัฒนาตัวเองอยูบ่อยๆ จะก่อให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ ขึ้น สามารถนํามา
                                             ่
บริ หารครอบครั วหรื อ องค์การให้เจริ ญยิ่งขึ้น ทมะ จึงเปรี ยบเหมื อ นบ้านที่ไ ด้รับการออกแบบ
ตกแต่งอย่างสวยงามและได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างสมํ่าเสมอ ทําให้บานดูสวยงามอยูตลอดเวลา
                                                                             ้            ่
                ขันติ เป็ นธรรมที่ทาให้คนในครอบครัวและองค์กร มีความหนักแน่ นมันคงพร้อมที่จะ
                                     ํ                                                  ่
ฝ่ าฟันปั ญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้น อย่างอดทนและยืนหยัด ไม่ทอดธุระกลางครัน ผูที่มีความ   ้
อดทนจะได้รับความเชื่อมันจากคนรอบข้างหรื อในครอบครัว และองค์กร เพราะบางสถานการณ์ที่
                              ่
เกิ ดขึ้น ถ้าผูบริ หารมี ความหวันไหว ไม่ อ ดทนจะทําให้การบริ หารงานล้มเหลวได้ จะทําให้ขาด
                 ้                 ่
ความเชื่ อ ถื อ จากผูตาม ขันติ เปรี ยบเหมื อ นตัวบ้านที่แข็งแรง จึงสามารถต้านทานลม ฝน และ
                         ้
แสงแดดได้
                จาคะ ความเสียสละ เป็ นธรรมที่ทาให้คนในครอบครัวหรื อองค์กรมีน้ าใจต่อกันและกัน
                                                     ํ                                ํ
ไม่เอารัดเอาเปรี ยบกัน มีผลประโยชน์เกิดขึ้นก็แบ่งกันตามสัดส่ วนที่เหมาะสมกับตําแหน่ งหน้าที่
อีกนัยหนึ่ง จาคะ ยังหมายถึงการเสียสละอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความบาดหมางขุ่นเคืองต่อกัน ให้อภัย
      ั                                                                     ่้
แก่กนและกัน เป็ นหลักธรรมที่ทาให้คนในครอบครัวหรื อในองค์กรอยูดวยกันอย่างมีความสุข
                                         ํ
๙




                                           หนังสื ออ้างอิง

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิ ฏกํ. กรุ งเทพมหานคร :
          โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐.
__________. พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุ งเทพมหานคร : โรง
          พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
__________. อรรถกถาบาลี ฉบับ มหาจุฬ าอฏฺ ฐกถา. กรุ ง เทพมหานคร : โรงพิม พ์ว ิญ ญาณ,
          ๒๔๙๙,๒๕๓๓-๒๕๓๔.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกพร้ อมอรรถกถาแปล. ชุด ๙๑ เล่ ม. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์
          มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒. กรุ งเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์
          พับลิเคชันส์, ๒๕๔๖.
                    ่
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครั้งที่ ๑๖.
          กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
พระมหาบุญมี มาลาวชิ โร. พุทธบริ หาร. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษท ธิ งค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จํากัด,
                                                                       ั
          ๒๕๕๓.
ชาย สั ญ ญาวิ ว ัฒ น์ , สั ญ ญา สั ญ ญาวิ ว ัฒ น์ . การบริ ห ารจั ด การแนวพุ ท ธ. พิ ม พ์ค รั้ งที่ ๒.
          กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑.

More Related Content

What's hot

คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรniralai
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1DrDanai Thienphut
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

What's hot (15)

คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
 
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Viewers also liked

สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...นายจักราวุธ คำทวี
 
open data en overheidscommunicatie
open data en overheidscommunicatieopen data en overheidscommunicatie
open data en overheidscommunicatieArjan Fassed
 
CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...
CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...
CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...Jonas Rosland
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
VMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and Razor
VMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and RazorVMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and Razor
VMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and RazorJonas Rosland
 
After civilization
After civilization After civilization
After civilization vgrinb
 
EUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, AmsterdamEUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, AmsterdamArjan Fassed
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marksEric Cruz
 
Colonization of indigenous peoples
Colonization of indigenous peoplesColonization of indigenous peoples
Colonization of indigenous peoplesvgrinb
 
Digital Case Studies
Digital Case StudiesDigital Case Studies
Digital Case StudiesKhyati Bhatia
 
2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness
2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness
2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madnessJonas Rosland
 
Don orione nel mondo in italiano (1)
Don orione nel mondo in italiano (1)Don orione nel mondo in italiano (1)
Don orione nel mondo in italiano (1)adamoa4
 

Viewers also liked (20)

สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
 
Elizabeth paniccia
Elizabeth panicciaElizabeth paniccia
Elizabeth paniccia
 
open data en overheidscommunicatie
open data en overheidscommunicatieopen data en overheidscommunicatie
open data en overheidscommunicatie
 
Qusol
QusolQusol
Qusol
 
CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...
CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...
CIO Connect 2015 - Modernize your applications to drive organizational effici...
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
VMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and Razor
VMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and RazorVMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and Razor
VMUG Sweden 2013-02-08 - Puppet and Razor
 
After civilization
After civilization After civilization
After civilization
 
EUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, AmsterdamEUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marks
 
Oscom23 old
Oscom23 oldOscom23 old
Oscom23 old
 
Colonization of indigenous peoples
Colonization of indigenous peoplesColonization of indigenous peoples
Colonization of indigenous peoples
 
Digital Case Studies
Digital Case StudiesDigital Case Studies
Digital Case Studies
 
Elizabeth paniccia
Elizabeth panicciaElizabeth paniccia
Elizabeth paniccia
 
2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness
2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness
2015 03-19-devops-toolkit-varrow-madness
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 
Don orione nel mondo in italiano (1)
Don orione nel mondo in italiano (1)Don orione nel mondo in italiano (1)
Don orione nel mondo in italiano (1)
 
03essay
03essay03essay
03essay
 

Similar to บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2Kat Suksrikong
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำYota Bhikkhu
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 

Similar to บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑ (20)

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำ
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑

  • 1. บทความเรื่อง “การบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา” พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร ป.ธ.๘, พธ.บ, พธ.ม, พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ******************* ๑. บทนํา ้ ่ ฆราวาสธรรม เป็ นหลักคําสอนที่พระพุทธองค์แสดงไว้เพื่อให้สาวกผูอยูครองเรื อนได้ นําไปเป็ นแนวทางในการดําเนินชีวตให้ประสบความสําเร็จตามที่ต้งเป้ าหมายไว้ ธรรมดาผูอยูครอง ิ ั ้ ่ เรื อนย่อมจะมีการเกี่ยวข้องกันกับสมาชิกในครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น สามีเกี่ยวข้องกับ ภรรยา บุตรธิ ดา เกี่ยวข้อ งกับบิดามารดา พ่อ ตา แม่ ยาย เกี่ ยวข้อ งกับลูกเขย นายจ้างเกี่ ยวข้องกับ ลูกจ้าง เป็ นต้น บุคคลผูมีความเกี่ยวข้องกันจําเป็ นต้องมีธรรมะเป็ นเครื่ องมือในการปฏิบติตนต่อกัน ้ ั ่ ้ ้ ่ จึงจะทําให้อยูดวยกันอย่างมีความสุข ดังนั้น พระพุทธองค์จึงวางหลักธรรมสําหรับผูอยูครองเรื อน ไว้ เรี ยกว่า ฆราวาสธรรม การศึกษาเรื่ องการบริ หารงานตามหลักฆราวาสธรรม ในบทความนี้ มีวตถุประสงค์ ๒ ั อย่าง คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักคําสอนเรื่ องฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ๒) เพื่อ ศึกษาวิเคราะห์ การบริ หารงานตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ปั ญหาที่ตองการทราบในเบื้องต้นคือ ๑) ้ หลักคําสอนเรื่ องฆราวาสธรรมเกี่ยวข้องกับการอยูครองเรื อนเป็ นอย่างไร ๒) เพราะเหตุไรพระพุทธ ่ ้ ่ องค์จึงวางหลักธรรมเหล่านี้ ไ ว้สาหรับผูอยูครองเรื อน ๓) เมื่อ นําหลักฆราวาสธรรมไปใช้ในการ ํ บริ หารงานจะเกิดประโยชน์อย่างไร ๒. ความหมายและลักษณะของฆราวาสธรรม ้ ่ ฆราวาสธรรม หมายถึงธรรมสําหรับครองเรื อน หรื อธรรมสําหรับผูอยูครองเรื อน มี ๔ อย่าง คือ ๑) สัจจะ ความซื่อสัตย์ต่อกัน ๒) ทมะ การฝึ กตน ๓) ขันติ ความอดทนอดกลั้น ๔) จาคะ การเสียสละ การแบ่งปั น มีน้ าใจ ๑ ํ 0 ๑ องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๒, ๒๕๖/๕๑, ๓๗๓, ดูเพ่ิมเติมใน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุก รมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศั พท์ , พิมพคร้ ังที่ ๑๖, (กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริ ษท สหธรรมิก ์ ั จํากัด, ๒๕๕๔), หนา ๕๔. ้
  • 2. ๒ ๓. วิเคราะห์ การบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ผูที่อยู่ครองเรื อ นต้อ งบริ หารกิ จการในครอบครัวให้เป็ นไปอย่างราบรื่ นเรี ยบร้อ ยต้อ ง ้ ประกอบด้วยธรรม ๔ ข้อนี้ คือผูเ้ ป็ นหัวหน้าครอบครัวต้องมีสจจะความซื่อสัตย์ต่อคนในครอบครัว ั เช่ น สามี มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ต่ อ ภรรยา ต่ อ บุ ต รธิ ด า ภรรยามี ค วามซื่ อ สั ต ย์ต่ อ สามี ต่ อ บุ ต รธิ ด า เมื่ อ ผูนํา มี ความซื่ อ สัตย์ต่อ คนรอบข้าง จะทําให้คนรอบข้างไว้วางใจไม่ เกิ ดความระแวงต่อ กัน ้ แต่ ล ะคนก็ จ ะตั้ง ใจทํา งานตามหน้า ที่ ของตนได้เ ต็ม ความสามารถ การงานที่ ท า ก็ จ ะออกมาดี ํ ประสบความสํ า เร็ จ ตามที่ ต้ ัง เอาไว้ ไม่ เ ฉพาะความซื่ อ สั ต ย์เ ท่ า นั้ นที่ นํา ความสํ า เร็ จ มาให้ แม้แต่วาจาสัจหรื อ การพูดความจริ งก็นําประโยชน์อ ันยิ่งใหญ่ม าให้ดังพระพุทธพจน์ว่า สจฺ จ ํ เว อมตา วาจา คําสัจ เป็ นวาจาที่ไม่ตาย ๒ คนที่มีสัจจะนอกจากจะบริ หารงานประสบความสําเร็ จแล้ว ยั ง ส า ม า ร ถ ก ลั บ ใจ ศั ต รู ใ ห้ เ ป็ น มิ ต รไ ด้ ดั ง ตั ว อ ย่ า ง เรื่ อ ง ข อ ง ส า ม เ ณ รอ ธิ มุ ตต ก ะ ผู ้ เดินทางผ่านป่ าใหญ่เพือที่จะไปเยียมบิดามารดาถูกพวกโจรจับตัวเพือจะฆ่าบวงสรวงเทวดาสามเณร ่ ่ ่ ขอชีวตไว้แล้วรับปากกับโจรว่าถ้าไปแล้วเห็นคนเดินผ่านมาจะไม่บอกว่ามีพวกโจรอยูในป่ านี้ พวก ิ ่ โจรเชื่ อ ถ้อ ยคํา ขอสามเณรจึ ง ปล่ อ ยไปเมื่ อ สามเณรเดิ น ไปพบบิ ด ามารดาและพี่ น้ อ งชาย เดินสวนทางมาเมื่อทักทายกันเรี ยบร้อยแล้วก็ลาจากกันบิดามารดาของสามเณรเดินทางเข้าป่ าใหญ่ แห่งนั้นถูกพวกโจรจับไว้มารดาของสามเณรบ่นเพ้อว่าสามเณรทําไมไม่บอกแม่สกคําว่ามีพวกโจรอ ั าศัยอยู่ในป่ านี้ หัวหน้าพวกโจรจึงถามเอาความจริ งมารดาของสามเณรจึงเล่าให้ฟังว่าพวกเขาเป็ น มารดาบิดาของสามเณรและลูกๆ ที่มาด้วยนี้ คือพี่น้องของสามเณร หัวหน้าโจรได้ฟังดังนั้น เกิ ด ่ ความเลื่อมใส ในความมีสจจะของสามเณรที่รับปากไว้วาจะไม่บอกใครว่ามีพวกโจรอาศัยอยูในป่ า ั ่ นี้ จึงปล่ อยคนเหล่ านั้นแล้วพาลู กน้องทั้งหมดติดตามไปขอบวชกับสามเณร สามเณรให้พวกโจร เหล่านั้นรับไตรสรณคมน์และสิกขาบท ๑๐ แล้ว นําไปขออุปสมบทกับพระอุปัชฌาย์ของตนคือพระ สังกิจจเถระ ๓ 2 การรักษาสัจจนอกจากจะมีผลทําให้ผรักษาเป็ นที่เคารพนับถือของคนอื่นแล้วการทํา ู้ ู้ ่ สัจจกิริยาหรื อการตั้งสัจจะอธิษฐานยังทําให้ผที่ตกอยูในอันตรายรอดพ้นจากอันตรายได้ดวยดังตัว ้ อย่างเรื่ องสามกุมารในสุวรรณสามชาดความย่อว่าสามกุมารเป็ นคนมีเมตตาเป็ นที่รักของมนุ ษย์และ ่ ่ สัตว์ท้งหลายเขาอาศัยอยูในป่ าเลี้ยงมารดาบิดาตาบอดทั้งสออยูมาวันหนึ่ งขณะที่เขาเดินไปตักนํ้าที่ ั ท่านํ้า พร้อมกับพวกสัตว์ท้งหลายที่ติดตามเขาไป ถูกพระเจ้าปิ ลยักษ์ยงด้วยธนู ได้รับความเจ็บปวด ั ิ อย่างหนัก จึงอ้อนวอนให้พระเจ้าปิ ลยักษ์ไปบอกให้มารดาบิดาของเขาทราบด้วย พระเจ้าปิ ลยักษ์ก็ ๒ ส.ํ ส. (บาลี) ๑๕/๒๑๓/๑๓๙, ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๒๑๓/๓๑๐. ๓ ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑-๔/๘๙/๓๗๐-๓๗๖, มงฺคล. (ไทย) ๑/๕๓/๓๒.
  • 3. ่ ไปตามคําขอร้องของสามกุมาร บิดามารดาของสามกุมารมาแล้วรู ้วาอาการของลูกชายหนักมาก โอกาสรอดชีวิตมีน้อย ด้วยความรักลู กชายจึงตั้งสัจจอธิษฐานขอให้ลูกชายฟื้ นและหายจากบาด แผลและความ เจ็ บ ปวด เทวดาผู ้เ คยเป็ นมารดาของสามกุ ม ารก็ ม าร่ วมตั้ง สั จ จอธิ ษ ฐาน ด้วยพอจบคําอธิษฐานของ มารดาบิดาและเทวดาเท่านั้น สามกุมารก็ฟ้ื นขึ้นมาและหายจากบาดแผล และอาการบาดเจ็บ ๔ การรักษาสัจจะเป็ นทางให้ไปสู่ความเป็ นหมู่ของเทวดา จากตัวอย่างที่กล่าวมานี้ แสดงให้เห็นว่าสัจจะเป็ นคุณธรรมที่ทาให้มนุ ษย์ประสบความ ํ สําเร็จในสิ่ งที่ปรารถนาได้ผที่เป็ นนักบริ หารจึงควรปลูกฝังสัจจะให้เกิดขึ้นในจิตใจของตนเพื่อจะ ู้ ได้นาไปใช้ในการบริ หารตนและบริ หารคนให้ประสบความสําเร็จต่อไป ํ ทมะ การฝึ กตน ผูอ ยู่ครองเรื อ นต้อ งมี การพัฒนาตนเองอยู่ตลอเวลาเพื่อ จะมี ความรู ้ ้ ใหม่ๆ มาบริ หารในครอบครัวให้เจริ ญก้าวหน้าต่อไปการฝึ กตนมีท้ งทางด้านร่ างกายและจิตใจและ ั ทักษะอย่างอื่นที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินชีวต เช่น เข้าฝึ กอบรมหลักการวิชาการใหม่ๆ ตามโอกาสที่ ิ เหมาะสมการฝึ กตนในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ทรงสรรเสริ ญไว้ว่า “ในบรรดามนุ ษย์ ทั้งหลายผูที่ฝึกตนดีแล้วเป็ นผูประเสริ ฐ” ๕ “บัณฑิตย่อมฝึ กตน” ๖ ้ ้ จากพระพุท ธพจน์ เ หล่ า นี้ พระองค์จึ ง ทรงสละเวลาและกํา ลัง แห่ ง พระวรกายของ พระองค์ให้ก ับการฝึ กหัดบุคคลที่ควรฝึ กได้ตลอดพระชนมายุ ๔๕ พรรษาที่ทรงเผยแผ่พระธรรม วินัยแก่ ชาวโลกทั้งหลาย จะเห็นได้จากการที่พระองค์เสด็จไปคามนิ คมน้อ ยใหญ่เพื่อแสดงพระ ธรรมเทศนาโปรดเวไนยสัตว์ที่มีอุปนิสยจะได้บรรลุมรรคผลโดยไม่คานึงถึงความเหน็ดเหนื่ อยของ ั ํ พระองค์แม้ใกล้จะเสด็จดับขันธปริ นิพพานแล้วยังแสดงพระเทศนาโปรดสุภททปริ พาชก ดังเรื่ องที่ ั ปรากฏในพระมหาปริ นิพพานสูตร ๗นั้น บุคคลที่ฝึกตนเองได้แล้วจึงจะสามารถแนะนําตักเตือนคน 6 อื่นได้ ถ้าตนเองยังไม่ได้ฝึกฝนอบรมตนให้ดีก่อนเมื่อไปแนะนําคนอื่นเขาก็จะไม่เชื่อฟั งถ้อยคําของ ตนแถมยังจะถูกว่ากล่าวย้อนกลับมาหาตัวเองอีก ผูบริ หารที่ดีตองฝึ กตนเองให้ดีก่อนแล้วค่อยไป ้ ้ บริ หารคนอื่นแนะนําคนอื่น การทอย่างนี้จึงจะประสบความสําเร็จในการบริ หาร ขันติความอดทนผูบริ หารต้องมีความอดทนอดกลั้นเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นหรื อมีอุปสรรค ้ ่ เกิดขึ้นไม่วาจะเป็ นความอดทนต่อความลําบากทางด้านร่ างกายที่จะต้องทํางานหนักหาเลี้ ยงครอบ ครัว นอกจากนี้ยงต้องอดทนต่อความลําบากทางใจด้วย เช่น เมื่อมีเรื่ องความขัดแย้งมากระทบจิตใจทํา ั ให้จิตใจเศร้าหมองขุ่นมัว อดทนต่อคําด่าว่ากล่าวตักเตือนจากคนในครอบครัว ถ้าผูบริ หารมีขนติ ้ ั ๔ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๒๙๖-๔๒๐/๒๒๙-๒๔๕, ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๙/๓/๖๓. ๕ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๓๒๑/๓๓, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๒๑/๑๓๓. ๖ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๘๐/๑๔, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๘๐/๕๓. ๗ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๒/๑๖๐-๑๖๔.
  • 4. ๔ ความอดทนจะทําให้การบริ หารงานมีประสิ ทธิภาพ เพราะความอดทนเป็ นบ่อเกิดแห่ งคุ ณธรรม ทั้งหลายอีกมากมาย ดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในโอวาทปาฏิโมกข์ว่า “ขนฺ ตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา ขันติ คือความอดทนอดกลั้นเป็ นตบะอย่างยิง” ๘ ่ เรื่ องของพระพุทธองค์ที่ถูกพวกรับจ้างจากพระนางคันทิยาพระมเหสีของพระเจ้าอุเทนใ ห้ม าด่ า พระพุท ธองค์ข ณะที่ เ ข้า ไปบิ ณ ฑบาตในพระนครจนพระอานนทเถระทนไม่ ไ หวทู ล เชิญพระองค์เสด็จไปเมืองอื่นพระพุทธองค์ตรัสว่าการทําอย่างนั้นไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่ถูกปั ญหาเกิด ที่ไหนต้อง แก้ที่นนแล้วพระองค์ก็อยูที่เมืองนั้นจนพวกที่ด่าหยุดด่าไปเอง ๙ ั่ ่ จากตัวอย่างนี้จะเห็นว่าความอดทนสามารถแก้ปัญหาที่ร้ายแรงให้กลับกลายเป็ นเบาและ หมดไปในที่สุด ครั้งหนึ่ งพระสารี บุตรเถระถู กพระภิกษุใหม่ รูปหนึ่ งติเตียนว่าเดิ นไปเหยียบชายจีว ร แล้ว ไม่ขอโทษแล้วนําเรื่ องนี้ ไปกราบทูลพระพุทธเจ้าพระองค์ตรัสเรี ยกพระสารี บุตรมาสอบถาม พระสารี บุ ต รยอมรั บ ว่า ไม่ ไ ด้มีเ จตนาแล้ว ลดตัว ลงขอขมาโทษต่ อ พระภิ ก ษุใ หม่ รู ป นั้น ทํา ให้ พระภิกษุรูปนั้นถึงกับอดกลั้นนํ้าตาไม่ไหวที่เห็นความเป็ นคนสุภาพอ่อนโยนของพระสารี บุตร ๑๐ 9 จากตัวอย่างเรื่ องนี้ จะเห็ นว่าความอดทนอดกลั้นต่อ ถ้อยคําด่าทอต่างๆ ทําให้เรื่ อ งร้าย กลายเป็ นดี ทาให้ศตรู กลายเป็ นมิ ตรทําให้เกิ ดความรักความสามัคคีข้ ึนในหมู่ คณะในสังคมและ ํ ั ประเทศชาติ ตัวอย่างการใช้ขนติความอดทนต่อความลําบากทางใจเช่นเรื่ องของทีฆาวุกุมารที่ปรากฏ ั ในพระวินัยปิ ฎกเล่ มที่ ๕ ความย่อว่า ทีฆาวุกุมารเป็ นโอรสของพระเจ้าทีฆีติ พระราชาแห่ งนคร โกศล ต่อมานครโกศลถูกพระเจ้าพรหมทัต พระราชาแห่ งนครพาราณสี ยกทัพมาตีและยึดเอาพระ ่ ราชบัลลังก์พระเจ้าทีฆีติ จึงสังให้ทีฆาวุกุมารหลบหนีไปอยูที่อื่น ส่วนพระองค์และพระมเหสี ปลอม ่ ตัวเป็ นชาวบ้าน อาศัยอยูในหมู่บานแห่ งหนึ่ ง ต่อมาถูกพระเจ้าพรหมทัตจับได้แล้วนําไปประหาร ่ ้ ชีวต ขณะที่ถูกนําตัวเดินประจานไปตามถนนนั้นทีฆาวุก็แฝงตัวอยูในหมู่มหาชนเมื่อเห็นพระบิดาถูก ิ ่ ทําทารุ ณอย่างนั้น ก็ทนไม่ไหว จึงวิงเข้าไปใกล้พระบิดา พระเจ้าทีฆีติ เห็นดังนั้นจึงห้ามด้วยถ้อยคําว่า ่ ทีฆาวุ เจ้าอย่าเห็นแก่ยาว อย่าเห็นแก่ส้ น เวรย่อมไม่ระงับด้วยการจองเวร พูดเตือนสติทีฆาวุกุมาร ั อย่างนี้ถึง ๓ ครั้ง จนทําให้พวกทหารเข้าใจว่าพระเจ้าทีฆีติบ่นเพ้อเพราะความกลัวต่อมรณภัยที่จะ มาถึง เมื่อพระบิดาพระมารดาถูกประหารชีวตทิงศพไว้อย่างน่าสลดสังเวช ทีฆาวุกุมารก็แอบไปนํา ิ ้ ร่ างของพระบิดาพระมารดามาทําฌาปนกิจ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วก็ไปขอสมัครเป็ นคนรับใช้คนเลี้ ยง ๘ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๑๘๔/๒๒, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๘๔/๙๐. ๙ ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑-๔/๑๕/๑๑๗. ๑๐ ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑-๔/๗๖/๓๓๙.
  • 5. ๕ ช้างของพระเจ้าพรหมทัต ต่อ มาได้รั บ ความไว้ว างใจจากพระเจ้า พรหมทัต จึ ง ได้เ ข้าไปรั บใช้อ ย่า งใกล้ชิ ด ใน ่ พระราชวัง อยูมาวันหนึ่งพระเจ้าพรหมทัตเสด็จไปล่าเนื้ อในป่ ากับพวกอํามาตย์โดยให้ทีฆาวุกุมาร เป็ นนายสารถีคนที่พระเจ้าพรหมทัตประทับทีฆาวุแกล้งเร่ งรถให้เร็ วเพื่อไม่ให้พวกอํามาตย์ติดตาม ั ทันแล้วพาพระเจ้าพรหมทัตเข้าป่ าลึก ด้วยความเหน็ดเหนื่ อยพระเจ้าพรหมทัตจึงบรรทมหลับไป บนตักของทีฆาวุกุมาร ทีฆาวุกุมารเมื่อเห็นว่าได้โอกาสแล้วจึงถอดพระขรรค์ออกมาหวังจะปลง พระชนม์ของพระเจ้าพรหมทัตได้เงื้อพระขรรค์ข้ ึนถึ ง ๓ ครั้งแต่ไม่กล้าเพราะระลึกถึ งคําพูดของ พระบิดา ขณะนั้นพระเจ้าพรหมทัตทรงสุ บินและตกใจตื่นขึ้นพร้อมกับแก้ความฝันให้ทีฆาวุกุมาร ฟังว่ากําลังจะถูกพระโอรสของพระเจ้าทีฆีติฆ่า พอพูดจบทีฆาวุกุมารก็เอามือข้างหนึ่งจับที่หมวยผม ของพระเจ้าพรหมทัตไว้ เอามื อข้างหนึ่ งเงื้อ พระขรรค์ข้ ึนเพื่อ จะปลงพระชนม์พระเจ้าพรหมทัต พระเจ้า พรหมทัต พระเจ้า พรหมทัต เห็ น ดั ง นั้ น ก็ ต กใจจึ ง ร้ อ งขอชี วิ ต ไว้ที ฆ าวุ กุ ม ารจึ ง ลด พระขรรค์ลงพร้อมกับหมอบลงแทบพระบาทของพระเจ้าพรหมทัตพูดว่าข้าพระองค์ต่างหากที่ตอง ้ ขอชีวตจากพระองค์พระองค์เป็ นเจ้าชีวตของข้าพระองค์ขอพระองค์จงไว้ชีวตให้แก่ขาพระองค์ดวย ิ ิ ิ ้ ้ พระเจ้าพรหมทัตและทีฆาวุกุมารต่างคนต่างก็ขอชี วิตจากกันและกัน ถือ ว่าเป็ นผูมีบุญคุ ณต่อกัน ้ แล้วทําปฏิญญาต่อกันว่าจะไม่เป็ นศัตรู ต่อกัน ด้วยความเป็ นคนอ่อนน้อมถ่อมตนและซื่ อสัตย์ของ ทีฆาวุกุมาร พระเจ้าพรหมทัตจึงยกพระธิดาให้เป็ นมเหสี ของทีฆาวุกุมารแล้วคืนพระราชสมบัติ ทุกอย่างที่เป็ นของพระบิดาของทีฆาวุกุม าร ต่อมาเมื่ อพระเจ้าพรหมทัตสวรรคต ทีฆาวุกุม ารได้ ครอบครองนครพาราณสี และนครโกศลพร้อมกัน ๑๑ จากตัวอย่างที่กล่าวมานี้ แสดงให้เห็นถึงอานิ สงส์ของขันติความอดทนสามารถทําศัตรู ให้เป็ นมิตรและยังเป็ นเหตุนามาซึ่งสมบัติอนยิงใหญ่สมกับพระพุทธพจน์ที่ได้ยกมาในเบื้องต้นนั้น ํ ั ่ จาคะความเสียสละในที่น้ ีมีความหมาย๒นัยคือนัยแรกเสียสละแบ่งปั นสิ่งของที่หามาได้ ให้แก่คนในครอบครัวอย่างเป็ นธรรมไม่ลาเอียง นัยที่สอง เสี ยสละหรื อสละอารมณ์ที่เป็ นข้าศึก ํ ต่อจิตใจที่ทาให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวอารมณ์โกรธความเคียดแค้นชิงชังความเกลียดความอาฆาตจอง ํ เวรความพยาบาทปองร้ายเป็ นต้นเมื่ออารมณ์เหล่านี้ เกิดขึ้นต้องเสี ยสละออกไปจากจิตใจไม่ปล่อย ่ ให้อารมณ์เหล่านี้อยูในจิตใจนานเพราะจะทําให้เสี ยสุ ขภาพกายและใจเป็ นอุปสรรคต่อการบริ หารงาน การสละสิ่ ง ของของตนให้ค นอื่ น ที่ ค วรให้เ ป็ นเรื่ อ งที่ พ ระพุท ธองค์ท รงสรรเสริ ญ และยกย่อ ง ดังที่พระองค์ได้วางหลักการปฏิบติไว้สาหรับพวกภิกษุท้งหลายว่าให้แบ่งปั นเอกลาภที่เกิดขึ้นในวัด ั ํ ั แก่ภิกษุที่มาถึงเช่นทรงอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์ทาการอปโลกกรรมแบ่งปั นสิ่งของให้ถึงแก่สงฆ์ทุกรู ป ํ ่ ตามลําดับพรรษา ทรงบัญญัติพระวินยไว้ให้ภิกษุสละผ้าจีวรที่อยูปราศจากคือปล่อยให้ผาอยูที่หนึ่ ง ั ้ ่ ๑๑ ดูรายละเอียดใน วิ.ม. (ไทย) ๕/๔๕๘-๔๖๓/๓๔๓-๓๕๓.
  • 6. ่ ตัวเองอยูที่หนึ่ งจนอรุ ณของวันใหม่ข้ ึนไป ทําให้ผานั้นเป็ นนิ สสัคคียคือเป็ นผ้าที่ควรสละเสี ยก่อน ้ ์ ส่วนตัวภิกษุเป็ นอาบัติปาจิตตียตองนําผ้าผืนนั้นไปทําพิธีสละให้เป็ นสมบัติของภิกษุรูปอื่นเสี ยก่อน ์้ แล้ ว ให้ ภิ ก ษุ รู ปนั้ นคื น ให้ ใ นภายหลั ง จึ ง แสดงอาบัติ ต่ อ หน้ า ภิ ก ษุ รู ป นั้ นหรื อ รู ป อื่ น ก็ ไ ด้ การทําอย่างนั้นจึงจะพ้นจากอาบัติที่ตองนั้น้ มีขอความปรากฏในปราภวสูตร ๑๒ตอนหนึ่งว่าผูที่มีของเหลือกินเหลือใช้ไม่แบ่งปั นให้ ้ ้ คนอื่นหรื อคนรอบข้างกลับใช้สอยสิ่งเหล่านั้นเพียงผูเ้ ดียวพระพุทธองค์ตรัสว่าการทําอย่างนั้นเป็ น ทางแห่งความเสื่อมของคนนั้น ในทางพระพุ ท ธศาสนาการสละแบ่ ง ปั น สิ่ ง ของของตนให้ ค นอื่ น หรื อ การถวาย สิ่ ง ของของตนให้ เ ป็ นทานแก่ ส งฆ์ ห รื อแก่ บุ ค คลเป็ นอุ บ ายเครื่ องละกิ เ ลสอย่ า งหยาบ คือความตระหนี่ออกจากจิตใจของตนทําให้จิตใจของตนเป็ นอิสระจากความตระหนี่ ซ่ ึ งเป็ นเครื่ อง ผูกพันจิ ตใจอย่างหนึ่ ง ในโอวาทปาฏิโมกข์ซ่ ึ งเป็ นคําสอนที่ถือ ว่าเป็ นหัวใจหลักของพระพุท ธ ศาสนาที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระอรหันต์สาวกจํานวน ๑,๒๕๐ รู ปที่มาประชุมกันที่พระเวฬุวน ั อุ ท ยานป่ าไผ่ ที่ พ ระเจ้า พิ ม พิ ส ารถวายให้ เ ป็ นที่ ป ระทับ ของพระพุ ท ธเจ้า และพระสาวกนั้ น พระองค์ได้แนะนําให้สละอารมณ์ที่เป็ นข้าศึกแก่จิตใจด้วยการให้ชาระจิตใจของตนให้สะอาดให้ ํ ผ่ อ งใสจากเครื่ องเศร้ า หมองทั้ ง หลาย เครื่ องเศร้ า หมองในที่ น้ ี คื อ กิ เ ลสทั้ งหลาย เช่ น ความกําหนัดยินดีใน รู ป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่มากระทบ ตา หู จมูก ลิ้น และร่ างกาย ความโกรธ ความอาฆาต ความพยาบาทปองร้าย สิ่ งเหล่านี้ ทาให้จิตใจเศร้าหมองไม่ปลอดโปร่ ง บดบังปั ญญา ํ ปิ ดกั้นไม่ให้ คนบรรลุถึงความดีที่ควรจะได้ เมื่อผูนาเข้าใจหลักการเหล่านี้แล้วนําไปบริ หารตนเอง บริ หารงานในครอบครัว และใน ้ ํ ่ องค์การที่ตนรับผิดชอบอยูจะทําให้การบริ หารงานประสบ ความสําเร็ จตามที่ต้ งใจไว้ มีหลักฐาน ั ตามที่ได้ศึกษามานี้และตามหลักฐานที่พระพุทธองค์ได้ตรัสแก่อาฬวกยักษ์ในอาฬวกสูตรตอนหนึ่งว่า ในโลกนี้ เหตุให้ได้เกียรติที่ยงไปกว่า สัจจะ ก็ดี ิ่ เหตุให้มีปัญญาที่ยงไปกว่า ทมะ ก็ดี ิ่ เหตุให้ผกมิตรสหายไว้ได้ที่ยงไปกว่า จาคะ ก็ดี ู ิ่ เหตุให้หาทรัพย์ได้ที่ยงไปกว่า ขันติ ก็ดี มีอยูหรื อไม่ ๑๓ ิ่ ่ 12 เมื่ อ พระพระพุทธองค์ตรัสถามจบ อาฬวกยักษ์กราบทูล ว่า ไม่มีสิ่งใดที่จะยิ่งไปกว่า หลักธรรมทั้ง ๔ อย่างนี้ คือ ไม่มีเหตุอื่นที่จะให้ได้เกียรติยงไปกว่า สัจจะ ความซื่ อสัตย์ ไม่มีเหตุอื่น ิ่ ๑๒ ขุ.สุตฺต. (ไทยป ๒๕/๑๐๒/๕๒๕. ๑๓ ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๑๙๑/๕๔๕.
  • 7. ๗ ที่จะให้เกิดปั ญญายิงไปกว่า ทมะ การฝึ กฝนอบรมตน ไม่มีเหตุอื่นที่จะผูกมิตรไว้ได้ยงไปกว่า จาคะ ่ ิ่ การเสียสละแบ่งปั น ไม่มีเหตุอื่นที่จะทําให้หาทรัพย์ได้ยงไปกว่า ขันติ ความอดทน ิ่ ๔. การนําหลักฆราวาสธรรมไปประยุกต์ ใช้ ในชีวิตประจําวัน ๑) บิดามารดา นายจ้างกับลูกจ้าง มีความซื่ อสัตย์ต่อกัน สามีไม่ปิดบังภรรยา ไม่นอกใจ ภรรยา ภรรยาไม่นอกใจสามี มีความซื่อสัตย์ต่อกัน พูดความจริ งต่อกัน ไม่โกหกหลอกลวงกัน บิดา มารดา มีความซื่อสัตย์ต่อบุตรธิดา เช่น รับปากว่า จะให้สิ่งของอย่างใดอย่างหนึ่ งต้องทําตามสัญญา ที่ให้ไว้ จะทําให้บุตรธิดา เกิดความเชื่อมั่นในบิดามารดา บุตรธิดา มีความซื่ อสัตย์ต่อบิดามารดา เช่น ไม่โกหกเพื่อให้บิดามารดาให้สิ่งของเกินความจําเป็ น รับปากว่าจะทําสิ่ งนั้นสิ่ งนี้ ให้ ต้องทํา ตามที่รับปากไว้ กรณี ของนายจ้างกับลูกจ้างก็ให้ปฏิบติตามนัยที่กล่าวมานี้เหมือนกัน ั ๒) ผูบ ริ ห ารหรื อ ผูเ้ ป็ นหัว หน้า ครอบครั ว หรื อ องค์ก รต้อ งหมั่น ฝึ กฝนอบรมตนอยู่ ้ ตลอดเวลา เพื่อ ที่จะได้เรี ยนรู ้ หลักการบริ หารใหม่ ๆ มาบริ หารคนในครอบครั วและองค์กรให้ เจริ ญก้าวหน้ายิงๆ ขึ้น การฝึ กฝนอบรมตนเองจะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีในตัวเอง และ ่ ั จะสร้างความน่ าเชื่อถือให้กบตนเอง เมื่อได้รับความเชื่อถือแล้วการสั่งงานหรื อการดําเนิ นกิจการ ่ ใดๆ ก็จะเป็ นไปโดยสะดวก ไม่มีอุปสรรคขัดขวาง การฝึ กตนเองมีอยูหลายวิธี เช่น การเรี ยนรู ้ตาม ตํารา การสอบถามจากคนผูมีประสบการณ์โดยตรง การลงมือทดลองปฏิบติดวยตนเอง เป็ นต้น วิธี ้ ั ้ เหล่านี้จะช่วยให้เกิดการพัฒนาตนเองเป็ นอย่างดี ๓) ผูบริ หารหรื อ ผูเ้ ป็ นหัวหน้าครอบครัวหรื อองค์กรต้อ งมี ความหนักแน่ นมันคง ไม่ ้ ่ ่ ้ หวันไหวเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นในครอบครัวหรื อองค์กร ธรรมดาการอยูดวยกันหลายคนย่อมจะมีการ ่ กระทบกระทังกันบ้าง ทั้งทางกิริยาท่าทางและทางวาจา ต้องอดทนต่อ กิริยานั้นๆ ให้ได้ไม่แสดง ่ อาการอันไม่พงประสงค์ออกมา ที่จะทําให้เกิดความขาดความเชื่อมันในผูบริ หาร หรื อผูนา ปั ญหา ึ ่ ้ ้ ํ บางอย่างไม่สามารถแก้ไขได้ดวยเหตุผลหรื อวิธีการ เช่น ปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวหรื อองค์ ้ ต้องอาศัยกาลเวลาเป็ นตัวแก้ปัญหา ลักษณะอย่างนี้ผบริ หารต้องอาศัย ขันติ ความอดทน ู้ ๔) ผูบริ หารต้อ งเสี ยสละแบ่งปั นผลประโยชน์ที่เกิ ดขึ้นในครอบครัวหรื อ ในองค์กร ้ ให้แก่สมาชิกอย่างเป็ นธรรม ไม่ลาเอียง คือไม่เห็นแก่หน้า เช่น ไม่คานึ งถึงว่า สมาชิกคนนั้นจะเป็ น ํ ํ ใคร ทุกคนควรที่จะได้ส่วนแบ่งตามสิทธิและหน้าที่ของตน สมาชิกในครอบครัวหรื อในองค์กรทุก คนก็ตองรู ้จกเสี ยสละแบ่งปั นสิ่ งของของตนให้แก่สมาชิกคนอื่นบ้างตามสมควรแก่ฐานะของตน ้ ั ั และเสียสละแบ่งปั นความมีน้ าใจต่อกัน ให้อภัยแก่กนและกันในบางเรื่ องที่เห็นว่าสมาชิกบางคนทํา ํ ผิดหรื อไม่เหมาะสม
  • 8. ๘ ๕. บทสรุป จากการศึกษาวิเคราะห์การบริ หารงานตามหลักฆราวาสธรรม นี้ พอสรุ ปได้ว่า ฆราวาส ธรรมเป็ นธรรมมีความสําคัญต่อการดําเนินชีวตทั้งผูบริ หารและผูปฏิบติตาม เพราะต่างก็อาศัยซึ่ งกัน ิ ้ ้ ั และกัน ผูนาและผูตามในเบื้องต้นต้องมี สัจจะ ความซื่ อสัตย์ต่อกันจึงจะทํางานร่ วมกันได้ ถ้าฝ่ าย ้ ํ ้ หนึ่ งฝ่ ายใดไม่ซื่อ สัตย์ ก็จะเกิดความบาดระแวงต่อกัน การสั่งงานของผูบริ หาร ก็จะไม่ไ ด้รับการ ้ สนองงานจากผูปฏิบติตาม ผลก็คือจะทําให้งานนั้นไม่ประสบความสําเร็จตามที่ต้งใจไว้ ้ ั ั ดังนั้น สัจจะ จึงเป็ นธรรมที่ท าให้เกิ ดความเชื่ อ มั่นต่อ กันของคนในครอบครัวและ ํ องค์กร สัจจะ ถ้าเปรี ยบเป็ นบ้านเรื อนก็เปรี ยบเหมือนเสาหลักของบ้าน บ้านเรื อนถ้าเสาหลักมันคง ่ แล้วจึงจะทําให้เครื่ องประกอบอื่นๆ ตั้งอยูได้ ่ ทมะ เป็ นธรรมเครื่ อ งข่ ม ใจหรื อ ฝึ กฝนตนเอง ผูเ้ ป็ นหัวหน้า ครอบครัว หรื อ หัว หน้า องค์กร ฝึ กฝนอบรมตนเองอย่างสมํ่าเสมอจะทําให้นาพาครอบครัวหรื อองค์ไปสู่ ความเจริ ญรุ่ งเรื อง ํ ่ ได้ หรื อถ้าสมาชิกแต่ละคนหมันฝึ กฝนพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา จะทําให้ครอบครัวเจริ ญรุ่ งเรื อง ่ ขึ้นตามลําดับ เพราะการพัฒนาตัวเองอยูบ่อยๆ จะก่อให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ ขึ้น สามารถนํามา ่ บริ หารครอบครั วหรื อ องค์การให้เจริ ญยิ่งขึ้น ทมะ จึงเปรี ยบเหมื อ นบ้านที่ไ ด้รับการออกแบบ ตกแต่งอย่างสวยงามและได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างสมํ่าเสมอ ทําให้บานดูสวยงามอยูตลอดเวลา ้ ่ ขันติ เป็ นธรรมที่ทาให้คนในครอบครัวและองค์กร มีความหนักแน่ นมันคงพร้อมที่จะ ํ ่ ฝ่ าฟันปั ญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้น อย่างอดทนและยืนหยัด ไม่ทอดธุระกลางครัน ผูที่มีความ ้ อดทนจะได้รับความเชื่อมันจากคนรอบข้างหรื อในครอบครัว และองค์กร เพราะบางสถานการณ์ที่ ่ เกิ ดขึ้น ถ้าผูบริ หารมี ความหวันไหว ไม่ อ ดทนจะทําให้การบริ หารงานล้มเหลวได้ จะทําให้ขาด ้ ่ ความเชื่ อ ถื อ จากผูตาม ขันติ เปรี ยบเหมื อ นตัวบ้านที่แข็งแรง จึงสามารถต้านทานลม ฝน และ ้ แสงแดดได้ จาคะ ความเสียสละ เป็ นธรรมที่ทาให้คนในครอบครัวหรื อองค์กรมีน้ าใจต่อกันและกัน ํ ํ ไม่เอารัดเอาเปรี ยบกัน มีผลประโยชน์เกิดขึ้นก็แบ่งกันตามสัดส่ วนที่เหมาะสมกับตําแหน่ งหน้าที่ อีกนัยหนึ่ง จาคะ ยังหมายถึงการเสียสละอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความบาดหมางขุ่นเคืองต่อกัน ให้อภัย ั ่้ แก่กนและกัน เป็ นหลักธรรมที่ทาให้คนในครอบครัวหรื อในองค์กรอยูดวยกันอย่างมีความสุข ํ
  • 9. หนังสื ออ้างอิง มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิ ฏกํ. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐. __________. พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุ งเทพมหานคร : โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. __________. อรรถกถาบาลี ฉบับ มหาจุฬ าอฏฺ ฐกถา. กรุ ง เทพมหานคร : โรงพิม พ์ว ิญ ญาณ, ๒๔๙๙,๒๕๓๓-๒๕๓๔. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกพร้ อมอรรถกถาแปล. ชุด ๙๑ เล่ ม. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒. กรุ งเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชันส์, ๒๕๔๖. ่ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครั้งที่ ๑๖. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔. พระมหาบุญมี มาลาวชิ โร. พุทธบริ หาร. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษท ธิ งค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จํากัด, ั ๒๕๕๓. ชาย สั ญ ญาวิ ว ัฒ น์ , สั ญ ญา สั ญ ญาวิ ว ัฒ น์ . การบริ ห ารจั ด การแนวพุ ท ธ. พิ ม พ์ค รั้ งที่ ๒. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑.