SlideShare a Scribd company logo
1
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
วณิชชา แม่นยา, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช, ชไมพร ศรีสุราช *
(ที่มาของภาพ [1]http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg
[2]http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg )
ความสาคัญและสภาพปัญหาของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
การเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ได้ปรับเปลี่ยนจากระบบการเรียนการสอนที่ครูเป็น
ผู้บรรยายแต่ผู้เดียว มาเป็นการใช้เทคโนโลยีควบคู่ไปกับการสอน และครูเปลี่ยนบทบาทจากผู้ให้
ความรู้ เป็นผู้ชี้แนะ การเรียนการสอนแบบเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางไม่สามารถช่วยให้นักเรียนเกิด
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้ดีพอ [3] ดังนั้นครูจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและเข้าใจ
บทบาทของนักเรียนและครูที่ถูกต้อง เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะที่สาคัญและจาเป็นอยู่เสมอ จะ
ช่วยพัฒนาให้นักเรียนมีความพร้อมในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขในศตวรรษที่ 21 ที่สิ่งแวดล้อม
รอบตัวมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ทั้งความเร็ว และความเสถียร การนาเอา
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาเป็นเครื่องมือในการศึกษา คงเป็นสิ่งที่หลีกเลียงไม่ได้ เพราะ
แหล่งความรู้ต่างๆ ไม่ได้อยู่ในห้องสมุดแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่มีอยู่มากมายในโลกที่สามารถ
สืบค้นได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา
* นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
เมื่อมีการเชื่อมโยงถึงกัน เราเรียกว่าการเกิดสังคม หากสังคมนั้น ไม่ได้จากัดเพียงแค่
ระยะทาง แต่เป็นการเชื่อมโยงผู้คนเข้าด้วยกันผ่านระบบเครือข่ายฯ โดยเรียกเว็บไซต์ที่เป็น
สื่อกลางให้บริการข้อมูลข่าวสารประเภทนี้ว่า “โซเชียลเน็ตเวิร์ค” และเรียกข้อมูลบนโซเชียล
เน็ตเวิร์คว่า “โซเชียลมีเดีย” ซึ่งสถิติการใช้ [4] เว็บไซต์ประเภทนี้ของไทยในปี 2554-2555 ที่ผ่านมา
พบว่า มีการใช้งานเว็บไซต์ facebook เป็นอันดับหนึ่ง และมีการใช้บริการประเภทวิดีโอ คือ
เว็บไซต์ youtube อยู่ในอันดับต้นๆ จะเห็นได้ว่า คนไทยใช้เว็บไซต์ประเภท “โซเชียลมีเดีย” หรือที่
เราเรียกว่า “เครือข่ายสังคม” เป็นส่วนหนึ่งของกิจวัตรประจาวัน
(ที่มาของภาพ [9] http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media-people.jpg )
หากครูจะนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียน
การสอนให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เปลี่ยนการจัดการสอนแบบเดิมๆ ที่ครูเป็น
เพียงแหล่งความรู้แหล่งเดียว ให้เป็นนักเรียนสามารถสืบค้นความรู้จากแหล่งต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย
ได้ด้วยตนเอง โดยที่ครูจะต้องชี้แนะว่าแหล่งข้อมูลใดน่าชื่อถือ และสามารถนามาอ้างอิงได้ รวมทัง
ใช้เว็บไซต์ประเภทเครือข่ายสังคมเป็นสื่อกลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงทัศนะ
หรือสร้างองค์ความรู้ของตนเอง อีกทั้งยังช่วยลดช่องว่างระหว่างครูและนักเรียนอีกด้วย
ผลลัพธ์ที่ปรากฏ
ในปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน [6]
ดาเนินการจัดอบรมเพื่อกระตุ้นให้ครูไทย พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการใช้ social media ในการ
จัดการเรียนรู้ โดยเล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมและผลักดันให้ครูสามารถนาเครื่องมือออนไลน์
ที่มีอยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดเป็นเครือข่ายและเกิดความ
ร่วมมือกันระหว่างครูกับครู นักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน โดยไม่มีข้อจากัดเรื่อง
เวลา และสถานที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด นับเป็นยุคเว็บ 2.0 [7] ที่นักการศึกษา
3
จาเป็นต้องตระหนัก เข้าใจ และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญแห่งนี้ เพื่อตอบรับกับการเปลี่ยนแปลง
ของโลกในปัจจุบันและอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
เครื่องมือออนไลน์ที่มีอยู่อย่างหลากหลายบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประสิทธิภาพสาหรับการใช้
งานที่แตกต่างกัน โดยนับวันจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คาถามคือ เราจะนา
เครื่องมือเหล่านี้มา สร้างให้เกิดแหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับนักเรียนได้อย่างไร โดยที่ครู
สามารถดึงเครื่องมือเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรมและอย่าง
ยั่งยืน การที่ครูมีความเข้าใจในเทคนิค/แทคติค ของเครื่องมือ ผนวกกับ กลยุทธ์การสอน และสร้าง
ให้เกิดเป็นรูปแบบที่น่าสนใจสาหรับนักเรียนนั้น นับเป็นสิ่งที่ท้าทายสาหรับครูเป็นอย่างยิ่ง
โดยเครื่องมือ ที่ทาง สทร. แนะนาให้ครูได้ปรับเอาไปใช้ [8] ได้แก่
Wordpress : คือ เว็บไซต์สาเร็จรูป เพื่อใช้
สร้างบล็อกส่วนตัว หรือในแต่ละรายวิชา ได้
Facebook : คือ เว็บไซต์สาหรับกระดานข่าว
ให้ครูและนักเรียนสามารถสื่อสารและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันได้
Twitter : ใช้ในการสื่อสารข้อความสั้นๆ
คล้าย SMS สามารถ โต้ตอบกันได้อย่าง
รวดเร็ว
Youtube : เว็บไซต์ที่ใช้ ในการแบ่งปันไฟล์
วีดีโอ
Slideshare : ใช้ในการแบ่งบันไฟล์
Scribd : เว็บไซต์ที่ใช้ในการแบ่งปันไฟล์
เอกสาร เช่น ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึก
(ที่มาของภาพ [10] http://www.gooddata.com/wp-content/uploads/2013/01/We-Speak-Social-Media.png)
ผลกระทบต่อการศึกษาไทย
ในการใช้โซเชียลมีเดีย หรือเครือข่ายสังคมกับการจัดการศึกษาไทย อาจเป็นได้ทั้งคุณและ
โทษ หากครูไม่มีการจัดการที่ดี เพราะนักเรียนอาจยังไม่สามารถควบคุมหรือกากับตนเองให้ใช้งาน
ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งข้อดีและข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอนพอสรุปได้ดังนี้
ข้อดีของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน
หากมีการใช้งานในทางที่ถูกต้อง จะส่งผลดีต่อทั้งครูและนักเรียน [5] ดังนี้
1. เป็นการเสริมสร้างสติปัญญาความรู้ ( Intellectual Benefit )
2. ก่อให้เกิดกระบวนการสื่อสาร การมีส่วนร่วม รวมทั้งการสร้างสังคมประกิต
(Benefits for Communication , Collaboration and Socialization )
4
3. เป็นการเสริมสร้างแรงจูงใจ ( Motivational Benefits )
4. ปรับสภาพแวดล้อมการเรียนแบบเปิด ง่ายต่อการเชื่อมโยง สร้างความสัมพันธ์
ระหว่างสังคมในชั้นห้องเรียน
5. สนับสนุนและรองรับการสื่อสาร 2 ทาง สามารถนามาประยุกต์ใช้ในวิธีการ
จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย (collaborative learning, small group learning and other co-
creation of knowledge)
ข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน
เมื่อมีข้อดี ก็ย่อมมีข้อเสีย ดังนี้
1. ความไม่มั่นใจในความเสถียรและความคงอยู่ของเว็บ
2. การเชื่อมโยงระบบและข้อมูลผู้ใช้เพื่อการทางานร่วมกันในสถานศึกษา
3. ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของข้อมูล
4. อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อาจมีราคาสูง
5. การขาดวิจารณญาณในการสืบค้นข้อมูล และการรับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลไป
ถึงการขาดวิจารณญาณในการนาเสนอข้อมูล ซึ่งอาจทาให้เนื้อหาของนักเรียนผิดพลาดได้
แนวทางและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา
หากครูยังไม่สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม และใช้เทคโนโลยี
ที่มีอยู่ไม่คุ้มค่าตามงบประมาณที่รัฐบาลสนับสนุน การเลือกใช้เครื่องมือโซเชียลมีเดียที่ไม่เหมาะสม
กับรูปแบบหรือกิจกรรมการเรียนการสอน จะส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถพัฒนาความรู้และทักษะที่
ต้องการได้เต็มศักยภาพ
(ที่มาของภาพ [11] http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg)
5
นักเรียนที่ใช้งานโซเชียลมีเดียไปในทางที่ไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อคุณธรรม
จริยธรรมและระบบการศึกษา ดังนั้นครูจึงควรสร้างความรู้เท่าทันสื่อ เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการ
สร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภคสื่อ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ในการเปิดรับเนื้อหาผ่านสื่อในเชิง
วิเคราะห์วิพากษ์ และประเมินสื่อ การสร้างความรู้เท่าทันสื่อนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเกิดจากการ
เรียนรู้ของเด็กผ่านการชี้แนะของครูและผู้ปกครอง รวมถึงการพัฒนาความคิดในเชิงวิเคราะห์
วิพากษ์ของเด็กเองผ่านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนั่นเอง
อ้างอิง
[1] ภาพ : http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg
[2] ภาพ : http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg
[3] วิจารย์ พานิช. (2555). ครูเพื่อศิษย์.
[4] Thailand Social Network 2013. (2013). Online :
http://mobiledista.com/media/2013/05/infographic-social-network-in-thailand-q1-2013.jpg
[5] Poore, M. ( 2013). Using Social Media in the Classroom : A Best Practice Guide.
London : SAGE.
[6] สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน. (2552). โครงการก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย
Social Media. สืบค้นออนไลน์ จาก http://thaismedu.com/.
[7] Jeff Dunn. (2011). The 100 Best Web 2.0 Classroom Tools Chosen By You. Online :
http://www.edudemic.com/best-web-tools/
[8] การนา Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. (2556). สืบค้นออนไลน์จาก
http://kasmos52.wordpress.com
[9] ภาพ2 : http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media-
people.jpg
[10] ภาพ3 ; http://www.gooddata.com/wp-content/uploads/2013/01/We-Speak-Social-
Media.png
[11] ภาพ4 : http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg

More Related Content

What's hot

ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
Prachyanun Nilsook
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
Watermalon Singha
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
Taraya Srivilas
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
Jindarat JB'x Kataowwy
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร
Por Oraya
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtthitinanmim115
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
Sircom Smarnbua
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
moohhack
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (20)

ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 

Viewers also liked

โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
KruBeeKa
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
KruBeeKa
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
KruBeeKa
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
KruBeeKa
 
Book v9.1
Book v9.1Book v9.1
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
KruBeeKa
 

Viewers also liked (8)

โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
Book v9.1
Book v9.1Book v9.1
Book v9.1
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 

Similar to โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย

บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
Duangnapa Inyayot
 
Increasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education byIncreasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education byBonita Kamthae
 
Increasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education byIncreasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education byBonita Kamthae
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
Teemtaro Chaiwongkhot
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher educationoajirapa
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อAnn Pawinee
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
Thamonwan Kottapan
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Sattakamon
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Kanatip Sriwarom
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาAiijoo Yume
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
Palmchuta
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4Tiger Saraprung
 

Similar to โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย (20)

บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
Increasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education byIncreasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education by
 
Increasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education byIncreasing importance of social media in education by
Increasing importance of social media in education by
 
cai
cai cai
cai
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อ
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
 

More from KruBeeKa

10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
KruBeeKa
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
KruBeeKa
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
KruBeeKa
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
KruBeeKa
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
KruBeeKa
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
KruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
KruBeeKa
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
KruBeeKa
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
KruBeeKa
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
KruBeeKa
 

More from KruBeeKa (12)

10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย

  • 1. 1 โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย วณิชชา แม่นยา, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช, ชไมพร ศรีสุราช * (ที่มาของภาพ [1]http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg [2]http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg ) ความสาคัญและสภาพปัญหาของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา การเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ได้ปรับเปลี่ยนจากระบบการเรียนการสอนที่ครูเป็น ผู้บรรยายแต่ผู้เดียว มาเป็นการใช้เทคโนโลยีควบคู่ไปกับการสอน และครูเปลี่ยนบทบาทจากผู้ให้ ความรู้ เป็นผู้ชี้แนะ การเรียนการสอนแบบเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางไม่สามารถช่วยให้นักเรียนเกิด ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้ดีพอ [3] ดังนั้นครูจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและเข้าใจ บทบาทของนักเรียนและครูที่ถูกต้อง เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะที่สาคัญและจาเป็นอยู่เสมอ จะ ช่วยพัฒนาให้นักเรียนมีความพร้อมในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขในศตวรรษที่ 21 ที่สิ่งแวดล้อม รอบตัวมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ทั้งความเร็ว และความเสถียร การนาเอา ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาเป็นเครื่องมือในการศึกษา คงเป็นสิ่งที่หลีกเลียงไม่ได้ เพราะ แหล่งความรู้ต่างๆ ไม่ได้อยู่ในห้องสมุดแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่มีอยู่มากมายในโลกที่สามารถ สืบค้นได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา * นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. 2 เมื่อมีการเชื่อมโยงถึงกัน เราเรียกว่าการเกิดสังคม หากสังคมนั้น ไม่ได้จากัดเพียงแค่ ระยะทาง แต่เป็นการเชื่อมโยงผู้คนเข้าด้วยกันผ่านระบบเครือข่ายฯ โดยเรียกเว็บไซต์ที่เป็น สื่อกลางให้บริการข้อมูลข่าวสารประเภทนี้ว่า “โซเชียลเน็ตเวิร์ค” และเรียกข้อมูลบนโซเชียล เน็ตเวิร์คว่า “โซเชียลมีเดีย” ซึ่งสถิติการใช้ [4] เว็บไซต์ประเภทนี้ของไทยในปี 2554-2555 ที่ผ่านมา พบว่า มีการใช้งานเว็บไซต์ facebook เป็นอันดับหนึ่ง และมีการใช้บริการประเภทวิดีโอ คือ เว็บไซต์ youtube อยู่ในอันดับต้นๆ จะเห็นได้ว่า คนไทยใช้เว็บไซต์ประเภท “โซเชียลมีเดีย” หรือที่ เราเรียกว่า “เครือข่ายสังคม” เป็นส่วนหนึ่งของกิจวัตรประจาวัน (ที่มาของภาพ [9] http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media-people.jpg ) หากครูจะนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เปลี่ยนการจัดการสอนแบบเดิมๆ ที่ครูเป็น เพียงแหล่งความรู้แหล่งเดียว ให้เป็นนักเรียนสามารถสืบค้นความรู้จากแหล่งต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย ได้ด้วยตนเอง โดยที่ครูจะต้องชี้แนะว่าแหล่งข้อมูลใดน่าชื่อถือ และสามารถนามาอ้างอิงได้ รวมทัง ใช้เว็บไซต์ประเภทเครือข่ายสังคมเป็นสื่อกลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงทัศนะ หรือสร้างองค์ความรู้ของตนเอง อีกทั้งยังช่วยลดช่องว่างระหว่างครูและนักเรียนอีกด้วย ผลลัพธ์ที่ปรากฏ ในปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน [6] ดาเนินการจัดอบรมเพื่อกระตุ้นให้ครูไทย พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการใช้ social media ในการ จัดการเรียนรู้ โดยเล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมและผลักดันให้ครูสามารถนาเครื่องมือออนไลน์ ที่มีอยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดเป็นเครือข่ายและเกิดความ ร่วมมือกันระหว่างครูกับครู นักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน โดยไม่มีข้อจากัดเรื่อง เวลา และสถานที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด นับเป็นยุคเว็บ 2.0 [7] ที่นักการศึกษา
  • 3. 3 จาเป็นต้องตระหนัก เข้าใจ และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญแห่งนี้ เพื่อตอบรับกับการเปลี่ยนแปลง ของโลกในปัจจุบันและอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เครื่องมือออนไลน์ที่มีอยู่อย่างหลากหลายบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประสิทธิภาพสาหรับการใช้ งานที่แตกต่างกัน โดยนับวันจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คาถามคือ เราจะนา เครื่องมือเหล่านี้มา สร้างให้เกิดแหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับนักเรียนได้อย่างไร โดยที่ครู สามารถดึงเครื่องมือเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรมและอย่าง ยั่งยืน การที่ครูมีความเข้าใจในเทคนิค/แทคติค ของเครื่องมือ ผนวกกับ กลยุทธ์การสอน และสร้าง ให้เกิดเป็นรูปแบบที่น่าสนใจสาหรับนักเรียนนั้น นับเป็นสิ่งที่ท้าทายสาหรับครูเป็นอย่างยิ่ง โดยเครื่องมือ ที่ทาง สทร. แนะนาให้ครูได้ปรับเอาไปใช้ [8] ได้แก่ Wordpress : คือ เว็บไซต์สาเร็จรูป เพื่อใช้ สร้างบล็อกส่วนตัว หรือในแต่ละรายวิชา ได้ Facebook : คือ เว็บไซต์สาหรับกระดานข่าว ให้ครูและนักเรียนสามารถสื่อสารและ แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันได้ Twitter : ใช้ในการสื่อสารข้อความสั้นๆ คล้าย SMS สามารถ โต้ตอบกันได้อย่าง รวดเร็ว Youtube : เว็บไซต์ที่ใช้ ในการแบ่งปันไฟล์ วีดีโอ Slideshare : ใช้ในการแบ่งบันไฟล์ Scribd : เว็บไซต์ที่ใช้ในการแบ่งปันไฟล์ เอกสาร เช่น ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึก (ที่มาของภาพ [10] http://www.gooddata.com/wp-content/uploads/2013/01/We-Speak-Social-Media.png) ผลกระทบต่อการศึกษาไทย ในการใช้โซเชียลมีเดีย หรือเครือข่ายสังคมกับการจัดการศึกษาไทย อาจเป็นได้ทั้งคุณและ โทษ หากครูไม่มีการจัดการที่ดี เพราะนักเรียนอาจยังไม่สามารถควบคุมหรือกากับตนเองให้ใช้งาน ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งข้อดีและข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอนพอสรุปได้ดังนี้ ข้อดีของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน หากมีการใช้งานในทางที่ถูกต้อง จะส่งผลดีต่อทั้งครูและนักเรียน [5] ดังนี้ 1. เป็นการเสริมสร้างสติปัญญาความรู้ ( Intellectual Benefit ) 2. ก่อให้เกิดกระบวนการสื่อสาร การมีส่วนร่วม รวมทั้งการสร้างสังคมประกิต (Benefits for Communication , Collaboration and Socialization )
  • 4. 4 3. เป็นการเสริมสร้างแรงจูงใจ ( Motivational Benefits ) 4. ปรับสภาพแวดล้อมการเรียนแบบเปิด ง่ายต่อการเชื่อมโยง สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างสังคมในชั้นห้องเรียน 5. สนับสนุนและรองรับการสื่อสาร 2 ทาง สามารถนามาประยุกต์ใช้ในวิธีการ จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย (collaborative learning, small group learning and other co- creation of knowledge) ข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน เมื่อมีข้อดี ก็ย่อมมีข้อเสีย ดังนี้ 1. ความไม่มั่นใจในความเสถียรและความคงอยู่ของเว็บ 2. การเชื่อมโยงระบบและข้อมูลผู้ใช้เพื่อการทางานร่วมกันในสถานศึกษา 3. ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของข้อมูล 4. อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อาจมีราคาสูง 5. การขาดวิจารณญาณในการสืบค้นข้อมูล และการรับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลไป ถึงการขาดวิจารณญาณในการนาเสนอข้อมูล ซึ่งอาจทาให้เนื้อหาของนักเรียนผิดพลาดได้ แนวทางและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา หากครูยังไม่สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม และใช้เทคโนโลยี ที่มีอยู่ไม่คุ้มค่าตามงบประมาณที่รัฐบาลสนับสนุน การเลือกใช้เครื่องมือโซเชียลมีเดียที่ไม่เหมาะสม กับรูปแบบหรือกิจกรรมการเรียนการสอน จะส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถพัฒนาความรู้และทักษะที่ ต้องการได้เต็มศักยภาพ (ที่มาของภาพ [11] http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg)
  • 5. 5 นักเรียนที่ใช้งานโซเชียลมีเดียไปในทางที่ไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อคุณธรรม จริยธรรมและระบบการศึกษา ดังนั้นครูจึงควรสร้างความรู้เท่าทันสื่อ เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภคสื่อ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ในการเปิดรับเนื้อหาผ่านสื่อในเชิง วิเคราะห์วิพากษ์ และประเมินสื่อ การสร้างความรู้เท่าทันสื่อนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเกิดจากการ เรียนรู้ของเด็กผ่านการชี้แนะของครูและผู้ปกครอง รวมถึงการพัฒนาความคิดในเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์ของเด็กเองผ่านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนั่นเอง อ้างอิง [1] ภาพ : http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg [2] ภาพ : http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg [3] วิจารย์ พานิช. (2555). ครูเพื่อศิษย์. [4] Thailand Social Network 2013. (2013). Online : http://mobiledista.com/media/2013/05/infographic-social-network-in-thailand-q1-2013.jpg [5] Poore, M. ( 2013). Using Social Media in the Classroom : A Best Practice Guide. London : SAGE. [6] สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน. (2552). โครงการก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media. สืบค้นออนไลน์ จาก http://thaismedu.com/. [7] Jeff Dunn. (2011). The 100 Best Web 2.0 Classroom Tools Chosen By You. Online : http://www.edudemic.com/best-web-tools/ [8] การนา Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. (2556). สืบค้นออนไลน์จาก http://kasmos52.wordpress.com [9] ภาพ2 : http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media- people.jpg [10] ภาพ3 ; http://www.gooddata.com/wp-content/uploads/2013/01/We-Speak-Social- Media.png [11] ภาพ4 : http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg