SlideShare a Scribd company logo
* อาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
** นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
ภาสกร เรืองรอง, ประหยัด จิระวรพงศ์ *
วณิชชา แม่นยา, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช, ชไมพร ศรีสุราช **
บทคัดย่อ
การใช้โซเชียลมีเดียในการจัดการเรียนรู้ เป็นการนาเครื่องมือที่มีอยู่บนระบบอินเตอร์เน็ตมา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้และเสริมสร้างทักษะที่จาเป็นสาหรับนักเรียน ทั้งยัง
เป็นการลดข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ในการเรียนรู้ โดยเครื่องมือเหล่านี้อยู่บนพื้นฐานของยุคเว็บ
2.0 ที่นักเรียนและครูสามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้อย่างรวดเร็วผ่านโซเชียลมีเดีย ก่อให้เกิดการเรียนรู้
ร่วมกัน ทั้งยังเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากประสบการณ์ตรงอีกด้วย ตัวอย่างโซเชียลมีเดีย
ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ Facebook,Twitter, Web Blog, Youtube และ Google
Apps เป็นต้น โดยครูต้องเข้าใจคุณลักษณะของเครื่องมือแต่ละชนิด เพื่อวางแผนและเลือกใช้ได้ตรง
กับความต้องการและสอดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้
นอกจากโซเชียลมีเดียจะเป็นเครื่องมือสาคัญและเป็นประโยชน์อย่างมากในการจัด
การศึกษาสมัยใหม่แล้ว ในทางกลับกันก็อาจเป็นภัยหากนักเรียนขาดวิจารณญาณในการใช้ ดังนั้น
ครูผู้สอนควรคานึงถึงผลกระทบด้านลบที่จะเกิดขึ้นหากมีการจัดการและการควบคุมที่ไม่ดีพอ
คาสาคัญ : โซเชียลมีเดีย
Abstract
Using Social Media in learning. The tool is available on the Internet to apply for
benefits in Education to enhance the knowledge and skills necessary for the students. It
also reduces the limitations of time and place of learning. These tools are based on the
web 2.0 era, where students and teachers can interact with each other through social
media which creates collaborative learning. It also creates new knowledge gained from
direct experience as well. The Social Media as a tool for learning, including Facebook,
Twitter, Web Blog, Youtube, Google Apps, etc. Teachers need to understand the features
of each tool. Available to meet the needs and learning styles.
Also, social media is an important tool and is very useful in the study of modern
management. On the other hand, it could be a disaster if the student lacks judgment.
Therefore, teachers should take into account the negative impact that would occur if the
management and control is not good enough.
Keyword : Social media
2
ความสาคัญและสภาพปัญหาของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทความนี้ขอกล่าวถึงการนาโซเชียลมีเดียมาเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน โดย
ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การนาโซเชียลมีเดียมาประยุกต์ใช้
รวมถึงผลกระทบและแนวทางการแก้ปัญหาที่ครูผู้สอนควรพิจารณา
การเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ได้ปรับเปลี่ยนจากระบบการเรียนการสอนที่ครูเป็น
ผู้บรรยายแต่ผู้เดียว มาเป็นการใช้เทคโนโลยีควบคู่ไปกับการสอน และครูเปลี่ยนบทบาทจากผู้ให้
ความรู้ เป็นผู้ชี้แนะ การเรียนการสอนแบบเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางไม่สามารถช่วยให้นักเรียนเกิด
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้ดีพอ[1] ดังนั้นครูจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและเข้าใจบทบาท
ของนักเรียนและครูที่ถูกต้อง เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะที่สาคัญและจาเป็นอยู่เสมอ จะช่วย
พัฒนาให้นักเรียนมีความพร้อมในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขในศตวรรษที่ 21 ที่สิ่งแวดล้อมรอบตัวมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ทั้งความเร็ว และความเสถียร การนาเอา
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาเป็นเครื่องมือในการศึกษา คงเป็นสิ่งที่หลีกเลียงไม่ได้ เพราะ
แหล่งความรู้ต่างๆ ไม่ได้อยู่ในห้องสมุดแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่มีอยู่มากมายในโลกที่สามารถ
สืบค้นได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา
[2][3][4]
ภาพที่ 1 การประยุกต์ใช้โซเชียลมีเดียสาหรับการเรียนการสอน
(ที่มาของภาพ [5]http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg
[6]http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg )
3
การเชื่อมโยงถึงกันได้อย่างรวดเร็วนี้ เราเรียกว่าการเกิดสังคม หากสังคมนั้น ไม่ได้จากัด
เพียงแค่ระยะทาง แต่เป็นการเชื่อมโยงผู้คนเข้าด้วยกันผ่านระบบเครือข่ายฯ โดยเรียกเว็บไซต์ที่
เป็นสื่อกลางให้บริการข้อมูลข่าวสารประเภทนี้ว่า “โซเชียลเน็ตเวิร์ค” และเรียกข้อมูลบนโซเชียล
เน็ตเวิร์คว่า “โซเชียลมีเดีย” ซึ่งสถิติการใช้ [7] เว็บไซต์ประเภทนี้ของไทยในปี 2554-2555
ที่ผ่านมา พบว่า มีการใช้งานเว็บไซต์ facebook เป็นอันดับหนึ่ง และมีการใช้บริการประเภทวิดีโอ
เช่น youtube อยู่ในอันดับต้นๆ จะเห็นได้ว่า คนไทยใช้เว็บไซต์เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของกิจวัตร
ประจาวัน ในที่นี้ผู้เขียนขอให้นิยามเว็บไซต์เหล่านี้ว่า “โซเชียลมีเดีย”
มีผู้ให้ความหมายของคาว่า โซเชียลมีเดีย ไว้หลายความเห็น ดังนี้
ราชบัณฑิตยสถาน[8] ได้บัญญัติคาว่า “Social Media” ไว้ว่า “สื่อสังคม” หมายถึงสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่างๆ
ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ สื่อเหล่านี้เป็นของบริษัทต่าง ๆ ให้บริการผ่านเว็บไซต์ของตน เช่น เฟซบุ๊ก
(Facebook), ไฮไฟฟ์ (Hi5) (อ่านว่า ไฮ-ไฟ้), ทวิตเตอร์ (Twitter), วิกิพีเดีย (Wikipedia) ฯลฯ
กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว [9] อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้กล่าวว่า “มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใช้เพื่อการสื่อสาร
โซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม และในบริบทของโซเชียลมีเดีย โซเชียลหมายถึงการแบ่งปันใน
สังคม ซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งปันเนื้อหา (ไฟล์, รสนิยม ความเห็น) หรือปฏิสัมพันธ์ในสังคม (การ
รวมกับเป็นกลุ่ม) เพราะฉะนั้น โซเชียลมีเดียในที่นี้หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ผู้ใช้แสดงความ
เป็นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับหรือแบ่งปันข้อมูลกับบุคคลอื่น”
สรุปได้ว่า โซเชียลมีเดีย หรือ สื่อสังคม หมายถึง สื่อดิจิทัลหรือซอฟแวร์ที่ทางานอยู่บน
พื้นฐานของระบบเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต อันเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคมที่มีผู้จัดทาขึ้น
โดยเมื่อผู้ส่งสารพบเจอเรื่องราว เหตุการณ์ บทความ ประสบการณ์ รูปภาพ วิดีโอและเพลงต่างๆ
จึงนาข้อมูลเหล่านั้นมาแบ่งปันกับผู้ใช้ในโลกออนไลน์ภายใต้เครือข่ายของตนได้รับรู้และใช้
ประโยชน์ร่วมกันอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ [10][11]
ภาพที่ 2 สื่อสังคมออนไลน์
(ที่มาของภาพ [12] http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media-people.jpg )
4
การใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน เป็นเรื่องสาคัญในปัจจุบัน ที่ครูผู้สอนสามารถ
นามาประยุกต์ใช้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจและเป็นเทคนิคที่จะช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนอีกทางหนึ่งด้วย[13] กลุ่มผู้เขียนจึงมีความสนใจที่จะนาเสนอการเรียนการสอน โดยใช้
กระบวนการ Inquiry Learning[14] ในการให้ผู้เรียนได้สืบเสาะหาความรู้ อภิปราย สรุปและสร้าง
องค์ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้เดิม จนเกิดเป็นความรู้ใหม่
ซึ่งมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1.กาหนดประเด็นที่สนใจ ในที่นี้คือ ประเด็นในการนาโซเชียล
มีเดีย ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2.ทาการสืบค้นข้อมูล 3.นาข้อมูลมาอภิปรายกลุ่ม โดยให้
เพื่อนช่วยกันเพิ่มเติมและเสนอแนะประเด็นที่เกี่ยวข้อง[15] 4.หาข้อสรุปร่วมกันผ่าน google
doc[16] และ 5.ทาการเผยแพร่[17] องค์ความรู้ให้กับผู้ที่สนใจเพื่อนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไปได้
หากครูจะนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียน
การสอนให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเปลี่ยนการจัดการสอนแบบเดิมๆ ที่ครู
เป็นเพียงแหล่งความรู้แหล่งเดียว ให้เป็นนักเรียนสามารถสืบค้นความรู้จากแหล่งต่างๆ ที่มีอยู่
มากมายได้ด้วยตนเอง โดยที่ครูเป็นผู้คอยชี้แนะว่าแหล่งข้อมูลใดน่าชื่อถือ และสามารถนามาอ้างอิง
ได้ รวมทั้งใช้เว็บไซต์ประเภทเครือข่ายสังคมเป็นสื่อกลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
แสดงทัศนะ หรือสร้างองค์ความรู้ของตนเอง อีกทั้งยังช่วยลดช่องว่างระหว่างครูและนักเรียนอีกด้วย
การประยุกต์ใช้โซเชียลมีเดียในการจัดการเรียนการสอน
ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน [18]
ดาเนินการจัดอบรมเพื่อกระตุ้นให้ครูไทย พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการใช้ social media ในการ
จัดการเรียนรู้ โดยเล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมและผลักดันให้ครูสามารถนาเครื่องมือออนไลน์
ที่มีอยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดเป็นเครือข่ายและเกิดความ
ร่วมมือกันระหว่างครูกับครู นักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน โดยไม่มีข้อจากัดเรื่อง
เวลา และสถานที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด นับเป็นยุคเว็บ 2.0 [19] ที่นักการศึกษา
จาเป็นต้องตระหนัก เข้าใจ และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญแห่งนี้ เพื่อตอบรับกับการเปลี่ยนแปลง
ของโลกในปัจจุบันและอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
โดยเครื่องมือที่ทางสานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) แนะนาให้ครูได้นาไปปรับ
ใช้ [20] ได้แก่
5
1) Facebook : คือ เว็บไซต์สาหรับกระดานข่าว ให้ครูและนักเรียนสามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลซึ่งกันได้ โดยการตั้งกลุ่มรายวิชา เพื่อการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างครูและผู้เรียน
ภาพที่ 4 ตัวอย่างการใช้ facebook ประกอบการเรียนการสอน[21]
2) Wordpress : คือ เว็บไซต์สาเร็จรูป ใช้สร้างบล็อกส่วนตัว หรือในแต่ละรายวิชาสาหรับเผยแพร่
บทเรียนในแต่ละรายวิชา หรือ สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนได้
ภาพที่ 5 ตัวอย่างการใช้งาน Wordpress ในการสร้างบล็อคของครู[22]
6
3) Youtube : คือ เว็บไซต์ที่ใช้ ในการแบ่งปันไฟล์วีดีโอ
ภาพที่ 6 ตัวอย่างการใช้งาน youtube ในการเผยแพร่ไฟล์วิดีโอ ของครูและนักเรียน[23]
4) Twitter : ใช้ในการสื่อสารข้อความสั้นๆ คล้าย SMS สามารถ โต้ตอบกันได้อย่างรวดเร็ว
ภาพที่ 7 ตัวอย่างการใช้งาน twitter ในสื่อสาร[24]
7
4) Slideshare : ใช้ในการแบ่งบันไฟล์
ภาพที่ 8 ตัวอย่างการใช้ slideshare ในการแบ่งปันไฟล์ความรู้ในรายวิชากับผู้เรียน[25]
เครื่องมือออนไลน์ที่มีอยู่อย่างหลากหลายบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประสิทธิภาพสาหรับการใช้
งานที่แตกต่างกัน โดยนับวันจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คาถามคือ เราจะนา
เครื่องมือดังที่กล่าวข้างต้น มาสร้างให้เกิดแหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับนักเรียนได้อย่างไร
โดยที่ครูสามารถดึงเครื่องมือเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรม
และอย่างยั่งยืน การที่ครูมีความเข้าใจในเทคนิค/แทคติค ของเครื่องมือ ผนวกกับ กลยุทธ์การสอน
และสร้างให้เกิดเป็นรูปแบบที่น่าสนใจสาหรับนักเรียนนั้น นับเป็นสิ่งที่ท้าทายสาหรับครูเป็นอย่างยิ่ง
[26]
ผลกระทบต่อการศึกษาไทย
การใช้โซเชียลมีเดียกับการจัดการศึกษาไทย อาจเป็นได้ทั้งคุณและโทษ หากครูไม่มีการ
จัดการที่ดี เพราะนักเรียนอาจยังไม่สามารถควบคุมหรือกากับตนเองให้ใช้งานได้อย่างเหมาะสม ซึ่ง
ข้อดีและข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอนพอสรุปได้ ดังนี้
ข้อดีและข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน
ด้วยข้อมูลจานวนมากที่ถูกนาเสนอในเครือข่ายสังคมออนไลน์หากนามาสู่การจัดการเรียน
การสอนในชั้นเรียนย่อมก่อให้เกิดผลสาคัญในหลากหลายลักษณะเช่นกัน[27] เช่น
ข้อดี
หากมีการใช้งานในทางที่ถูกต้อง จะส่งผลดีทั้งครูและนักเรียน [28] เช่น
1. เป็นการเสริมสร้างสติปัญญาความรู้ ( Intellectual Benefit )
8
2. ก่อให้เกิดกระบวนการสื่อสาร (Benefits for Communication), การมีส่วนร่วม
(Collaboration) รวมทั้ง การสร้างสังคมประกิต (Socialization)
3. เป็นการเสริมสร้างแรงจูงใจ ( Motivational Benefits )
4. ปรับสภาพแวดล้อมการเรียนแบบเปิด ง่ายต่อการเชื่อมโยง สร้างความสัมพันธ์
ระหว่างสังคมในชั้นห้องเรียน
5. สนับสนุนและรองรับการสื่อสาร 2 ทาง สามารถนามาประยุกต์ใช้ในวิธีการ
จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้แบบร่วมมือ (collaborative learning), การเรียนรู้
แบบกลุ่มเล็ก (small group learning) หรือ การร่วมกันสร้างองค์ความรู้(other co-creation of
knowledge)
ข้อเสีย
เมื่อมีข้อดี ย่อมมีข้อเสีย ดังนี้
1. ความไม่มั่นใจในความเสถียรและความคงอยู่ของเว็บ เพราะเป็นเว็บไซต์ที่เปิด
ให้บริการฟรี ในบางกรณีที่เว็บไซต์ปิดตัวลงโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือมีค่าใช้จ่ายสาหรับการทางาน
เกิดขึ้น เช่น เว็บไซต์ Ning.com ที่มีการเก็บค่าบริการของผู้ใช้งาน
2. การเชื่อมโยงระหว่างระบบและข้อมูลผู้ใช้เพื่อการทางานร่วมกันในสถานศึกษา
หากไม่มีการควบคุม ผู้ใช้ที่อาจขาดความระมัดระวังในการใช้งาน เช่น การโพสข้อความหมิ่น
ประมาท ก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองหรือองค์กรได้
3. ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของข้อมูล หากไม่มีการป้องกันที่ดี อาจมีผู้
ไม่ประสงค์ดี นาไปใช้ในทางผิดได้
4. อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องมีราคาสูง หากองค์กรนั้นไม่มีงบประมาณสนับสนุนเพียงพอ
จะทาให้ใช้อุปกรณ์นั้นๆ ได้ไม่คุ้มค่า เช่น ระบบอินเทอร์เน็ตหรือห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน หาก
ไม่มีงบประมาณในการปรับปรุงจะทาให้เกิดความล้าสมัย หรือผู้ปกครองบางท่านที่ไม่สามารถ
สนับสนุนบุตรหลานในการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ตเป็นของตนเอง
5. การขาดการคัดกรองในการสืบค้นข้อมูล และการรับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิด
การขาดวิจารณญาณในการนาเสนอข้อมูล รวมทั้งทาให้เนื้อหาที่นาเสนอผิดพลาดได้
แนวทางและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา
การใช้งานโซเชียลมีเดียในเบื้องต้น เป็นการใช้งานส่วนบุคคล ที่สามารถใช้ได้อย่างเสรี แต่
เมื่อนามาเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอนต้องคานึงถึงความเหมาะสมในการสืบค้นและนาเสนอ
ข้อมูล[29][30][31] เช่น
1) นาเสนอข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ โดยไม่ตรวจสอบความถูกต้องหรือความทันสมัยของ
ข้อมูล
2) การแชร์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอคติหรือความลาเอียง
9
3) การนาข้อความ เอกสาร ภาพ หรือ วิดีโอ มาใช้ โดยไม่อ้างอิงแหล่งที่มา
หากครูยังไม่สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมกับรูปแบบหรือ
กิจกรรมการเรียนการสอน และใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ไม่คุ้มค่าตามงบประมาณที่รัฐบาลสนับสนุน จะ
ส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถพัฒนาความรู้และทักษะที่ต้องการได้เต็มศักยภาพ
แนวทางในการแก้ปญหา
1) หากครูต้องการนาเสนอข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ควรตรวจสอบความถูกต้อง หรือความ
ทันสมัยของข้อมูล โดยการตรวจสอบข้อมูลจากต้นฉบับ หรือหาแหล่งที่มาของผู้เผยแพร่จาก
องค์การหรือบุคลที่น่าเชื่อถือ
2) ควรมีการไตร่ตรองในการแชร์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ หรือควรสืบค้นข้อมูลข่าวสารจาก
หลากหลายที่มา
3) การนาข้อความ เอกสาร ภาพ หรือ วิดีโอ มาใช้ ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาอย่างชัดเจน
ภาพที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในห้องเรียน
(ที่มาของภาพ [32] http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg)
การนาโซเชียลมีเดียมาใช้ในการเรียนการสอน ครูควรทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้งาน
เพื่อให้นักเรียนใช้งานได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์มากที่สุด หากนักเรียนที่ใช้ในทางที่ผิด อาจ
ก่อให้เกิดผลเสียต่อคุณธรรม จริยธรรมและระบบการศึกษา ดังนั้นครูจึงควรสร้างความรู้เท่าทันสื่อ
เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภคสื่อ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ในการ
เปิดรับเนื้อหาผ่านสื่อในเชิงวิเคราะห์วิพากษ์ และประเมินสื่อ การสร้างความรู้เท่าทันสื่อนี้ โดยส่วน
ใหญ่แล้วจะเกิดจากการเรียนรู้ของเด็กผ่านการชี้แนะของครูและผู้ปกครอง รวมถึงการพัฒนา
ความคิดในเชิงวิเคราะห์วิพากษ์ของเด็กเองผ่านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนั่นเอง
10
อ้างอิง
[1] วิจารย์ พานิช. (2555). ครูเพื่อศิษย์.
[2] สุรศักดิ์ปาเฮ. (2554). สื่อโซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา. สืบค้นออนไลน์ จาก
http://www.addkutec3.com/
[3] นามแฝง kasmos52. (2556). การนา Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. สืบค้นออนไลน์
จาก http://kasmos52.wordpress.com/
[4] กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (2554). Social Media (โซเชียลมีเดีย).สืบค้นออนไลน์ จาก
http://www.computer.kku.ac.th/?p=1530
[5] ภาพ : http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg
[6] ภาพ : http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg
[7] Thailand Social Network 2013. (2013). Online : http://mobiledista.com/
[8] ราชบัณฑิตยสถาน. บทวิทยุรายการ "รู้ รัก ภาษาไทย" ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง
แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น. สืบค้นออนไลน์จาก
http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=4357
[9] กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (ม.ป.ป.). โซเชียลมีเดีย. สืบค้นออนไลน์จาก
http://gear.kku.ac.th/~krunapon/talks/socialmedia/kku-socialmedia.pdf
[10]อรวรรณ วงศ์แก้วโพธิ์ทอง. 2553. Social Media เครื่องมือเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจ. วารสาร
นักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 : หน้า 63-69.
[11] Elizabeth F. Churchill. 2012. Social Media Meaning. Proceeding of the 2012
international
[12] ภาพ2 : http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media-
people.jpg
[13] กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์. (2554). ผลงานทางวิชาการ. สืบค้นออนไลน์ จาก
http://teacherkobwit2010.wordpress.com
[14] ภาสกร เรืองรอง. (2556). กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Inquiry สืบสวนสอบสวนในรายวิชาสัมมนา.
สืบค้นออนไลน์ จาก https://www.facebook.com/groups/416059675171278/418539388256640/
[15] Socialmedia. (2556). สืบค้นออนไลน์ จาก
https://docs.google.com/document/d/1qCFpU3bkC4YlWe41Hph-
R0AhyDTIsWnN9GQIJu5HQ4o/edit#heading=h.gjdgxs
[16] โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย. (2556). สืบค้นออนไลน์ จาก
https://docs.google.com/document/d/1i9lO9PvctwFGoxhL8RokSLjXfvHXRGRWvzHaTWKC-
o0/edit
11
[17] การเผยแพร่ข้อมูล. (2556). สืบค้นออนไลน์ จาก
https://www.facebook.com/events/417678768344032/
[18] สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน. (2552). โครงการก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย
Social Media. สืบค้นออนไลน์ จาก http://thaismedu.com/.
[19] Jeff Dunn. (2011). The 100 Best Web 2.0 Classroom Tools Chosen By You. Online :
http://www.edudemic.com/best-web-tools/
[20] การนา Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. (2556). สืบค้นออนไลน์จาก
http://kasmos52.wordpress.com
[21] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้ facebook. สืบค้นออนไลน์จาก
http://www.facebook.com/krubeeka/
[22] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน wordpress. สืบค้นออนไลน์จาก
http://krubeeka.wordpress.com/
[23] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน youtube. สืบค้นออนไลน์จาก
http://wwwyoutube.com/piriyalaichannal/
[24] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน twitter. สืบค้นออนไลน์จาก
http://www.twitter.com/krubeeka/
[25] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน slideshare. สืบค้นออนไลน์จาก
http://www.slideshare.net/krubeeka/
[26] สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน. (2554). ที่มาของบล็อก smeducation. สืบค้นออนไลน์
จาก http://smeducation.wordpress.com/about/
[27] กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (2554). ผลกระทบของโซเชียลเน็ตเวิร์คหรือโซเชียลมีเดียต่อ
สังคมไทย. สืบค้นออนไลน์จาก http://www.gotoknow.org/posts/471684
[28] Poore, M. ( 2013). Using Social Media in the Classroom : A Best Practice Guide.
London : SAGE.
[29] จารุวัจน์ สองเมือง. (255). เครือข่ายสังคมออนไลน์กับห้องเรียน. สืบค้นออนไลน์ จาก
http://tawasau.yiu.ac.th/jaruwut/?p=41
[30] จุไรรัตน์ ทองคาชื่นวิวัฒน์. 2009. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online Social Network). สืบค้น
ออนไลน์ จาก http://ngnforum.ntc.or.th/index.php?option=com_content&
task=view&id=76&Itemid=1
[31] Antony Mayfield. 2008. What is Social Media? . สืบค้นออนไลน์ จาก
http://www.icrossing.co.uk/fileadmin/uploads/eBooks/What_is_Social_Media_iCrossing_eboo
k.pdf
[32] ภาพ9 : http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg

More Related Content

What's hot

แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนาแบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนาไอดิว ไอดิว
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
Unchaya Suwan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Warunee Kantapanom
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
TupPee Zhouyongfang
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
Sircom Smarnbua
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
Khunakon Thanatee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันKittipong Kansamroeng
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
chanapa Ubonsaen
 
สไลด์ประกอบการสัมมนา
สไลด์ประกอบการสัมมนาสไลด์ประกอบการสัมมนา
สไลด์ประกอบการสัมมนา
Rasika Turiyakul
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
NATTAWANKONGBURAN
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
moohhack
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 

What's hot (20)

แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนาแบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
แบบประเมินกิจกรรมทางพุทธศาสนา
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
สไลด์ประกอบการสัมมนา
สไลด์ประกอบการสัมมนาสไลด์ประกอบการสัมมนา
สไลด์ประกอบการสัมมนา
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 

Similar to โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย

ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChalita Vitamilkz
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
โครงร่าง พลอย
โครงร่าง พลอยโครงร่าง พลอย
โครงร่าง พลอยNoo Ploy Ja
 

Similar to โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย (20)

ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงร่าง พลอย
โครงร่าง พลอยโครงร่าง พลอย
โครงร่าง พลอย
 

More from KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
KruBeeKa
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
KruBeeKa
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
KruBeeKa
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
KruBeeKa
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
KruBeeKa
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
KruBeeKa
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
KruBeeKa
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
KruBeeKa
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
KruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
KruBeeKa
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
KruBeeKa
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
KruBeeKa
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
KruBeeKa
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
KruBeeKa
 

More from KruBeeKa (18)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย

  • 1. * อาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ** นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย ภาสกร เรืองรอง, ประหยัด จิระวรพงศ์ * วณิชชา แม่นยา, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช, ชไมพร ศรีสุราช ** บทคัดย่อ การใช้โซเชียลมีเดียในการจัดการเรียนรู้ เป็นการนาเครื่องมือที่มีอยู่บนระบบอินเตอร์เน็ตมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้และเสริมสร้างทักษะที่จาเป็นสาหรับนักเรียน ทั้งยัง เป็นการลดข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ในการเรียนรู้ โดยเครื่องมือเหล่านี้อยู่บนพื้นฐานของยุคเว็บ 2.0 ที่นักเรียนและครูสามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้อย่างรวดเร็วผ่านโซเชียลมีเดีย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ร่วมกัน ทั้งยังเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากประสบการณ์ตรงอีกด้วย ตัวอย่างโซเชียลมีเดีย ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ Facebook,Twitter, Web Blog, Youtube และ Google Apps เป็นต้น โดยครูต้องเข้าใจคุณลักษณะของเครื่องมือแต่ละชนิด เพื่อวางแผนและเลือกใช้ได้ตรง กับความต้องการและสอดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้ นอกจากโซเชียลมีเดียจะเป็นเครื่องมือสาคัญและเป็นประโยชน์อย่างมากในการจัด การศึกษาสมัยใหม่แล้ว ในทางกลับกันก็อาจเป็นภัยหากนักเรียนขาดวิจารณญาณในการใช้ ดังนั้น ครูผู้สอนควรคานึงถึงผลกระทบด้านลบที่จะเกิดขึ้นหากมีการจัดการและการควบคุมที่ไม่ดีพอ คาสาคัญ : โซเชียลมีเดีย Abstract Using Social Media in learning. The tool is available on the Internet to apply for benefits in Education to enhance the knowledge and skills necessary for the students. It also reduces the limitations of time and place of learning. These tools are based on the web 2.0 era, where students and teachers can interact with each other through social media which creates collaborative learning. It also creates new knowledge gained from direct experience as well. The Social Media as a tool for learning, including Facebook, Twitter, Web Blog, Youtube, Google Apps, etc. Teachers need to understand the features of each tool. Available to meet the needs and learning styles. Also, social media is an important tool and is very useful in the study of modern management. On the other hand, it could be a disaster if the student lacks judgment. Therefore, teachers should take into account the negative impact that would occur if the management and control is not good enough. Keyword : Social media
  • 2. 2 ความสาคัญและสภาพปัญหาของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บทความนี้ขอกล่าวถึงการนาโซเชียลมีเดียมาเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน โดย ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การนาโซเชียลมีเดียมาประยุกต์ใช้ รวมถึงผลกระทบและแนวทางการแก้ปัญหาที่ครูผู้สอนควรพิจารณา การเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ได้ปรับเปลี่ยนจากระบบการเรียนการสอนที่ครูเป็น ผู้บรรยายแต่ผู้เดียว มาเป็นการใช้เทคโนโลยีควบคู่ไปกับการสอน และครูเปลี่ยนบทบาทจากผู้ให้ ความรู้ เป็นผู้ชี้แนะ การเรียนการสอนแบบเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางไม่สามารถช่วยให้นักเรียนเกิด ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้ดีพอ[1] ดังนั้นครูจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและเข้าใจบทบาท ของนักเรียนและครูที่ถูกต้อง เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะที่สาคัญและจาเป็นอยู่เสมอ จะช่วย พัฒนาให้นักเรียนมีความพร้อมในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขในศตวรรษที่ 21 ที่สิ่งแวดล้อมรอบตัวมี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ทั้งความเร็ว และความเสถียร การนาเอา ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาเป็นเครื่องมือในการศึกษา คงเป็นสิ่งที่หลีกเลียงไม่ได้ เพราะ แหล่งความรู้ต่างๆ ไม่ได้อยู่ในห้องสมุดแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่มีอยู่มากมายในโลกที่สามารถ สืบค้นได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา [2][3][4] ภาพที่ 1 การประยุกต์ใช้โซเชียลมีเดียสาหรับการเรียนการสอน (ที่มาของภาพ [5]http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg [6]http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg )
  • 3. 3 การเชื่อมโยงถึงกันได้อย่างรวดเร็วนี้ เราเรียกว่าการเกิดสังคม หากสังคมนั้น ไม่ได้จากัด เพียงแค่ระยะทาง แต่เป็นการเชื่อมโยงผู้คนเข้าด้วยกันผ่านระบบเครือข่ายฯ โดยเรียกเว็บไซต์ที่ เป็นสื่อกลางให้บริการข้อมูลข่าวสารประเภทนี้ว่า “โซเชียลเน็ตเวิร์ค” และเรียกข้อมูลบนโซเชียล เน็ตเวิร์คว่า “โซเชียลมีเดีย” ซึ่งสถิติการใช้ [7] เว็บไซต์ประเภทนี้ของไทยในปี 2554-2555 ที่ผ่านมา พบว่า มีการใช้งานเว็บไซต์ facebook เป็นอันดับหนึ่ง และมีการใช้บริการประเภทวิดีโอ เช่น youtube อยู่ในอันดับต้นๆ จะเห็นได้ว่า คนไทยใช้เว็บไซต์เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของกิจวัตร ประจาวัน ในที่นี้ผู้เขียนขอให้นิยามเว็บไซต์เหล่านี้ว่า “โซเชียลมีเดีย” มีผู้ให้ความหมายของคาว่า โซเชียลมีเดีย ไว้หลายความเห็น ดังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน[8] ได้บัญญัติคาว่า “Social Media” ไว้ว่า “สื่อสังคม” หมายถึงสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ สื่อเหล่านี้เป็นของบริษัทต่าง ๆ ให้บริการผ่านเว็บไซต์ของตน เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook), ไฮไฟฟ์ (Hi5) (อ่านว่า ไฮ-ไฟ้), ทวิตเตอร์ (Twitter), วิกิพีเดีย (Wikipedia) ฯลฯ กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว [9] อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้กล่าวว่า “มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใช้เพื่อการสื่อสาร โซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม และในบริบทของโซเชียลมีเดีย โซเชียลหมายถึงการแบ่งปันใน สังคม ซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งปันเนื้อหา (ไฟล์, รสนิยม ความเห็น) หรือปฏิสัมพันธ์ในสังคม (การ รวมกับเป็นกลุ่ม) เพราะฉะนั้น โซเชียลมีเดียในที่นี้หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ผู้ใช้แสดงความ เป็นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับหรือแบ่งปันข้อมูลกับบุคคลอื่น” สรุปได้ว่า โซเชียลมีเดีย หรือ สื่อสังคม หมายถึง สื่อดิจิทัลหรือซอฟแวร์ที่ทางานอยู่บน พื้นฐานของระบบเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต อันเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคมที่มีผู้จัดทาขึ้น โดยเมื่อผู้ส่งสารพบเจอเรื่องราว เหตุการณ์ บทความ ประสบการณ์ รูปภาพ วิดีโอและเพลงต่างๆ จึงนาข้อมูลเหล่านั้นมาแบ่งปันกับผู้ใช้ในโลกออนไลน์ภายใต้เครือข่ายของตนได้รับรู้และใช้ ประโยชน์ร่วมกันอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ [10][11] ภาพที่ 2 สื่อสังคมออนไลน์ (ที่มาของภาพ [12] http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media-people.jpg )
  • 4. 4 การใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน เป็นเรื่องสาคัญในปัจจุบัน ที่ครูผู้สอนสามารถ นามาประยุกต์ใช้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจและเป็นเทคนิคที่จะช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนอีกทางหนึ่งด้วย[13] กลุ่มผู้เขียนจึงมีความสนใจที่จะนาเสนอการเรียนการสอน โดยใช้ กระบวนการ Inquiry Learning[14] ในการให้ผู้เรียนได้สืบเสาะหาความรู้ อภิปราย สรุปและสร้าง องค์ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้เดิม จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ซึ่งมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1.กาหนดประเด็นที่สนใจ ในที่นี้คือ ประเด็นในการนาโซเชียล มีเดีย ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2.ทาการสืบค้นข้อมูล 3.นาข้อมูลมาอภิปรายกลุ่ม โดยให้ เพื่อนช่วยกันเพิ่มเติมและเสนอแนะประเด็นที่เกี่ยวข้อง[15] 4.หาข้อสรุปร่วมกันผ่าน google doc[16] และ 5.ทาการเผยแพร่[17] องค์ความรู้ให้กับผู้ที่สนใจเพื่อนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไปได้ หากครูจะนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเปลี่ยนการจัดการสอนแบบเดิมๆ ที่ครู เป็นเพียงแหล่งความรู้แหล่งเดียว ให้เป็นนักเรียนสามารถสืบค้นความรู้จากแหล่งต่างๆ ที่มีอยู่ มากมายได้ด้วยตนเอง โดยที่ครูเป็นผู้คอยชี้แนะว่าแหล่งข้อมูลใดน่าชื่อถือ และสามารถนามาอ้างอิง ได้ รวมทั้งใช้เว็บไซต์ประเภทเครือข่ายสังคมเป็นสื่อกลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงทัศนะ หรือสร้างองค์ความรู้ของตนเอง อีกทั้งยังช่วยลดช่องว่างระหว่างครูและนักเรียนอีกด้วย การประยุกต์ใช้โซเชียลมีเดียในการจัดการเรียนการสอน ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน [18] ดาเนินการจัดอบรมเพื่อกระตุ้นให้ครูไทย พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการใช้ social media ในการ จัดการเรียนรู้ โดยเล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมและผลักดันให้ครูสามารถนาเครื่องมือออนไลน์ ที่มีอยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดเป็นเครือข่ายและเกิดความ ร่วมมือกันระหว่างครูกับครู นักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน โดยไม่มีข้อจากัดเรื่อง เวลา และสถานที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด นับเป็นยุคเว็บ 2.0 [19] ที่นักการศึกษา จาเป็นต้องตระหนัก เข้าใจ และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญแห่งนี้ เพื่อตอบรับกับการเปลี่ยนแปลง ของโลกในปัจจุบันและอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเครื่องมือที่ทางสานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) แนะนาให้ครูได้นาไปปรับ ใช้ [20] ได้แก่
  • 5. 5 1) Facebook : คือ เว็บไซต์สาหรับกระดานข่าว ให้ครูและนักเรียนสามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยน ข้อมูลซึ่งกันได้ โดยการตั้งกลุ่มรายวิชา เพื่อการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างครูและผู้เรียน ภาพที่ 4 ตัวอย่างการใช้ facebook ประกอบการเรียนการสอน[21] 2) Wordpress : คือ เว็บไซต์สาเร็จรูป ใช้สร้างบล็อกส่วนตัว หรือในแต่ละรายวิชาสาหรับเผยแพร่ บทเรียนในแต่ละรายวิชา หรือ สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนได้ ภาพที่ 5 ตัวอย่างการใช้งาน Wordpress ในการสร้างบล็อคของครู[22]
  • 6. 6 3) Youtube : คือ เว็บไซต์ที่ใช้ ในการแบ่งปันไฟล์วีดีโอ ภาพที่ 6 ตัวอย่างการใช้งาน youtube ในการเผยแพร่ไฟล์วิดีโอ ของครูและนักเรียน[23] 4) Twitter : ใช้ในการสื่อสารข้อความสั้นๆ คล้าย SMS สามารถ โต้ตอบกันได้อย่างรวดเร็ว ภาพที่ 7 ตัวอย่างการใช้งาน twitter ในสื่อสาร[24]
  • 7. 7 4) Slideshare : ใช้ในการแบ่งบันไฟล์ ภาพที่ 8 ตัวอย่างการใช้ slideshare ในการแบ่งปันไฟล์ความรู้ในรายวิชากับผู้เรียน[25] เครื่องมือออนไลน์ที่มีอยู่อย่างหลากหลายบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประสิทธิภาพสาหรับการใช้ งานที่แตกต่างกัน โดยนับวันจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คาถามคือ เราจะนา เครื่องมือดังที่กล่าวข้างต้น มาสร้างให้เกิดแหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับนักเรียนได้อย่างไร โดยที่ครูสามารถดึงเครื่องมือเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรม และอย่างยั่งยืน การที่ครูมีความเข้าใจในเทคนิค/แทคติค ของเครื่องมือ ผนวกกับ กลยุทธ์การสอน และสร้างให้เกิดเป็นรูปแบบที่น่าสนใจสาหรับนักเรียนนั้น นับเป็นสิ่งที่ท้าทายสาหรับครูเป็นอย่างยิ่ง [26] ผลกระทบต่อการศึกษาไทย การใช้โซเชียลมีเดียกับการจัดการศึกษาไทย อาจเป็นได้ทั้งคุณและโทษ หากครูไม่มีการ จัดการที่ดี เพราะนักเรียนอาจยังไม่สามารถควบคุมหรือกากับตนเองให้ใช้งานได้อย่างเหมาะสม ซึ่ง ข้อดีและข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอนพอสรุปได้ ดังนี้ ข้อดีและข้อเสียของการใช้โซเชียลมีเดียในการเรียนการสอน ด้วยข้อมูลจานวนมากที่ถูกนาเสนอในเครือข่ายสังคมออนไลน์หากนามาสู่การจัดการเรียน การสอนในชั้นเรียนย่อมก่อให้เกิดผลสาคัญในหลากหลายลักษณะเช่นกัน[27] เช่น ข้อดี หากมีการใช้งานในทางที่ถูกต้อง จะส่งผลดีทั้งครูและนักเรียน [28] เช่น 1. เป็นการเสริมสร้างสติปัญญาความรู้ ( Intellectual Benefit )
  • 8. 8 2. ก่อให้เกิดกระบวนการสื่อสาร (Benefits for Communication), การมีส่วนร่วม (Collaboration) รวมทั้ง การสร้างสังคมประกิต (Socialization) 3. เป็นการเสริมสร้างแรงจูงใจ ( Motivational Benefits ) 4. ปรับสภาพแวดล้อมการเรียนแบบเปิด ง่ายต่อการเชื่อมโยง สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างสังคมในชั้นห้องเรียน 5. สนับสนุนและรองรับการสื่อสาร 2 ทาง สามารถนามาประยุกต์ใช้ในวิธีการ จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้แบบร่วมมือ (collaborative learning), การเรียนรู้ แบบกลุ่มเล็ก (small group learning) หรือ การร่วมกันสร้างองค์ความรู้(other co-creation of knowledge) ข้อเสีย เมื่อมีข้อดี ย่อมมีข้อเสีย ดังนี้ 1. ความไม่มั่นใจในความเสถียรและความคงอยู่ของเว็บ เพราะเป็นเว็บไซต์ที่เปิด ให้บริการฟรี ในบางกรณีที่เว็บไซต์ปิดตัวลงโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือมีค่าใช้จ่ายสาหรับการทางาน เกิดขึ้น เช่น เว็บไซต์ Ning.com ที่มีการเก็บค่าบริการของผู้ใช้งาน 2. การเชื่อมโยงระหว่างระบบและข้อมูลผู้ใช้เพื่อการทางานร่วมกันในสถานศึกษา หากไม่มีการควบคุม ผู้ใช้ที่อาจขาดความระมัดระวังในการใช้งาน เช่น การโพสข้อความหมิ่น ประมาท ก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองหรือองค์กรได้ 3. ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของข้อมูล หากไม่มีการป้องกันที่ดี อาจมีผู้ ไม่ประสงค์ดี นาไปใช้ในทางผิดได้ 4. อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องมีราคาสูง หากองค์กรนั้นไม่มีงบประมาณสนับสนุนเพียงพอ จะทาให้ใช้อุปกรณ์นั้นๆ ได้ไม่คุ้มค่า เช่น ระบบอินเทอร์เน็ตหรือห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน หาก ไม่มีงบประมาณในการปรับปรุงจะทาให้เกิดความล้าสมัย หรือผู้ปกครองบางท่านที่ไม่สามารถ สนับสนุนบุตรหลานในการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ตเป็นของตนเอง 5. การขาดการคัดกรองในการสืบค้นข้อมูล และการรับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิด การขาดวิจารณญาณในการนาเสนอข้อมูล รวมทั้งทาให้เนื้อหาที่นาเสนอผิดพลาดได้ แนวทางและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา การใช้งานโซเชียลมีเดียในเบื้องต้น เป็นการใช้งานส่วนบุคคล ที่สามารถใช้ได้อย่างเสรี แต่ เมื่อนามาเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอนต้องคานึงถึงความเหมาะสมในการสืบค้นและนาเสนอ ข้อมูล[29][30][31] เช่น 1) นาเสนอข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ โดยไม่ตรวจสอบความถูกต้องหรือความทันสมัยของ ข้อมูล 2) การแชร์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอคติหรือความลาเอียง
  • 9. 9 3) การนาข้อความ เอกสาร ภาพ หรือ วิดีโอ มาใช้ โดยไม่อ้างอิงแหล่งที่มา หากครูยังไม่สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมกับรูปแบบหรือ กิจกรรมการเรียนการสอน และใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ไม่คุ้มค่าตามงบประมาณที่รัฐบาลสนับสนุน จะ ส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถพัฒนาความรู้และทักษะที่ต้องการได้เต็มศักยภาพ แนวทางในการแก้ปญหา 1) หากครูต้องการนาเสนอข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ควรตรวจสอบความถูกต้อง หรือความ ทันสมัยของข้อมูล โดยการตรวจสอบข้อมูลจากต้นฉบับ หรือหาแหล่งที่มาของผู้เผยแพร่จาก องค์การหรือบุคลที่น่าเชื่อถือ 2) ควรมีการไตร่ตรองในการแชร์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ หรือควรสืบค้นข้อมูลข่าวสารจาก หลากหลายที่มา 3) การนาข้อความ เอกสาร ภาพ หรือ วิดีโอ มาใช้ ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ภาพที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในห้องเรียน (ที่มาของภาพ [32] http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg) การนาโซเชียลมีเดียมาใช้ในการเรียนการสอน ครูควรทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้งาน เพื่อให้นักเรียนใช้งานได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์มากที่สุด หากนักเรียนที่ใช้ในทางที่ผิด อาจ ก่อให้เกิดผลเสียต่อคุณธรรม จริยธรรมและระบบการศึกษา ดังนั้นครูจึงควรสร้างความรู้เท่าทันสื่อ เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภคสื่อ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ในการ เปิดรับเนื้อหาผ่านสื่อในเชิงวิเคราะห์วิพากษ์ และประเมินสื่อ การสร้างความรู้เท่าทันสื่อนี้ โดยส่วน ใหญ่แล้วจะเกิดจากการเรียนรู้ของเด็กผ่านการชี้แนะของครูและผู้ปกครอง รวมถึงการพัฒนา ความคิดในเชิงวิเคราะห์วิพากษ์ของเด็กเองผ่านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนั่นเอง
  • 10. 10 อ้างอิง [1] วิจารย์ พานิช. (2555). ครูเพื่อศิษย์. [2] สุรศักดิ์ปาเฮ. (2554). สื่อโซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา. สืบค้นออนไลน์ จาก http://www.addkutec3.com/ [3] นามแฝง kasmos52. (2556). การนา Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. สืบค้นออนไลน์ จาก http://kasmos52.wordpress.com/ [4] กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (2554). Social Media (โซเชียลมีเดีย).สืบค้นออนไลน์ จาก http://www.computer.kku.ac.th/?p=1530 [5] ภาพ : http://www.roar.pro/wp-content/uploads/2013/03/socialmediatree.jpg [6] ภาพ : http://www.julienrio.com/marketing/pictures/JulienRio.Com_Social_Media_tree.jpg [7] Thailand Social Network 2013. (2013). Online : http://mobiledista.com/ [8] ราชบัณฑิตยสถาน. บทวิทยุรายการ "รู้ รัก ภาษาไทย" ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น. สืบค้นออนไลน์จาก http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=4357 [9] กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (ม.ป.ป.). โซเชียลมีเดีย. สืบค้นออนไลน์จาก http://gear.kku.ac.th/~krunapon/talks/socialmedia/kku-socialmedia.pdf [10]อรวรรณ วงศ์แก้วโพธิ์ทอง. 2553. Social Media เครื่องมือเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจ. วารสาร นักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 : หน้า 63-69. [11] Elizabeth F. Churchill. 2012. Social Media Meaning. Proceeding of the 2012 international [12] ภาพ2 : http://federalfinancialgroupllc.files.wordpress.com/2013/05/social-media- people.jpg [13] กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์. (2554). ผลงานทางวิชาการ. สืบค้นออนไลน์ จาก http://teacherkobwit2010.wordpress.com [14] ภาสกร เรืองรอง. (2556). กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Inquiry สืบสวนสอบสวนในรายวิชาสัมมนา. สืบค้นออนไลน์ จาก https://www.facebook.com/groups/416059675171278/418539388256640/ [15] Socialmedia. (2556). สืบค้นออนไลน์ จาก https://docs.google.com/document/d/1qCFpU3bkC4YlWe41Hph- R0AhyDTIsWnN9GQIJu5HQ4o/edit#heading=h.gjdgxs [16] โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย. (2556). สืบค้นออนไลน์ จาก https://docs.google.com/document/d/1i9lO9PvctwFGoxhL8RokSLjXfvHXRGRWvzHaTWKC- o0/edit
  • 11. 11 [17] การเผยแพร่ข้อมูล. (2556). สืบค้นออนไลน์ จาก https://www.facebook.com/events/417678768344032/ [18] สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน. (2552). โครงการก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media. สืบค้นออนไลน์ จาก http://thaismedu.com/. [19] Jeff Dunn. (2011). The 100 Best Web 2.0 Classroom Tools Chosen By You. Online : http://www.edudemic.com/best-web-tools/ [20] การนา Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. (2556). สืบค้นออนไลน์จาก http://kasmos52.wordpress.com [21] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้ facebook. สืบค้นออนไลน์จาก http://www.facebook.com/krubeeka/ [22] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน wordpress. สืบค้นออนไลน์จาก http://krubeeka.wordpress.com/ [23] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน youtube. สืบค้นออนไลน์จาก http://wwwyoutube.com/piriyalaichannal/ [24] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน twitter. สืบค้นออนไลน์จาก http://www.twitter.com/krubeeka/ [25] วณิชชา แม่นยา. (2556). ภาพตัวอย่างการใช้งาน slideshare. สืบค้นออนไลน์จาก http://www.slideshare.net/krubeeka/ [26] สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน. (2554). ที่มาของบล็อก smeducation. สืบค้นออนไลน์ จาก http://smeducation.wordpress.com/about/ [27] กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (2554). ผลกระทบของโซเชียลเน็ตเวิร์คหรือโซเชียลมีเดียต่อ สังคมไทย. สืบค้นออนไลน์จาก http://www.gotoknow.org/posts/471684 [28] Poore, M. ( 2013). Using Social Media in the Classroom : A Best Practice Guide. London : SAGE. [29] จารุวัจน์ สองเมือง. (255). เครือข่ายสังคมออนไลน์กับห้องเรียน. สืบค้นออนไลน์ จาก http://tawasau.yiu.ac.th/jaruwut/?p=41 [30] จุไรรัตน์ ทองคาชื่นวิวัฒน์. 2009. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online Social Network). สืบค้น ออนไลน์ จาก http://ngnforum.ntc.or.th/index.php?option=com_content& task=view&id=76&Itemid=1 [31] Antony Mayfield. 2008. What is Social Media? . สืบค้นออนไลน์ จาก http://www.icrossing.co.uk/fileadmin/uploads/eBooks/What_is_Social_Media_iCrossing_eboo k.pdf [32] ภาพ9 : http://edudemic.com/wp-content/uploads/2012/09/dd_social.jpg