SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
การกรอกรายละเอียดในแบบฟอรมนี้ ตองดําเนินการใหครบถวนตามความเปนจริง หากตรวจสอบพบวามีการปกปดหรือเปนเท็จ วช.
                   ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไมพิจารณาสนับสนุนและจะเปนผูไมมีสิทธิ์รับทุน วช. เปนเวลา 3 ป

                             สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)                                      แบบ วช. 1ช
                                                                                                           B1 - B3
                             แบบเสนอแผนงานวิจัย (Research Program)
                  ประกอบการเสนอของบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ
                                      ประจําปงบประมาณ 2556
                            ----------------------------------------------------------------------
                                ประเภททุน ทุนอุดหนุนการวิจัยปงบประมาณ 2556
                                     ยื่นเสนอขอรับทุนในกลุมเรื่อง : เรงดวน
                                                           
                                           แผนงาน : แผนงานวิจั ยใหม
                                           หัวขอยอย : สาขาการศึกษา

  ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) การพัฒนานวัตกรรมสรางสรรคการเรียนรูสการมีสวนรวมอนุรักษ
                                                                  ู
                            ภูมิปญญาทองถิ่น
                 (ภาษาอังกฤษ) The development of innovative learning to conservative
                               participation of local wisdom.

  ชื่อโครงการวิจัยภายใตแ ผนงานวิจัย
             1. (ภาษาไทย) การพัฒนาคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองค
                             ความรูภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร
                   (ภาษาอังกฤษ) The development of Knowledge Base by Social Media for
                                  Constructivism Creation Phrae local Wisdom.
             2. (ภาษาไทย) การพัฒนาสื่อวิดิทัศนเพื่อการเรียนรูและสงเสริมการอนุรกษ
                                                                                 ั
                             ภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ
                   (ภาษาอังกฤษ) The development of educational video for support and
                                  Reserving Uttaradit local wisdom.
             3. (ภาษาไทย) การพัฒนานักเรี ยนระดับประถมศึก ษาโดยใชรูปแบบการสอนแบบ
                             บูร ณาการดวยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงเพื่อส งเสริมความฉลาด
                             ทางจิตวิญญาณ
                   (ภาษาอังกฤษ) The development of elementary school students by using
                                  the integration instructional model of sufficiency
                                  economy to enhance spiritual quotient.


            หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหน้ า หมายถึงคําอธิบายไม่ จําเป็ นต้ องระบุไว้ ในแผนงานวิจัย
-2-


              4. (ภาษาไทย) การพัฒ นาแบบจําลองความเปนเลิ ศของการเรียนรูตลอดชีวิตในสัง คม
                           พหุวัฒนธรรมศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาภาคเหนือตอนลาง
                  (ภาษาอังกฤษ) The Development of Intellectual Model of Long-life
                               Learning in Educational Multi-cultural Society in Lower
                               North Region Primary School

ลักษณะแผนงานวิจัย
           I ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผน
           พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
              บทยุทธศาสตรบทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสงคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน
                                                               ั
              ซึ่งกําหนดแนวทางการพัฒนา ขอที่ 4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สรางโอกาสการเรียนรู
           อยางตอเนื่องใหคนทุกกลุมทุกวัยสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทังทีเ่ ปน
                                                                                            ้
           วัฒนธรรม ภูมิปญญา และองคความรูใหม
                            

        II ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.
           2555-2559) (กรุณาระบุความสอดคลองเพียง 1 ยุทธศาสตร 1 กลยุทธ และ 1 แผนงานวิจัย ที่มี
           ความสอดคลองมากที่สุด โดยโปรดดูรายละเอียดในผนวก 2)
              ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 4 การสรางศัก ยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนานวัตกรรมและ
           บุคลากรทางการวิจัย
              กลยุทธการวิจัยที่ 1 พัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และนวัตกรรมสูเชิงพาณิชยรวมทั้งองคความรู
           ใหมทางวิทยาศาสตร สังคมศาสตรและการพัฒนาองคความรูใหมในวิทยาการตางๆ
              แผนงานวิจัยที่ 2 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐและองคความรู ใหมทางสังคมศาสตร

        III ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับกลุมเรื่องเรงดวน (โปรดระบุรายละเอียดในผนวก 3)
              กรอบการวิจัยชุดที่ 2 เรื่องเรงดวน
              ขอ 9 การปฏิรูปการศึกษาและสรางสรรคการเรียนรู





    รอรายละเอียดจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

           หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-3-


        IV ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับนโยบายรัฐบาล
              นโยบายเรงดวนทีจะเริ่มดําเนินการในปแรก : เรงเพิมรายไดจากการทองเที่ยวทังในและนอก
                                ่                               ่                        ้
           ประเทศ โดยประกาศใหป 2554-2555 เปนป “มหัศจรรยไทยแลนด” และประชาสัมพันธเชิญชวน
           นักทองเที่ยวตางชาติเขารวมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลทีจะมีขึ้นในชวงป พ.ศ. 2554-2555
                                                                        ่
              นโยบายระยะการบริหารราชการ 4 ป ของรัฐบาล : นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย
           และนวัตกรรม เรงสรางนักวิทยาศาสตร นักวิจัย และครูวิทยาศาสตรใหเพียงพอ สงเสริมสนับสนุน
           การวิจัยและพัฒนา สงเสริมความรวมมือกับประเทศมุสลิม และองคกรอิสลามระหวางประเทศ





     รอรายละเอียดจากรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง 3 กรกฎาคม 2554

           หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-4-



สวน ก: องคประกอบในการจัดทําแผนงานวิจัย
        1. ผูรับผิดชอบและหนวยงาน ประกอบดวย (กรณีเปนทุนความรวมมือกับตางประเทศใหระบุ
                  ผูรบผิดชอบทั้ง “ฝายไทย” และ “ฝายตางประเทศ”)
                      ั
                        1.1 หัวหนาโครงการ
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : รศ.ดร.สําราญ มีแจง                  สัดสวนทําวิจัย   20%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Assoc. Prof. Dr. Samran Mejang
                             หมายเลขบัตรประชาชน : 3 1202 00505 34 7
                        1.2 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : รศ.ดร.เทียมจันทร พานิชยผลินไชย สัดสวนทําวิจัย       15%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Assoc. Prof. Dr. Tiamjan Panitchsonchai
                             หมายเลขบัตรประชาชน :
                        1.3 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ผศ.ดร.ดิเรก ธีระภูธร         สัดสวนทําวิจัย 8%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Direk Teeraputon
                             หมายเลขบัตรประชาชน :
                        1.4 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ผศ.ดร.รุจโรจน แกวอุไร              สัดสวนทําวิจัย   8%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Rujroad Kaewurai
                             หมายเลขบัตรประชาชน :
                        1.5 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ผศ.ดร.สิรินภา กิจเกื้อกูล            สัดสวนทําวิจัย   8%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Sirinapa Kijkuakoon
                             หมายเลขบัตรประชาชน :
                        1.6 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ดร.สายฝน วิบูลรังสรรค               สัดสวนทําวิจัย   8%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Saifon Wiboonrangsan
                             หมายเลขบัตรประชาชน :
                        1.7 ผูรวมงานวิจัย
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ดร.ออมธจิต แปนศรี                  สัดสวนทําวิจัย   8%
                             ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Omthajit Pansri
                             หมายเลขบัตรประชาชน :
                        1.8 ผูรวมงานวิจัย


          หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-5-


                        ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ดร.ชํานาญ ปาณาวงษ              สัดสวนทําวิจัย        8%
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Chamnan Panawong
                        หมายเลขบัตรประชาชน :
                   1.9 ผูรวมงานวิจัย
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาววณิชชา แมนยํา            สัดสวนทําวิจัย        5%
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Miss Wanitcha Manyum
                        หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00416 12 3
                   1.10 ผูรวมงานวิจัย
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาววิลาวัลย สมยาโรน         สัดสวนทําวิจัย        4%
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Miss Wilawan Somyaron
                        หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5307 00648 07 1
                   1.11ผูรวมงานวิจัย
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาวชไมพร ศรีสุราช            สัดสวนทําวิจัย        4%
                        ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Miss Chamaiporn Srisurach
                        หมายเลขบัตรประชาชน :
                   1.12 ผูรวมงานวิจัย
                        ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย) : นายศรัณยู หมื่นเดช          สัดสวนทําวิจัย        4%
                        ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) : Mr. Saranyu Moundet
                        หมายเลขบัตรประชาชน : 3 6703 00136 68 3

          2. ประเภทการวิจย
                         ั
               การพัฒนาทดลอง (experimental development)

          3. สาขาวิชาการและกลุมวิชาที่ทําการวิจัย
               สาขาการศึกษา

           4. คําสําคัญ (keywords) ของแผนงานวิจัย
                นวัตกรรม หมายถึง เทคนิค วิธีการ สิ่งประดิษฐใหม ๆ ที่ยังไมเปนที่ยอมรับมากอน หรือพัฒนา
ของเกาทีมีอยูแลวใหทันสมัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
         ่
                การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงคอนขางถาวรในพฤติกรรม อันเปนผลมาจากการฝกที่
ไดรับการเสริมแรง
                ความคิดสรางสรรค หมายถึง กระบวนการทางปญญาระดับสูง ที่ใชกระบวนการทางความคิด
หลาย ๆ อยางมารวมกัน เพื่อสรางสรรคสงใหม หรือแกปญหาที่มีอยูใหดีขึ้น โดยมีอิสรภาพทางความคิด
                                        ิ่

         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-6-


                การมีสวนรวม หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไมวาจะเปนบุคคลหรือกลุมบุคคลเขามามี
สวนรวมในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ไมวาจะเปนทางตรงหรือทางออมในลักษณะของการรวมรับรู รวมคิด รวม
ทํา ในสิ่งที่มผลกระทบตอตนเองหรือชุมชน
              ี
                อนุรักษ หมายถึง รักษาและใชใหเปนประโยชนมากที่สุดและนานที่สุด
                ภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณ และ
ความเฉลียวฉลาดของชาวบาน รวมทังความรูทสั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึงไปสูคนอีกรุนหนึ่ง
                                     ้       ี่                                      ่
ระหวางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตามสภาพการณทางสังคม
วัฒนธรรม และสิงแวดลอม
                  ่

            5. ความสําคัญและที่มาของปญหา
                    จากการรวมตัวของประเทศสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ ซึ่งไทยเปน 1 ใน ภาคีสมาชิก ซึ่ง
มีความรวมมือกันทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการสื่อสาร
เหลานี้ ลวนเปนองคประกอบทีสําคัญในยุคโลกาภิวัฒนทั้งสิน ประเทศไทยเปนสังคมยอยสังคมหนึ่งในสังคมที่
                                ่                         ้
ยอมไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ประชากรในประเทศจะตองสามารถทีจะเรียนรูที่จะอยูรวมในโลก
                                                                                 ่        
ใบนี้ไดอยางชาญฉลาด ดวยกลไกของการศึกษา
                        แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559 ไดกําหนด
ทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ถึงแนวทางการเสริมรากฐาน
ของประเทศในดานตางๆ ใหเขมแข็ง ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยใหมี
คุณภาพ กาวทันตอการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวยฐานความรู เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม และความคิดสรางสรรค นําไปสูการพัฒนาประเทศที่มั่นคง และยั่งยืน โดยไดกําหนด บทยุทธศาสตร
                                          
บทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ซึ่งกําหนดแนวทางการพัฒนา
                                  
ขอที่ 4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สรางโอกาสการเรียนรูอยางตอเนื่องใหคนทุกกลุมทุกวัยสามารถเขาถึง
แหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทั้งที่เปนวัฒนธรรม ภูมิปญญา และองคความรูใหม โดยเนน
                             
สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรูและปจจัยสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต เปนการ พัฒนาองคความรู
ของทองถิ่นทั้งจากผูรู ปราชญชาวบาน และจัดใหมีการวิจัยเชิงประจักษของชุมชน การจัดการองคความรูใน
                      
ชุมชนอยางเปนระบบ ควบคูกับการพัฒนาทักษะดานภาษาและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหเอื้อตอการเขาถึง
แหลงเรียนรูทหลากหลาย ตลอดจนเนื้อหาสาระทีเ่ หมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง
               ี่
                        แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 ได
พัฒนาขึ้น เพื่อมุงเนนแกไขจุดออนทีสําคัญของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย โดยกําหนดวิสัยทัศน ไววา
                                   ่
“ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT” โดย “สังคมอุดมปญญา” ในที่นี้ หมายถึง
สังคมทีมีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญา
         ่                                              ่
เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรูสารสนเทศ (Information
Literacy) สามารถเขาถึงและใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิด

          หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-7-


ประโยชนแกตนเองและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล
(Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืน

                       ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีมีตอการจัดการศึกษา ทําใหทก
                                                                         ่                           ุ
ภาคสวนไดตระหนักเปนวาระสําคัญ ดังใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ไดระบุหมวดที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา
และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว คือ หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา เพื่อใหผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและ
พัฒนาตนเองได โดยการจัดกระบวนการเรียนรู และการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบอยาง
พอเพียง และมีประสิทธิภาพ และหมวดที่ 9 การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อการสงเสริมการ
เรียนรูตลอดชีวิต การจัดการศึกษามีคุณภาพ มาตรา 65 ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใช
เทคโนโลยีเพือการศึกษา เพื่อใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่
                ่
เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรบการพัฒนาขีดความสามารถใน การใช
                                                                  ั
เทคโนโลยีเพือการศึกษาในโอกาสแรกทีทําได เพื่อใหมีความรู และทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อ
                  ่                    ่
การศึกษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิตมาตรา 67 รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัย
และพัฒนาการผลิต และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย
                       แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) กลาวถึงผลการพัฒนา
การศึกษาทีผานมาวา “ในดานเทคโนโลยีเพือการศึกษา พบวา มีปญหาการดําเนินงาน เนืองมาจากการขาด
              ่                            ่                                             ่
การพัฒนาเนื้อหาผานสื่อทีมีคุณภาพ รวมทั้งการเรียนการสอน และการพัฒนาผูสอน ครูและนักเรียนนําความรู
                             ่
ดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใชในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรูดวยตนเองนอย” จึงไดกําหนด
วัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติไวขอหนึ่งคือ “เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา
และการเรียนรู โดยมุงพัฒนาคนไทยเพื่อพัฒนาสังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม ภูมิปญหาและการเรียนรู มี
การสรางองคความรู นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทรัพยสินทางปญหาเพือการเรียนรู นําไปสูสังคมแหงการเรียนรู
                                                                    ่                  
อยางยั่งยืน มีสุขภาวะ ประชาชนอยูรวมกันอยางสันติสุขและเอื้ออาทร”
                       สํานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สม
ศ.) ซึ่งเปนองคกรทีมีหนาที่ในการรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ไดกําหนด
                     ่
ตัวบงชี้ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) สําหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในตัวบงชี้
ที่ 3.1 ผูเรียนคนควาหาความรูจากการอานและใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบงชี้ที่ 6.2 กระบวนการจัดการ
เรียนรูของครู ไดกําหนดประเด็นครูสามารถจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ
โดยใหมีการประเมินการจัดเตรียมและใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีที่
                                                                       ิ
เหมาะสมมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอน ของครูทกคน        ุ
                    หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผเู รียนเกิดสมรรถนะ
สําคัญ 5 ประการ โดยมีสมรรถนะทีเ่ กี่ยวกับการใชเทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ ความสามารถในการใช

         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-8-


เทคโนโลยี เปนความสามารถ ในการเลือก และใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสือสารการทํางาน การแกปญหาอยาง
                                                             ่
สรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม
                 ความสําคัญของนวัตกรรมตอการพัฒนาประเทศ โดยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน
หรือประเทศทีพัฒนาแลวพบวา ขณะนี้การใชเทคโนโลยีที่คดคนเองในประเทศเพิงเริ่มตน จึงตองมีการเรง
              ่                                         ิ                 ่
กระบวนการถายทอดเทคโนโลยี และการสรางนวัตกรรมใหเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในดานการจัดการ
ทรัพยสินทางปญญา และการเสริมสรางความเขมแข็งในชุมชน การรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี การคงไวซึ่ง
ภูมิปญญาทองถิ่น รวมถึงการเผยแพรองคความรู จะชวยใหประเทศชาติเขมแข็ง โดยสรางใหเกิดกระบวนการมี
สวนรวมระหวางประชาชนกับหนวยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลือนใหเกิดนวัตกรรมจํานวนมากพอทีจะสราง
                                                      ่                                 ่
มูลคาเพิมใหกบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไดอยางรวดเร็ว
         ่ ั

         6. วัตถุประสงคหลักของแผนงานวิจัย
                เพื่อพัฒนานวัตกรรมสรางสรรคการเรียนรูสูการมีสวนรวมอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น
                                                                                  

         7. เปาหมายของผลผลิต (output) และตัวชี้วัด
                ผลผลิต ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
                1) คลังความรูบนเว็บ ดวยคลิปวิดีโอภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ภายใต Domain
                                
                   http://www.phraewisdom.com
                2) สื่อวีดิทัศนภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ
                3) รูปแบบการสอนแบบบูรณาการดวยหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
                4) แบบจําลองความเปนเลิศของการเรียนรูตลอดชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม

                 ผลผลิต ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
                 1) ครู และนักเรียน มีการเรียนรูและรูจักอนุรักษ ประเพณี ภูมปญญาทองถิ่น
                                                                            ิ
                 2) ครู และนักเรียน สามารถนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใชในชีวิตประจําวัน
                 3) ครู และนักเรียน สามารถปรับใชแบบจําลองความเปนเลิศของการเรียนรูตลอดชีวิตใน
                    สังคมพหุวัฒนธรรม

         8. เปาหมายของผลลัพธ (outcome) และตัวชี้วัด
                 1) ประชาชน ครู และนักเรียน มีการเรียนรูและรูจักอนุรักษ ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น
                                                                                      
                 2) ประชาชน ครู และนักเรียน สามารถนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใชใน
                    ชีวิตประจําวัน



         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-9-


                 3) ประชาชน ครู และนักเรียน สามารถปรับใชแบบจําลองความเปนเลิศของการเรียนรู
                    ตลอดชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม

            9. ทฤษฎี สมมติฐาน และ/หรือ กรอบแนวความคิดของแผนงานวิจัย
                 ความคิดสรางสรรค
                           ความหมายของความคิดสรางสรรค
                           ความคิดสรางสรรคเปนสิ่งที่มีอยูในทุกตัวคน มากบางนอยบางแตกตางกันไป
สําหรับความหมายของความคิดสรางสรรคน้นไดมีผูใหความหมายไวหลายทัศนะ เชนหนวยศึกษานิเทศน
                                              ั
กรมการฝกหัดครู (2523) ไดใหคําจํากัดความไววา ความคิดสรางสรรคเปนลักษณะการคิดแบบอเนกนัย
หรือความคิดหลายทิศหลายทางที่นําไปสูกระบวนการคิดประดิษฐสิ่งแปลกใหม รวมทั้งการคิดและการ
คนพบวิธีการแกปญหาใหมตลอดจนความสําเร็จในดานการคิดคนพบทฤษฎีตาง ๆ อันกอใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงในทางสรางสรรคท่ีเปนประโยชน ตอสังคม
                           อารี รังสินันท (2527) ใหความหมายความคิดสรางสรรคไววา ความคิดสรางสรรค
คือ ความคิดจินตนาการประยุกตที่สามารถนําไปสูสิ่งประดิษฐคิดคนพบใหม ๆทางเทคโนโลยี ซึ่งเปน
ความคิดในลักษณะที่คนอื่นคาดไมถึงหรือมองขาม เปนความคิดหลากหลาย คิดไดกวางไกลเนนทั้งปริมาณ
และคุณภาพ อาจเกิดจากการคิดผสมผสานเชื่อมโยงระหวางความคิดใหม ๆที่แกปญหาและเอื้ออํานวย
ประโยชนตอตนเองและสังคม
                           Guilford (1959) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมอง เปน
ความสามารถที่จะคิดไดหลายทิศหลายทาง หรือแบบอเนกนัยและความคิดสรางสรรคนี้ประกอบดวยความ
คลองในการคิด ความคิดยืดหยุนและความคิดที่เปนของตนเองโดยเฉพาะ คนที่มีลักษณะดังกลาวจะตอง
เปนคนกลาคิดไมกลัวถูกวิพากษวิจารณและมีอิสระในการคิดดวย
                           Anderson (1970) ใหความหมายของความคิดสรางสรรควา คือความสามารถ
ของบุคคลในการคิดแกปญหาดวยการคิดอยางลึกซึ้งที่นอกเหนือไปจากการคิดอยางปกติธรรมดา เปน
ลักษณะภายในตัวบุคคลที่สามารถจะคิดไดหลายแงหลายมุมผสมผสานจนไดผลิตผลใหมที่ถูกตองสมบูรณ
กวา
                           จากนิยามความหมายดังกลาวสามารถสรุปไดวา ความคิดสรางสรรคหมายถึง
ความสามารถของบุคคลในการคิดหลายแงหลายมุมที่เรียนกวาความคิดอเนกนัย( Divergent Thinking) ซึ่ง
เกิดจาการเชื่อมโยงสิ่งที่ดี ความสัมพันธกันโดยมีสิ่งเราเปนตัวกระตุนทําใหเกิดความคิดแปลกใหมที่
ตอเนื่องกันไป สามารถนําไปแกปญหาและประยุกตใชสถานการณตาง ๆได

            ทฤษฎีความคิดสรางสรรค
            ทฤษฎีความคิดสรางสรรคของ Walls, Wallas ไดกลาวไววา ความคิดสรางสรรคจาก
กระบวนการของการคิดสิ่งใหม ๆ โดยการลองผิดลองถูก (Trial and Error) ไดแบงขั้นตอนไว 4 ขั้นคือ

         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-10-



                          ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (Preparation) เปนขั้นเตรียมขอมูลตาง ๆ เชนขอมูลเกี่ยวกับ
การกระทํา หรือแนวทางที่ถูกตองหรือขอมูลระบุปญหา หรือขอมูลที่เปนความจริง ฯลฯ
                          ขั้นที่ 2 ขั้นความคิดครุกกรุน หรือระยะฟกตัว (Incubation) เปนขั้นตอนที่อยูใน
ความวุนวาย ขอมูลตาง ๆ ทั้งใหมและเกาสะเปะสะปะ ปราศจากความเปนระเบียบเรียบรอย ไมสามารถ
ขมวดความคิดนั้น
                          ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดกระจางชัด (illumination) เปนขั้นที่ความคิดสับสนนั้นได
ผานการเรียบเรียงและเชื่อมโยงกับความสัมพันธตาง ๆ เขาดวยกันใหมีความกระจางชัดและสามารถ
มองเห็นภาพพจนมโนทัศนของความคิด
                          ขั้นที่ 4 ขั้นทดสอบความคิดและพิสูจนใหเห็นจริง (Verification) เปนขั้นที่ไดรับ
ความคิด 3 ขั้นจากขางตน เพื่อพิสูจนวาเปนความคิดที่เปนจริงและถูกตองหรือไม
                  (Davis (1983) ไดรวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคของนักจิตวิทยาที่ไดกลาวถึง
ทฤษฎีของความคิดสรางสรรค โดยแบงเปนกลุมใหญ ๆได 4 กลุม คือ
                          1. ทฤษฎีความคิดสรางสรรคเชิงจิตวิเคราะห นักจิตวิทยาทางจิตวิเคราะหหลาย
คนเชน Freud และ Kris ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดความคิดสรางสรรควา ความคิดสรางสรรคเปนผล
มาจากความขัดแยงภายในจิตใตสํานึกระหวางแรงขับทางเพศ (Libido) กับความรูสึกผิดชอบทางสังคม
(Social Conscience) สวน Kubie และ Rugg ซึ่งเปนนักจิตวิเคราะหแนวใหมกลาววาความคิดสรางสรรค
นั้นเกิดขึ้นระหวางการรูสติกับจิตใตสานึกซึ่งอยูในขอบเขตของจิตสวนที่เรียกวาจิตกอนสํานึก
                                        ํ
                          2. ทฤษฎีความคิดสรางสรรคเชิงพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยากลุมนี้มีแนวความคิด
เกี่ยวกับเรื่องความคิดสรางสรรควาเปนพฤติกรรมที่เกิดการเรียนรู โดยเนนที่ความสําคัญของการเสริมแรง
การตอบสนองที่ถูกตองกับสิ่งเราเฉพาะหรือสถานการณ นอกจากนี้ยังไดเนนความสัมพันธทางปญญา คือ
การโยงความสัมพันธจากสิ่งเราหนึ่งไปยังสิ่งตาง ๆทําใหเกิดความคิดใหมหรือสิ่งใหมเกิดขึ้น
                          3. ทฤษฎีความคิดสรางสรรคเชิงมานุษยนิยม นักจิตวิทยาในกลุมนี้มีแนวคิดวา
ความคิดสรางสรรคเปนสิ่งที่มนุษยมีติดตัวมาแตกําเนิด ผูที่สามารถนําความคิดสรางสรรคออกมาใชไดคือผูที่
มีสัจจการแหงตน คือ รูจักตนเอง พอใจตนเองและใชตนเองเต็มตามศักยภาพของตน มนุษยจะสามารถ
แสดงความคิดสรางสรรคของตนออกมาไดอยางเต็มที่นั้นขึ้นอยูกับการสรางสภาวะหรือบรรยากาศที่
เอื้ออํานวย ไดกลาวถึงบรรยากาศที่สําคัญในการสรางสรรควาประกอบดวยความปลอดภัยในเชิงจิตวิทยา
ความมั่นคงของจิตใจ ความปราถนาที่จะเลนกับความคิดและการเปดกวางที่จะรับประสบการณใหม
                          4. ทฤษฎี AUTA ทฤษีนี้เปนรูปแบบของการพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้น
ในตัวบุคคล โดยมีแนวคิดวาความคิดสรางสรรคนั้นมีอยูในมนุษยทุกคนและสามารถพัฒนาใหสูงขึ้นไดการ
พัฒนาความคิดสรางสรรคตามรูปแบบ AUTA ประกอบดวย




          หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-11-


                                     4.1 การตระหนัก (Awareness) คือ ตระหนักถึงความสําคัญของ
ความคิดสรางสรรคที่มีตอตนเอง สังคม ทั้งในปจจุบันและอนาคตและตระหนักถึงความคิดสรางสรรคที่มีอยู
ในตนเองดวย
                                     4.2 ความเขาใจ (Understanding) คือ มีความรูความเขาใจอยาง
ลึกซึ้งในเรื่องราวตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความคิดสรางสรรค
                                     4.3 เทคนิควิธี (Techniques) คือ การรูเทคนิควิธีในการพัฒนา
ความคิดสรางสรรคทั้งที่เปนเทคนิคสวนบุคคลและเทคนิคที่เปนมาตรฐาน
                                     4.4 การตระหนักในความจริงของสิ่งตาง ๆ (Actualization) คือ
การรูจักหรือตระหนักในตนเอง พอใจในตนเองและพยายามใชตนเองอยางเต็มศักยภาพรวมทั้งการเปด
กวางรับประสบการณตาง ๆโดยมีการปรับตัวไดอยางเหมาะสม การตระหนักถึงเพื่อนมนุษยดวยกัน การ
ผลิตผลงานดวยตนเองและการมีความคิดที่ยืดหยุนเขากับทุกรูปแบบของชีวิต

                      จากทฤษฎีความคิดสรางสรรคดังกลาว จะเห็นวาความคิดสรางสรรคเปนทักษะที่
มีอยูในบุคคลทุกคน และสามารถที่จะพัฒนาใหสูงขึ้นไดโดยอาศัยกระบวนการเรียนรูและการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนในบรรยากาศที่เอื้ออํานวยอยางเปนระบบและตอเนื่อง

                 ลักษณะของความคิดสรางสรรค
                           บรรพต พรประเสริฐ; 2538 ไดจําแนกองคประกอบของความคิดสรางสรรความี
องคประกอบ 3 ดานคือ
                           1.ความคิดคลองแคลว (Fluency)
                           2.ความคิดยืดหยุน (Flexibility)
                           3.ความคิดริเริ่ม(Originality)
                   ความคิดสรางสรรคมีลักษณะที่แบงออกไดเปน 3 ลักษณะไดแก
                           ลักษณะที่ 1 เปนกระบวนการคิดสามารถแตกความคิดเดิมไปสูความคิดที่แปลก
ใหมไมซ้ํากับใคร
                           ลักษณะที่ 2 เปนลักษณะของบุคคลที่มีเอกลักษณเปนของตนเองเกิดความรูสึก
พอใจและเชื่อมั่นในตนเอง และ
                           ลักษณะที่ 3 เปนผลงานที่เกิดจากความคิดแปลกใหมท่ีมีประโยชนตอตนเองและ
ผูอื่น โดยที่ทุกคนสามารถสรางสรรคได กับใหผูอ่ืนยอมรับวามีประโยชนเปนของแปลกใหม ตลอดจน
สามารถวัดและประเมินผลของคุณคาผลผลิตได
                   กิลฟอรด (Guilford) เสนอความคิดวา ความสามารถทางสมองซึ่งเกิดจาการปฏิบัติตาม
เงื่อนไขขององคประกอบ 3 มิติ (Three Dimensional Model) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้



         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-12-


                         มิติที่ 1 ดานเนื้อหา (Contents) หมายถึงวัตถุ/ขอมูลตาง ๆที่รับรูและใชเปนสื่อ
ใหเกิดความคิด มีอยู 5 ชนิด คือ เนื้อหาที่เปนรูปภาพ (Figural contents) เนื้อหาที่เปนเสียง (Auditory
contents) เนื้อหาที่เปนสัญลักษณ (Symbolic Contents) เนื้อหาที่เปนภาษา (Semantic Contents)
และเนื้อหาที่เปนพฤติกรรม (Behavior Contents)
                         มิติที่ 2 ดานปฏิบัติการ (Operation)หมายถึงวิธีการ/กระบวนการคิดตาง ๆที่
สรางขึ้นมา ประกอบดวยความสามารถ 5 ชนิด คือ การรับรูและการเขาใจ(Cognition) การจํา (Memory)
การคิดแบบอเนกมัย(Divergent thinking) และการประเมินคา(Evaluation)
                         มิติที่ 3 ดานผลผลิต (Products) หมายถึงความสามารถที่เกิดขึ้นจากการ
ผสมผสานมิติดานเนื้อหาและดานปฏิบัติการเขาดวยกัน เปนผลผลิตที่เกิดจากการรับรู วัตถุ/ขอมูล แลวเกิด
วิธีการคิด/กระบวนการคิด ซึ่งทําใหเกิดผลของการผสมผสานในรูปแบบ 6 ชนิด คือ หนวย (Units) จําพวก
(classes) ความสัมพันธ (Relations) ระบบ (System) การแปลงรูป (Transformation) และการประยุกต
(Implication)

                   บุคคลที่มีความคิดสรางสรรค (Creative Person)
                           หมายถึง ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกมา แมคินนอน (Mackinnon,
1960) ไดศึกษาคุณลักษณะของผูท่ีมีความคิดสรางสรรค พบวาผูที่มีความคิดสรางสรรคจะเปนผูที่ตื่นตัวอยู
ตลอดเวลา มีความสามารถในการใชสมาธิ มีความสามารถในการพินิจวิเคราะห ความคิดถี่ถวนเพื่อใชใน
การแกปญหาและมีความสามารถในการสอบสวน คนหารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางละเอียด
กวางขวาง คุณลักษณะอีกประการหนึ่งก็คือ เปนผูที่เปดรับประสบการณตางๆ อยางไมหลีกเลี่ยง
(Openness to Experience) ชอบแสดงออกมามากกวาที่จะเก็บกดไว และยังกลาวเพิ่มเติมวา สถาปนิกที่
มีความคิดสรางสรรคสูงมักเปนคนที่รับรูส่ิงตางๆ ไดดีกวาสถาปนิกที่มีความคิดสรางสรรคต่ํา กรีสวอลด
(Griswald, 1966) ยังพบวาบุคคลดังกลาวจะมองเห็นลูทางที่จะแกปญหาไดดีกวา เนื่องจากมีความตั้งใจ
จริง มีการรับรูเร็วและงาย และมีแรงจูงใจสูง
                 ฟรอมม (Fromm, 1963) กลาวถึงลักษณะของคนที่มีความคิดสรางสรรคไวคอนขางละเอียด
ดังนี้
                           1. มีความรูสึกทึ่ง ประหลายใจที่พบเห็นของใหมที่นาทึ่ง (Capacity of be
puzzled) หรือประหลาดใจ สนใจสิ่งที่เกิดขึ้นใหม หรือของใหมๆ
                           2. มีสมาธิสูง (Ability to Concentrate) การที่จะสรางสิ่งใดก็ได คิดอะไรออกก็
ตองไตรตรองในเรื่องนั้นเปนเวลานาน ผูท่ีสรางสรรคจาเปนจะตองมีความสามารถทําจิตใจใหเปนสมาธิ
                                                        ํ
                           3. สามารถที่จะยอมรับสิ่งที่ไมแนนอนและเปนสิ่งที่เปนขอขัดแยงและความตึง
เครียดได (Ability to accept conflict and tension)
                           4. มีความเต็มใจที่จะทําสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นใหมทุกวัน (Wllingness to be born
everyday) คือ มีความกลาหายและศรัทธาที่จะผจญตอสิ่งแปลงใหมทุกวัน

         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-13-


                บารอนและเวลซ (Baron and Welsh, 1952) พบวา คนที่มีความคิดสรางสรรคนั้นชอบคิด
อยางซับซอน และสนุกตื่นเตนกับการคนควาสิ่งตางๆ ตลอดเวลา
                แกริสัน (Garison, 1954) ไดอธิบายถึงลักษณะของผูที่มีความคิดสรางสรรคไวดังนี้
                          1. เปนคนที่สนใจในปญหา ยอมรับความเปลี่ยนแปลง ไมถอยหนีปญหาที่จะ
เกิดขึ้น แตกลาที่จะเผชิญปญหา กระตือรือรน ที่จะแกไขปญหาตลอดจนหาทางปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
พัฒนาตนและงานอยูเสมอ
                          2. เปนคนมีความสนใจกวางขวาง ทันตอเหตุการณรอบดานตองการการเอาใจใส
ในการศึกษาหาความรูจากแหลงตางๆ เพิ่มเติมอยูเสมอ พรอมทั้งยอมรับขอคิดเห็นจากขอเขียนที่มี
สาระประโยชน และนําขอมูลเหลานั้นมาประกอบใชพิจารณาปรับปรุงพัฒนางานของตน
                          3. เปนคนที่ชอบคิดหาทางแกปญหาไดหลายๆ ทาง เตรียมทางเลือกสําหรับแกไข
ปญหาไวมากกวา 1 วิธีเสมอ ทั้งนี้เพื่อจะชวยใหมีความคลองตัวและประสบผลสําเร็จมากขึ้น เพราะการ
เตรียมทางแกไวหลายๆ ทางยอมสะดวกในการเลือกใชใหเหมาะสมกับสถานการณได และยังเปนการ
ประหยัดเวลาและเพิ่มกําลังใจในการแกไขปญหาดวย
                          4. เปนคนที่มีสุขภาพรางกายสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ หรือสุขภาพกายดี
สุขภาพจิตก็ดีน่นเอง ทั้งนี้เพราะมีการพักผอนหยอนใจอยางเพียงพอ และมีความสนใจตอสิ่งใหมที่พบ และ
                ั
ยังเปนชางซักถามและจดจําไดดี ทําใหสามารถนําขอมูลที่จดจํามาใชประโยชนไดดี จึงทําใหงานดําเนินไปได
ดวยดี
                          5. เปนคนที่ยอมรับและเชื่อในบรรยากาศและสภาพแวดลอมวามีผลกระทบตอ
ความคิดสรางสรรค ดังนั้น การจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมวา มีผลกระทบตอความคิดสรางสรรค
ดังนั้น การจัดบรรยากาศ สถานที่ สิ่งแวดลอมที่เหมาะสม จะสามารถขจัดสิ่งรบกวนและอุปสรรค ทําใหการ
พัฒนาการคิดสรางสรรคเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
                   ทอรแรนซ ไดสรุปลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสรางสรรคสูง จากผลการศึกษาของ
สเตนนและเฮนซ (Stein and Heinze, 1690) ซึ่งไดศึกษาบุคลิกภาพของเด็กที่มีความคิดสรางสรรคสูง
โดยเปรียบเทียบกับเกณฑซ่ึงเปนแบบวัดบุคลิกภาพ Minnesota Multiphasic Personality Inventory
(MMPI), Thematic Apperceprtion (TAT), แบบวัดบุคลิกภาพของรอรชาจ (Rorschach) และอื่นๆ ซึ่ง
ไดสรุปบุคลิกภาพที่สําคัญๆ ของบุคคลที่มีความคิดสรางสรรคสูงไว 46 ประการ ดังนี้
                          1. มีความสามารถในการตัดสินใจ
                          2. มีความเปนอิสระในดานการคิด
                          3. มีอารมณออนไหวและเปนคนออนโยน
                          4. มีความกลาที่จะคิดในสิ่งที่แปลงใหม
                          5. มีแนวคิดคอนขางซับซอน
                          6. มีความคิดเห็นรุนแรง
                          7. มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง

         หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-14-


                8. มีความพยายามที่จะทํางานยากๆ หรืองานที่ตองแกปญหา
                9. มีความจําแมนยํา
                10. มีความรูสึกไวตอสิ่งสวยงาม
                11. มีความซื่อสัตยและรักความเปนธรรม
                12. มีความเปนอิสระในการตัดสินใจ
                13. มีความตั้งใจจริง
                14. มีความสามารถในการหยั่งรู
                15. มักจะกลาหาญและชอบการผจญภัย
                16. มักจะใชเวลาใหเปนประโยชน
                17. มักจะคาดคะเนหรือเดาเหตุการณลวงหนา
                18. มักจะชวยเหลือและใหความรูแกผูอื่น
                19. มักจะตอตานในสิ่งที่ไมเห็นดวย
                20. มักจะทําผิดขอบังคับและกฎเกณฑ
                21. มักจะวิเคราะหวิจารณสิ่งที่พบเห็น
                22. มักจะทํางานผิดพลาด
                23. มักจะทําในสิ่งแปลกๆ ใหมๆ
                24. มักจะรักสันโดษ
                25. มักจะเห็นแกประโยชนของผูอื่นมากกวาประโยชนของตนเอง
                26. มักใหความสนใจกับทุกสิ่งที่อยูรอบตัว
                27. มักจะอยากรูอยากเห็น
                28. มักจะยอมรับในสิ่งที่ไมเปนระเบียบ
                29. มักจะไมทําตามหรือเลียนแบบผูอ่ืน
                30. มักจะหมกมุนในปญหา
                31. มักจะดื้อดึงและหัวแข็ง
                32. มักจะชางซักถาม
                33. มักจะไมสนใจในสิ่งเล็กๆ นอยๆ
                34. มักจะไมยอมรับความคิดของผูอื่นโดยงาย
                35. มักจะกลาแสดงความคิดเห็นที่ไมตรงกับผูอื่น
                36. มักจะรักและเต็มใจเสี่ยง
                37. มักจะไมเบื่อที่จะทํากิจกรรม
                38. มักจะไมชอบทําตัวเดน
                39. มักจะมีความสามารถในการหยั่งรู
                40. มักจะพอใจในผลงานที่ทาทาย

หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-15-


                          41.   มักจะไมเคยเปนศัตรูของใคร
                          42.   มักจะตอตานกฎระเบียบตางๆ ที่ไมถูกตอง
                          43.   มักจะวางเปาหมายใหกับชีวิตตนเอง
                          44.   มักจะตอตานการกระทําที่รุนแรงตางๆ
                          45.   มักจะจริงใจกับทุกๆ คน
                          46.   มักจะเลี้ยงตนเองไดโดยที่ไมตองพึ่งพาผูอื่น

                  ผลผลิตสรางสรรค (Creative Product)
                          ลักษณะของผลผลิตนั้น โดยเนื้อแทเปนโครงสรางหรือรูปแบบของความคิดที่ได
แสดงกลุมความหมายใหมออกมาเปนอิสระตอความคิดหรือสิ่งของที่ผลิตขึ้น ซึ่งเปนไปไดทั้งรูปธรรมและ
นามธรรม
                  นิวเวลล ชอว และซิมปสัน (Newell, show and Simpson, 1963) ไดพิจารณาผลผลิต
อันใดอันหนึ่งที่จัดเปนผลผลิตของความคิดสรางสรรค โดยอาศัยหลักเกณฑตอไปนี้
                          1. เปนผลผลิตที่แปลงใหมและมีคาตอผูคิดสังคมและวัฒนธรรม
                          2. เปนผลผลิตที่ไมเปนไปตามปรากฎการณนิยมในเชิงที่วามีการคิดดัดแปลงหรือ
ยกเลิกผลผลิต หรือความคิดที่เคยยอมรับกันมากอน
                          3. เปนผลผลิตซึ่งไดรับจากการกระตุนอยาสูงและมั่นคง ดวยระยะยาวหรือความ
พยายามอยางสูง
                          4. เปนผลผลิตที่ไดจากการประมวลปญหา ซึ่งคอนขางจะคลุมเครือและไมแจมชัด

                 สําหรับเรื่องคุณภาพของผลผลิตสรางสรรคนั้น เทเลอร (Tayler, 1964) ไดใหขอคิด
เกี่ยวกับความคิดสรางสรรคของคนวาไมจําเปนตองเปนขั้นสูงสุดยอดหรือการคนควาประดิษฐของใหม
ขึ้นมาเสมอไป แตผลของความคิดสรางสรรคอาจจะอยูในขั้นใดขั้นหนึ่งตอไปนี้ โดยแบงผลผลิตสรางสรรคไว
เปนขั้นๆ ดังนี้
                          1. การแสดงออกอยางอิสระ ในขั้นนี้ไมจําเปนตองอาศัยความคิดริเริ่มและทักษะ
ขั้นสูงแตอยางใด เปนเพียงแตกลาแสดงออกอยางอิสระ
                          2. ผลิตงานออกมาโดยที่งานนั้นอาศัยบางประการ แตไมจาเปนตองเปนสิ่งใหม
                                                                                  ํ
                          3. ขั้นสรางสรรคเปนขั้นที่แสดงถึงความคิดใหมของบุคคลไมไดลอกเลียนมาจาก
ใคร แมวางานนั้นอาจจะมีคนอื่นคิดเอาไวแลวก็ตาม
                          4. ขั้นคิดประดิษฐอยางสรางสรรค เปนขั้นที่สามารถคิดประดิษฐสิ่งใหมขึ้น โดยไม
ซ้ําแบบใคร
                          5. เปนขั้นการพัฒนาผลงานในขั้นที่ 4 ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น



          หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
-16-


                        6. เปนขั้นความคิดสรางสรรคสูงสุด สามารถคิดสิ่งที่เปนนามธรรมขั้นสูงได เชน
ชารลส ดารวิน คิดคนทฤษฎีวิวัฒนาการ ไอสไตน คิดทฤษฎีสัมพันธภาพขึ้น เปนตน

                   เทคนิคการพัฒนาความคิดสรางสรรค
                             1. เทคนิคความกลาที่จะริเริ่ม จากการวิจัยพบวา ความคิดสรางสรรคต่ํา สามารถ
ปลูกฝงและสงเสริมใหเกิดความคิดสรางสรรคสูงขึ้นได ดวยการถามคําถาม และใหโอกาสไดคิดคําตอบใน
สภาพแวดลอมที่ปลอดภัย เปนที่ยอมรับของผูอื่น สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นได แมบุคคล
ที่มีความคิดวาตนเองไมมีความคิดสรางสรรคก็สามารถสรางความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นดวยการฝกฝน
                             2. เทคนิคการสรางความคิดใหม เปนวิธีการหนึ่งที่ใชการแกไขปญหา สมิท
(Smith, 1958) ไดเสนอวิธีการสรางความคิดใหม โดยการใหบุคคลแจกแจงแนวทางที่สามารถใชในการ
แกปญหาใดปญหาหนึ่งมา 10 แนวทาง จากนั้นจึงแบงแนวทางเหลานั้นออกเปนแนวทางยอยๆ ลงไปอีก
โดยเหตุผลที่วาบุคคลมักจะปฏิเสธไมยอมรับความคิดแรกหรือสิ่งแรกผานเขามาในจิตใจ แตจะพยายาม
บังคับใหจิตใจแสดงทางเลือกอื่นๆ อีก หลักการของสมิธ มีลักษณะเปนผสมผสานหรือการคัดเลือกคําตอบ
หรือทางเลือกตางๆ แลวสรางขึ้นเปนคําตอบหรือทางเลือกที่ดีท่ีสุดในการแกปญหา
                             3. เทคนิคการระดมพลังสมอง เปนเทคนิควิธีหนึ่งในการแกปญหาของออสบอรน
(Alex Osborn) จุดมุงหมายเพื่อสงเสริมใหบุคคลมีความคิดหลายทาง คิดไดคลองในชวงเวลาจํากัด โดย
การใหบุคคลเปนกลุมหรือรายบุคคลก็ได จดรายการความคิดตางๆ ที่คิดไดโดยๆ ไมคํานึงถึงการประเมิน
ความคิด แตเนนปริมาณความคิด คิดใหไดมาก คิดใหแปลง หลังจากไดรวบรวมความคิดตางๆ แลว จึงคอย
ประเมินเลือกเอาความคิดที่ดีที่สุดมาใชในการแกปญหาและจัดลําดับทางเลือกหรือทางแกปญหารองๆ ไว
ดวย
                             หลักเกณฑในการระดมสมอง
                             3.1 ประวิงการตัดสินใจ
                              เมื่อบุคคลเสนอความคิดขึ้นมา จะไมมีการวิพากษ วิจารณ หรือตัดสินความคิด
ใดๆ ทั้งสิ้น ไมวาจะเปนความคิดที่เห็นวาดี มีคุณภาพ หรืออาจมีประโยชนนอยก็ตาม การตัดสินใจยังไม
กระทําในตอนเริ่มตนคิด
                             3.2 อิสระทางความคิด
                             บุคคลมีอิสระที่จะคิดหาคําตอบ หรือเสนอความคิด ความคิดยิ่งแปลงแตกตางจาก
ผูอื่นยิ่งเปนความคิดที่ดี เพราะความคิดแปลกแยกอาจนําไปสูความคิดริเริ่ม
                             3.3 ปริมาณความคิด
                             บุคคลยิ่งคิดไดมาก ไดเร็ว ยิ่งเปนที่ตองการสงเสริมและกระตุนใหบุคคลคิดมากๆ
ไดยิ่งดี
                             3.4 การปรุงแตงความคิด



          หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1kurorma Bent
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e newsshm-nstda
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนKlangpanya
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKrujanppm2017
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนKlangpanya
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระKrujanppm2017
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...ThaiprincessIT
 

What's hot (19)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
Database2011
Database2011Database2011
Database2011
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
V 276
V 276V 276
V 276
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
 

Similar to 05 แผนงานวิจัยรวม-full

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
Single Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission SystemSingle Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission SystemBoonlert Aroonpiboon
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ
 คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศUtai Sukviwatsirikul
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 

Similar to 05 แผนงานวิจัยรวม-full (20)

Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
Single Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission SystemSingle Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission System
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ
 คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือคำศัพท์ไทย อังกฤษสำหรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Herp congress-v
Herp congress-vHerp congress-v
Herp congress-v
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 

More from KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development modelKruBeeKa
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learningKruBeeKa
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional designKruBeeKa
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design modelsKruBeeKa
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟายKruBeeKa
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศKruBeeKa
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปKruBeeKa
 

More from KruBeeKa (16)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

05 แผนงานวิจัยรวม-full

  • 1. การกรอกรายละเอียดในแบบฟอรมนี้ ตองดําเนินการใหครบถวนตามความเปนจริง หากตรวจสอบพบวามีการปกปดหรือเปนเท็จ วช. ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไมพิจารณาสนับสนุนและจะเปนผูไมมีสิทธิ์รับทุน วช. เปนเวลา 3 ป สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) แบบ วช. 1ช B1 - B3 แบบเสนอแผนงานวิจัย (Research Program) ประกอบการเสนอของบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําปงบประมาณ 2556 ---------------------------------------------------------------------- ประเภททุน ทุนอุดหนุนการวิจัยปงบประมาณ 2556 ยื่นเสนอขอรับทุนในกลุมเรื่อง : เรงดวน  แผนงาน : แผนงานวิจั ยใหม หัวขอยอย : สาขาการศึกษา ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) การพัฒนานวัตกรรมสรางสรรคการเรียนรูสการมีสวนรวมอนุรักษ ู ภูมิปญญาทองถิ่น (ภาษาอังกฤษ) The development of innovative learning to conservative participation of local wisdom. ชื่อโครงการวิจัยภายใตแ ผนงานวิจัย 1. (ภาษาไทย) การพัฒนาคลังความรูบนเว็บผานสังคมออนไลนเพื่อสรางองค ความรูภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร (ภาษาอังกฤษ) The development of Knowledge Base by Social Media for Constructivism Creation Phrae local Wisdom. 2. (ภาษาไทย) การพัฒนาสื่อวิดิทัศนเพื่อการเรียนรูและสงเสริมการอนุรกษ ั ภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ (ภาษาอังกฤษ) The development of educational video for support and Reserving Uttaradit local wisdom. 3. (ภาษาไทย) การพัฒนานักเรี ยนระดับประถมศึก ษาโดยใชรูปแบบการสอนแบบ บูร ณาการดวยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงเพื่อส งเสริมความฉลาด ทางจิตวิญญาณ (ภาษาอังกฤษ) The development of elementary school students by using the integration instructional model of sufficiency economy to enhance spiritual quotient. หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหน้ า หมายถึงคําอธิบายไม่ จําเป็ นต้ องระบุไว้ ในแผนงานวิจัย
  • 2. -2- 4. (ภาษาไทย) การพัฒ นาแบบจําลองความเปนเลิ ศของการเรียนรูตลอดชีวิตในสัง คม พหุวัฒนธรรมศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาภาคเหนือตอนลาง (ภาษาอังกฤษ) The Development of Intellectual Model of Long-life Learning in Educational Multi-cultural Society in Lower North Region Primary School ลักษณะแผนงานวิจัย I ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) บทยุทธศาสตรบทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสงคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ั ซึ่งกําหนดแนวทางการพัฒนา ขอที่ 4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สรางโอกาสการเรียนรู อยางตอเนื่องใหคนทุกกลุมทุกวัยสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทังทีเ่ ปน    ้ วัฒนธรรม ภูมิปญญา และองคความรูใหม  II ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2555-2559) (กรุณาระบุความสอดคลองเพียง 1 ยุทธศาสตร 1 กลยุทธ และ 1 แผนงานวิจัย ที่มี ความสอดคลองมากที่สุด โดยโปรดดูรายละเอียดในผนวก 2) ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 4 การสรางศัก ยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนานวัตกรรมและ บุคลากรทางการวิจัย กลยุทธการวิจัยที่ 1 พัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และนวัตกรรมสูเชิงพาณิชยรวมทั้งองคความรู ใหมทางวิทยาศาสตร สังคมศาสตรและการพัฒนาองคความรูใหมในวิทยาการตางๆ แผนงานวิจัยที่ 2 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐและองคความรู ใหมทางสังคมศาสตร III ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับกลุมเรื่องเรงดวน (โปรดระบุรายละเอียดในผนวก 3) กรอบการวิจัยชุดที่ 2 เรื่องเรงดวน ขอ 9 การปฏิรูปการศึกษาและสรางสรรคการเรียนรู  รอรายละเอียดจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 3. -3- IV ระบุความสอดคลองของแผนงานวิจัยกับนโยบายรัฐบาล นโยบายเรงดวนทีจะเริ่มดําเนินการในปแรก : เรงเพิมรายไดจากการทองเที่ยวทังในและนอก ่ ่ ้ ประเทศ โดยประกาศใหป 2554-2555 เปนป “มหัศจรรยไทยแลนด” และประชาสัมพันธเชิญชวน นักทองเที่ยวตางชาติเขารวมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลทีจะมีขึ้นในชวงป พ.ศ. 2554-2555 ่ นโยบายระยะการบริหารราชการ 4 ป ของรัฐบาล : นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม เรงสรางนักวิทยาศาสตร นักวิจัย และครูวิทยาศาสตรใหเพียงพอ สงเสริมสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา สงเสริมความรวมมือกับประเทศมุสลิม และองคกรอิสลามระหวางประเทศ  รอรายละเอียดจากรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง 3 กรกฎาคม 2554 หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 4. -4- สวน ก: องคประกอบในการจัดทําแผนงานวิจัย 1. ผูรับผิดชอบและหนวยงาน ประกอบดวย (กรณีเปนทุนความรวมมือกับตางประเทศใหระบุ ผูรบผิดชอบทั้ง “ฝายไทย” และ “ฝายตางประเทศ”) ั 1.1 หัวหนาโครงการ ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : รศ.ดร.สําราญ มีแจง สัดสวนทําวิจัย 20% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Assoc. Prof. Dr. Samran Mejang หมายเลขบัตรประชาชน : 3 1202 00505 34 7 1.2 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : รศ.ดร.เทียมจันทร พานิชยผลินไชย สัดสวนทําวิจัย 15% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Assoc. Prof. Dr. Tiamjan Panitchsonchai หมายเลขบัตรประชาชน : 1.3 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ผศ.ดร.ดิเรก ธีระภูธร สัดสวนทําวิจัย 8% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Direk Teeraputon หมายเลขบัตรประชาชน : 1.4 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ผศ.ดร.รุจโรจน แกวอุไร สัดสวนทําวิจัย 8% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Rujroad Kaewurai หมายเลขบัตรประชาชน : 1.5 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ผศ.ดร.สิรินภา กิจเกื้อกูล สัดสวนทําวิจัย 8% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Sirinapa Kijkuakoon หมายเลขบัตรประชาชน : 1.6 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ดร.สายฝน วิบูลรังสรรค สัดสวนทําวิจัย 8% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Saifon Wiboonrangsan หมายเลขบัตรประชาชน : 1.7 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ดร.ออมธจิต แปนศรี สัดสวนทําวิจัย 8% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Omthajit Pansri หมายเลขบัตรประชาชน : 1.8 ผูรวมงานวิจัย หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 5. -5- ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : ดร.ชํานาญ ปาณาวงษ สัดสวนทําวิจัย 8% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr. Chamnan Panawong หมายเลขบัตรประชาชน : 1.9 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาววณิชชา แมนยํา สัดสวนทําวิจัย 5% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Miss Wanitcha Manyum หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5404 00416 12 3 1.10 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาววิลาวัลย สมยาโรน สัดสวนทําวิจัย 4% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Miss Wilawan Somyaron หมายเลขบัตรประชาชน : 3 5307 00648 07 1 1.11ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-สกุล(ภาษาไทย) : นางสาวชไมพร ศรีสุราช สัดสวนทําวิจัย 4% ชื่อ-สกุล(ภาษาอังกฤษ : Miss Chamaiporn Srisurach หมายเลขบัตรประชาชน : 1.12 ผูรวมงานวิจัย ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย) : นายศรัณยู หมื่นเดช สัดสวนทําวิจัย 4% ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) : Mr. Saranyu Moundet หมายเลขบัตรประชาชน : 3 6703 00136 68 3 2. ประเภทการวิจย ั การพัฒนาทดลอง (experimental development) 3. สาขาวิชาการและกลุมวิชาที่ทําการวิจัย สาขาการศึกษา 4. คําสําคัญ (keywords) ของแผนงานวิจัย นวัตกรรม หมายถึง เทคนิค วิธีการ สิ่งประดิษฐใหม ๆ ที่ยังไมเปนที่ยอมรับมากอน หรือพัฒนา ของเกาทีมีอยูแลวใหทันสมัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ่ การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงคอนขางถาวรในพฤติกรรม อันเปนผลมาจากการฝกที่ ไดรับการเสริมแรง ความคิดสรางสรรค หมายถึง กระบวนการทางปญญาระดับสูง ที่ใชกระบวนการทางความคิด หลาย ๆ อยางมารวมกัน เพื่อสรางสรรคสงใหม หรือแกปญหาที่มีอยูใหดีขึ้น โดยมีอิสรภาพทางความคิด ิ่ หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 6. -6- การมีสวนรวม หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไมวาจะเปนบุคคลหรือกลุมบุคคลเขามามี สวนรวมในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ไมวาจะเปนทางตรงหรือทางออมในลักษณะของการรวมรับรู รวมคิด รวม ทํา ในสิ่งที่มผลกระทบตอตนเองหรือชุมชน ี อนุรักษ หมายถึง รักษาและใชใหเปนประโยชนมากที่สุดและนานที่สุด ภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณ และ ความเฉลียวฉลาดของชาวบาน รวมทังความรูทสั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึงไปสูคนอีกรุนหนึ่ง ้ ี่ ่ ระหวางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเปนความรูใหมตามสภาพการณทางสังคม วัฒนธรรม และสิงแวดลอม ่ 5. ความสําคัญและที่มาของปญหา จากการรวมตัวของประเทศสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ ซึ่งไทยเปน 1 ใน ภาคีสมาชิก ซึ่ง มีความรวมมือกันทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการสื่อสาร เหลานี้ ลวนเปนองคประกอบทีสําคัญในยุคโลกาภิวัฒนทั้งสิน ประเทศไทยเปนสังคมยอยสังคมหนึ่งในสังคมที่ ่ ้ ยอมไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ประชากรในประเทศจะตองสามารถทีจะเรียนรูที่จะอยูรวมในโลก ่  ใบนี้ไดอยางชาญฉลาด ดวยกลไกของการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559 ไดกําหนด ทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ถึงแนวทางการเสริมรากฐาน ของประเทศในดานตางๆ ใหเขมแข็ง ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยใหมี คุณภาพ กาวทันตอการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวยฐานความรู เทคโนโลยีและ นวัตกรรม และความคิดสรางสรรค นําไปสูการพัฒนาประเทศที่มั่นคง และยั่งยืน โดยไดกําหนด บทยุทธศาสตร  บทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ซึ่งกําหนดแนวทางการพัฒนา  ขอที่ 4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สรางโอกาสการเรียนรูอยางตอเนื่องใหคนทุกกลุมทุกวัยสามารถเขาถึง แหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทั้งที่เปนวัฒนธรรม ภูมิปญญา และองคความรูใหม โดยเนน  สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรูและปจจัยสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต เปนการ พัฒนาองคความรู ของทองถิ่นทั้งจากผูรู ปราชญชาวบาน และจัดใหมีการวิจัยเชิงประจักษของชุมชน การจัดการองคความรูใน  ชุมชนอยางเปนระบบ ควบคูกับการพัฒนาทักษะดานภาษาและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหเอื้อตอการเขาถึง แหลงเรียนรูทหลากหลาย ตลอดจนเนื้อหาสาระทีเ่ หมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง ี่ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 ได พัฒนาขึ้น เพื่อมุงเนนแกไขจุดออนทีสําคัญของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย โดยกําหนดวิสัยทัศน ไววา  ่ “ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT” โดย “สังคมอุดมปญญา” ในที่นี้ หมายถึง สังคมทีมีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญา ่ ่ เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรูสารสนเทศ (Information Literacy) สามารถเขาถึงและใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิด หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 7. -7- ประโยชนแกตนเองและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืน ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีมีตอการจัดการศึกษา ทําใหทก ่ ุ ภาคสวนไดตระหนักเปนวาระสําคัญ ดังใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ไดระบุหมวดที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว คือ หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา เพื่อใหผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองได โดยการจัดกระบวนการเรียนรู และการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบอยาง พอเพียง และมีประสิทธิภาพ และหมวดที่ 9 การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อการสงเสริมการ เรียนรูตลอดชีวิต การจัดการศึกษามีคุณภาพ มาตรา 65 ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใช เทคโนโลยีเพือการศึกษา เพื่อใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่ ่ เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรบการพัฒนาขีดความสามารถใน การใช ั เทคโนโลยีเพือการศึกษาในโอกาสแรกทีทําได เพื่อใหมีความรู และทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อ ่ ่ การศึกษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิตมาตรา 67 รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัย และพัฒนาการผลิต และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) กลาวถึงผลการพัฒนา การศึกษาทีผานมาวา “ในดานเทคโนโลยีเพือการศึกษา พบวา มีปญหาการดําเนินงาน เนืองมาจากการขาด ่ ่ ่ การพัฒนาเนื้อหาผานสื่อทีมีคุณภาพ รวมทั้งการเรียนการสอน และการพัฒนาผูสอน ครูและนักเรียนนําความรู ่ ดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใชในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรูดวยตนเองนอย” จึงไดกําหนด วัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติไวขอหนึ่งคือ “เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรู โดยมุงพัฒนาคนไทยเพื่อพัฒนาสังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม ภูมิปญหาและการเรียนรู มี การสรางองคความรู นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทรัพยสินทางปญหาเพือการเรียนรู นําไปสูสังคมแหงการเรียนรู ่  อยางยั่งยืน มีสุขภาวะ ประชาชนอยูรวมกันอยางสันติสุขและเอื้ออาทร” สํานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สม ศ.) ซึ่งเปนองคกรทีมีหนาที่ในการรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ไดกําหนด ่ ตัวบงชี้ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) สําหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในตัวบงชี้ ที่ 3.1 ผูเรียนคนควาหาความรูจากการอานและใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบงชี้ที่ 6.2 กระบวนการจัดการ เรียนรูของครู ไดกําหนดประเด็นครูสามารถจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยใหมีการประเมินการจัดเตรียมและใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีที่ ิ เหมาะสมมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอน ของครูทกคน ุ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผเู รียนเกิดสมรรถนะ สําคัญ 5 ประการ โดยมีสมรรถนะทีเ่ กี่ยวกับการใชเทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ ความสามารถในการใช หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 8. -8- เทคโนโลยี เปนความสามารถ ในการเลือก และใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสือสารการทํางาน การแกปญหาอยาง ่ สรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม ความสําคัญของนวัตกรรมตอการพัฒนาประเทศ โดยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน หรือประเทศทีพัฒนาแลวพบวา ขณะนี้การใชเทคโนโลยีที่คดคนเองในประเทศเพิงเริ่มตน จึงตองมีการเรง ่ ิ ่ กระบวนการถายทอดเทคโนโลยี และการสรางนวัตกรรมใหเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในดานการจัดการ ทรัพยสินทางปญญา และการเสริมสรางความเขมแข็งในชุมชน การรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี การคงไวซึ่ง ภูมิปญญาทองถิ่น รวมถึงการเผยแพรองคความรู จะชวยใหประเทศชาติเขมแข็ง โดยสรางใหเกิดกระบวนการมี สวนรวมระหวางประชาชนกับหนวยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลือนใหเกิดนวัตกรรมจํานวนมากพอทีจะสราง ่ ่ มูลคาเพิมใหกบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไดอยางรวดเร็ว ่ ั 6. วัตถุประสงคหลักของแผนงานวิจัย เพื่อพัฒนานวัตกรรมสรางสรรคการเรียนรูสูการมีสวนรวมอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น   7. เปาหมายของผลผลิต (output) และตัวชี้วัด ผลผลิต ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1) คลังความรูบนเว็บ ดวยคลิปวิดีโอภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดแพร ภายใต Domain  http://www.phraewisdom.com 2) สื่อวีดิทัศนภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ 3) รูปแบบการสอนแบบบูรณาการดวยหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 4) แบบจําลองความเปนเลิศของการเรียนรูตลอดชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ผลผลิต ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1) ครู และนักเรียน มีการเรียนรูและรูจักอนุรักษ ประเพณี ภูมปญญาทองถิ่น  ิ 2) ครู และนักเรียน สามารถนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใชในชีวิตประจําวัน 3) ครู และนักเรียน สามารถปรับใชแบบจําลองความเปนเลิศของการเรียนรูตลอดชีวิตใน สังคมพหุวัฒนธรรม 8. เปาหมายของผลลัพธ (outcome) และตัวชี้วัด 1) ประชาชน ครู และนักเรียน มีการเรียนรูและรูจักอนุรักษ ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น   2) ประชาชน ครู และนักเรียน สามารถนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใชใน ชีวิตประจําวัน หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 9. -9- 3) ประชาชน ครู และนักเรียน สามารถปรับใชแบบจําลองความเปนเลิศของการเรียนรู ตลอดชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม 9. ทฤษฎี สมมติฐาน และ/หรือ กรอบแนวความคิดของแผนงานวิจัย ความคิดสรางสรรค ความหมายของความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนสิ่งที่มีอยูในทุกตัวคน มากบางนอยบางแตกตางกันไป สําหรับความหมายของความคิดสรางสรรคน้นไดมีผูใหความหมายไวหลายทัศนะ เชนหนวยศึกษานิเทศน ั กรมการฝกหัดครู (2523) ไดใหคําจํากัดความไววา ความคิดสรางสรรคเปนลักษณะการคิดแบบอเนกนัย หรือความคิดหลายทิศหลายทางที่นําไปสูกระบวนการคิดประดิษฐสิ่งแปลกใหม รวมทั้งการคิดและการ คนพบวิธีการแกปญหาใหมตลอดจนความสําเร็จในดานการคิดคนพบทฤษฎีตาง ๆ อันกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในทางสรางสรรคท่ีเปนประโยชน ตอสังคม อารี รังสินันท (2527) ใหความหมายความคิดสรางสรรคไววา ความคิดสรางสรรค คือ ความคิดจินตนาการประยุกตที่สามารถนําไปสูสิ่งประดิษฐคิดคนพบใหม ๆทางเทคโนโลยี ซึ่งเปน ความคิดในลักษณะที่คนอื่นคาดไมถึงหรือมองขาม เปนความคิดหลากหลาย คิดไดกวางไกลเนนทั้งปริมาณ และคุณภาพ อาจเกิดจากการคิดผสมผสานเชื่อมโยงระหวางความคิดใหม ๆที่แกปญหาและเอื้ออํานวย ประโยชนตอตนเองและสังคม Guilford (1959) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมอง เปน ความสามารถที่จะคิดไดหลายทิศหลายทาง หรือแบบอเนกนัยและความคิดสรางสรรคนี้ประกอบดวยความ คลองในการคิด ความคิดยืดหยุนและความคิดที่เปนของตนเองโดยเฉพาะ คนที่มีลักษณะดังกลาวจะตอง เปนคนกลาคิดไมกลัวถูกวิพากษวิจารณและมีอิสระในการคิดดวย Anderson (1970) ใหความหมายของความคิดสรางสรรควา คือความสามารถ ของบุคคลในการคิดแกปญหาดวยการคิดอยางลึกซึ้งที่นอกเหนือไปจากการคิดอยางปกติธรรมดา เปน ลักษณะภายในตัวบุคคลที่สามารถจะคิดไดหลายแงหลายมุมผสมผสานจนไดผลิตผลใหมที่ถูกตองสมบูรณ กวา จากนิยามความหมายดังกลาวสามารถสรุปไดวา ความคิดสรางสรรคหมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหลายแงหลายมุมที่เรียนกวาความคิดอเนกนัย( Divergent Thinking) ซึ่ง เกิดจาการเชื่อมโยงสิ่งที่ดี ความสัมพันธกันโดยมีสิ่งเราเปนตัวกระตุนทําใหเกิดความคิดแปลกใหมที่ ตอเนื่องกันไป สามารถนําไปแกปญหาและประยุกตใชสถานการณตาง ๆได ทฤษฎีความคิดสรางสรรค ทฤษฎีความคิดสรางสรรคของ Walls, Wallas ไดกลาวไววา ความคิดสรางสรรคจาก กระบวนการของการคิดสิ่งใหม ๆ โดยการลองผิดลองถูก (Trial and Error) ไดแบงขั้นตอนไว 4 ขั้นคือ หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 10. -10- ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (Preparation) เปนขั้นเตรียมขอมูลตาง ๆ เชนขอมูลเกี่ยวกับ การกระทํา หรือแนวทางที่ถูกตองหรือขอมูลระบุปญหา หรือขอมูลที่เปนความจริง ฯลฯ ขั้นที่ 2 ขั้นความคิดครุกกรุน หรือระยะฟกตัว (Incubation) เปนขั้นตอนที่อยูใน ความวุนวาย ขอมูลตาง ๆ ทั้งใหมและเกาสะเปะสะปะ ปราศจากความเปนระเบียบเรียบรอย ไมสามารถ ขมวดความคิดนั้น ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดกระจางชัด (illumination) เปนขั้นที่ความคิดสับสนนั้นได ผานการเรียบเรียงและเชื่อมโยงกับความสัมพันธตาง ๆ เขาดวยกันใหมีความกระจางชัดและสามารถ มองเห็นภาพพจนมโนทัศนของความคิด ขั้นที่ 4 ขั้นทดสอบความคิดและพิสูจนใหเห็นจริง (Verification) เปนขั้นที่ไดรับ ความคิด 3 ขั้นจากขางตน เพื่อพิสูจนวาเปนความคิดที่เปนจริงและถูกตองหรือไม (Davis (1983) ไดรวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคของนักจิตวิทยาที่ไดกลาวถึง ทฤษฎีของความคิดสรางสรรค โดยแบงเปนกลุมใหญ ๆได 4 กลุม คือ 1. ทฤษฎีความคิดสรางสรรคเชิงจิตวิเคราะห นักจิตวิทยาทางจิตวิเคราะหหลาย คนเชน Freud และ Kris ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดความคิดสรางสรรควา ความคิดสรางสรรคเปนผล มาจากความขัดแยงภายในจิตใตสํานึกระหวางแรงขับทางเพศ (Libido) กับความรูสึกผิดชอบทางสังคม (Social Conscience) สวน Kubie และ Rugg ซึ่งเปนนักจิตวิเคราะหแนวใหมกลาววาความคิดสรางสรรค นั้นเกิดขึ้นระหวางการรูสติกับจิตใตสานึกซึ่งอยูในขอบเขตของจิตสวนที่เรียกวาจิตกอนสํานึก ํ 2. ทฤษฎีความคิดสรางสรรคเชิงพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยากลุมนี้มีแนวความคิด เกี่ยวกับเรื่องความคิดสรางสรรควาเปนพฤติกรรมที่เกิดการเรียนรู โดยเนนที่ความสําคัญของการเสริมแรง การตอบสนองที่ถูกตองกับสิ่งเราเฉพาะหรือสถานการณ นอกจากนี้ยังไดเนนความสัมพันธทางปญญา คือ การโยงความสัมพันธจากสิ่งเราหนึ่งไปยังสิ่งตาง ๆทําใหเกิดความคิดใหมหรือสิ่งใหมเกิดขึ้น 3. ทฤษฎีความคิดสรางสรรคเชิงมานุษยนิยม นักจิตวิทยาในกลุมนี้มีแนวคิดวา ความคิดสรางสรรคเปนสิ่งที่มนุษยมีติดตัวมาแตกําเนิด ผูที่สามารถนําความคิดสรางสรรคออกมาใชไดคือผูที่ มีสัจจการแหงตน คือ รูจักตนเอง พอใจตนเองและใชตนเองเต็มตามศักยภาพของตน มนุษยจะสามารถ แสดงความคิดสรางสรรคของตนออกมาไดอยางเต็มที่นั้นขึ้นอยูกับการสรางสภาวะหรือบรรยากาศที่ เอื้ออํานวย ไดกลาวถึงบรรยากาศที่สําคัญในการสรางสรรควาประกอบดวยความปลอดภัยในเชิงจิตวิทยา ความมั่นคงของจิตใจ ความปราถนาที่จะเลนกับความคิดและการเปดกวางที่จะรับประสบการณใหม 4. ทฤษฎี AUTA ทฤษีนี้เปนรูปแบบของการพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้น ในตัวบุคคล โดยมีแนวคิดวาความคิดสรางสรรคนั้นมีอยูในมนุษยทุกคนและสามารถพัฒนาใหสูงขึ้นไดการ พัฒนาความคิดสรางสรรคตามรูปแบบ AUTA ประกอบดวย หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 11. -11- 4.1 การตระหนัก (Awareness) คือ ตระหนักถึงความสําคัญของ ความคิดสรางสรรคที่มีตอตนเอง สังคม ทั้งในปจจุบันและอนาคตและตระหนักถึงความคิดสรางสรรคที่มีอยู ในตนเองดวย 4.2 ความเขาใจ (Understanding) คือ มีความรูความเขาใจอยาง ลึกซึ้งในเรื่องราวตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความคิดสรางสรรค 4.3 เทคนิควิธี (Techniques) คือ การรูเทคนิควิธีในการพัฒนา ความคิดสรางสรรคทั้งที่เปนเทคนิคสวนบุคคลและเทคนิคที่เปนมาตรฐาน 4.4 การตระหนักในความจริงของสิ่งตาง ๆ (Actualization) คือ การรูจักหรือตระหนักในตนเอง พอใจในตนเองและพยายามใชตนเองอยางเต็มศักยภาพรวมทั้งการเปด กวางรับประสบการณตาง ๆโดยมีการปรับตัวไดอยางเหมาะสม การตระหนักถึงเพื่อนมนุษยดวยกัน การ ผลิตผลงานดวยตนเองและการมีความคิดที่ยืดหยุนเขากับทุกรูปแบบของชีวิต จากทฤษฎีความคิดสรางสรรคดังกลาว จะเห็นวาความคิดสรางสรรคเปนทักษะที่ มีอยูในบุคคลทุกคน และสามารถที่จะพัฒนาใหสูงขึ้นไดโดยอาศัยกระบวนการเรียนรูและการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในบรรยากาศที่เอื้ออํานวยอยางเปนระบบและตอเนื่อง ลักษณะของความคิดสรางสรรค บรรพต พรประเสริฐ; 2538 ไดจําแนกองคประกอบของความคิดสรางสรรความี องคประกอบ 3 ดานคือ 1.ความคิดคลองแคลว (Fluency) 2.ความคิดยืดหยุน (Flexibility) 3.ความคิดริเริ่ม(Originality) ความคิดสรางสรรคมีลักษณะที่แบงออกไดเปน 3 ลักษณะไดแก ลักษณะที่ 1 เปนกระบวนการคิดสามารถแตกความคิดเดิมไปสูความคิดที่แปลก ใหมไมซ้ํากับใคร ลักษณะที่ 2 เปนลักษณะของบุคคลที่มีเอกลักษณเปนของตนเองเกิดความรูสึก พอใจและเชื่อมั่นในตนเอง และ ลักษณะที่ 3 เปนผลงานที่เกิดจากความคิดแปลกใหมท่ีมีประโยชนตอตนเองและ ผูอื่น โดยที่ทุกคนสามารถสรางสรรคได กับใหผูอ่ืนยอมรับวามีประโยชนเปนของแปลกใหม ตลอดจน สามารถวัดและประเมินผลของคุณคาผลผลิตได กิลฟอรด (Guilford) เสนอความคิดวา ความสามารถทางสมองซึ่งเกิดจาการปฏิบัติตาม เงื่อนไขขององคประกอบ 3 มิติ (Three Dimensional Model) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 12. -12- มิติที่ 1 ดานเนื้อหา (Contents) หมายถึงวัตถุ/ขอมูลตาง ๆที่รับรูและใชเปนสื่อ ใหเกิดความคิด มีอยู 5 ชนิด คือ เนื้อหาที่เปนรูปภาพ (Figural contents) เนื้อหาที่เปนเสียง (Auditory contents) เนื้อหาที่เปนสัญลักษณ (Symbolic Contents) เนื้อหาที่เปนภาษา (Semantic Contents) และเนื้อหาที่เปนพฤติกรรม (Behavior Contents) มิติที่ 2 ดานปฏิบัติการ (Operation)หมายถึงวิธีการ/กระบวนการคิดตาง ๆที่ สรางขึ้นมา ประกอบดวยความสามารถ 5 ชนิด คือ การรับรูและการเขาใจ(Cognition) การจํา (Memory) การคิดแบบอเนกมัย(Divergent thinking) และการประเมินคา(Evaluation) มิติที่ 3 ดานผลผลิต (Products) หมายถึงความสามารถที่เกิดขึ้นจากการ ผสมผสานมิติดานเนื้อหาและดานปฏิบัติการเขาดวยกัน เปนผลผลิตที่เกิดจากการรับรู วัตถุ/ขอมูล แลวเกิด วิธีการคิด/กระบวนการคิด ซึ่งทําใหเกิดผลของการผสมผสานในรูปแบบ 6 ชนิด คือ หนวย (Units) จําพวก (classes) ความสัมพันธ (Relations) ระบบ (System) การแปลงรูป (Transformation) และการประยุกต (Implication) บุคคลที่มีความคิดสรางสรรค (Creative Person) หมายถึง ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกมา แมคินนอน (Mackinnon, 1960) ไดศึกษาคุณลักษณะของผูท่ีมีความคิดสรางสรรค พบวาผูที่มีความคิดสรางสรรคจะเปนผูที่ตื่นตัวอยู ตลอดเวลา มีความสามารถในการใชสมาธิ มีความสามารถในการพินิจวิเคราะห ความคิดถี่ถวนเพื่อใชใน การแกปญหาและมีความสามารถในการสอบสวน คนหารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางละเอียด กวางขวาง คุณลักษณะอีกประการหนึ่งก็คือ เปนผูที่เปดรับประสบการณตางๆ อยางไมหลีกเลี่ยง (Openness to Experience) ชอบแสดงออกมามากกวาที่จะเก็บกดไว และยังกลาวเพิ่มเติมวา สถาปนิกที่ มีความคิดสรางสรรคสูงมักเปนคนที่รับรูส่ิงตางๆ ไดดีกวาสถาปนิกที่มีความคิดสรางสรรคต่ํา กรีสวอลด (Griswald, 1966) ยังพบวาบุคคลดังกลาวจะมองเห็นลูทางที่จะแกปญหาไดดีกวา เนื่องจากมีความตั้งใจ จริง มีการรับรูเร็วและงาย และมีแรงจูงใจสูง ฟรอมม (Fromm, 1963) กลาวถึงลักษณะของคนที่มีความคิดสรางสรรคไวคอนขางละเอียด ดังนี้ 1. มีความรูสึกทึ่ง ประหลายใจที่พบเห็นของใหมที่นาทึ่ง (Capacity of be puzzled) หรือประหลาดใจ สนใจสิ่งที่เกิดขึ้นใหม หรือของใหมๆ 2. มีสมาธิสูง (Ability to Concentrate) การที่จะสรางสิ่งใดก็ได คิดอะไรออกก็ ตองไตรตรองในเรื่องนั้นเปนเวลานาน ผูท่ีสรางสรรคจาเปนจะตองมีความสามารถทําจิตใจใหเปนสมาธิ ํ 3. สามารถที่จะยอมรับสิ่งที่ไมแนนอนและเปนสิ่งที่เปนขอขัดแยงและความตึง เครียดได (Ability to accept conflict and tension) 4. มีความเต็มใจที่จะทําสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นใหมทุกวัน (Wllingness to be born everyday) คือ มีความกลาหายและศรัทธาที่จะผจญตอสิ่งแปลงใหมทุกวัน หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 13. -13- บารอนและเวลซ (Baron and Welsh, 1952) พบวา คนที่มีความคิดสรางสรรคนั้นชอบคิด อยางซับซอน และสนุกตื่นเตนกับการคนควาสิ่งตางๆ ตลอดเวลา แกริสัน (Garison, 1954) ไดอธิบายถึงลักษณะของผูที่มีความคิดสรางสรรคไวดังนี้ 1. เปนคนที่สนใจในปญหา ยอมรับความเปลี่ยนแปลง ไมถอยหนีปญหาที่จะ เกิดขึ้น แตกลาที่จะเผชิญปญหา กระตือรือรน ที่จะแกไขปญหาตลอดจนหาทางปรับปรุงเปลี่ยนแปลง พัฒนาตนและงานอยูเสมอ 2. เปนคนมีความสนใจกวางขวาง ทันตอเหตุการณรอบดานตองการการเอาใจใส ในการศึกษาหาความรูจากแหลงตางๆ เพิ่มเติมอยูเสมอ พรอมทั้งยอมรับขอคิดเห็นจากขอเขียนที่มี สาระประโยชน และนําขอมูลเหลานั้นมาประกอบใชพิจารณาปรับปรุงพัฒนางานของตน 3. เปนคนที่ชอบคิดหาทางแกปญหาไดหลายๆ ทาง เตรียมทางเลือกสําหรับแกไข ปญหาไวมากกวา 1 วิธีเสมอ ทั้งนี้เพื่อจะชวยใหมีความคลองตัวและประสบผลสําเร็จมากขึ้น เพราะการ เตรียมทางแกไวหลายๆ ทางยอมสะดวกในการเลือกใชใหเหมาะสมกับสถานการณได และยังเปนการ ประหยัดเวลาและเพิ่มกําลังใจในการแกไขปญหาดวย 4. เปนคนที่มีสุขภาพรางกายสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ หรือสุขภาพกายดี สุขภาพจิตก็ดีน่นเอง ทั้งนี้เพราะมีการพักผอนหยอนใจอยางเพียงพอ และมีความสนใจตอสิ่งใหมที่พบ และ ั ยังเปนชางซักถามและจดจําไดดี ทําใหสามารถนําขอมูลที่จดจํามาใชประโยชนไดดี จึงทําใหงานดําเนินไปได ดวยดี 5. เปนคนที่ยอมรับและเชื่อในบรรยากาศและสภาพแวดลอมวามีผลกระทบตอ ความคิดสรางสรรค ดังนั้น การจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมวา มีผลกระทบตอความคิดสรางสรรค ดังนั้น การจัดบรรยากาศ สถานที่ สิ่งแวดลอมที่เหมาะสม จะสามารถขจัดสิ่งรบกวนและอุปสรรค ทําใหการ พัฒนาการคิดสรางสรรคเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ทอรแรนซ ไดสรุปลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสรางสรรคสูง จากผลการศึกษาของ สเตนนและเฮนซ (Stein and Heinze, 1690) ซึ่งไดศึกษาบุคลิกภาพของเด็กที่มีความคิดสรางสรรคสูง โดยเปรียบเทียบกับเกณฑซ่ึงเปนแบบวัดบุคลิกภาพ Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI), Thematic Apperceprtion (TAT), แบบวัดบุคลิกภาพของรอรชาจ (Rorschach) และอื่นๆ ซึ่ง ไดสรุปบุคลิกภาพที่สําคัญๆ ของบุคคลที่มีความคิดสรางสรรคสูงไว 46 ประการ ดังนี้ 1. มีความสามารถในการตัดสินใจ 2. มีความเปนอิสระในดานการคิด 3. มีอารมณออนไหวและเปนคนออนโยน 4. มีความกลาที่จะคิดในสิ่งที่แปลงใหม 5. มีแนวคิดคอนขางซับซอน 6. มีความคิดเห็นรุนแรง 7. มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 14. -14- 8. มีความพยายามที่จะทํางานยากๆ หรืองานที่ตองแกปญหา 9. มีความจําแมนยํา 10. มีความรูสึกไวตอสิ่งสวยงาม 11. มีความซื่อสัตยและรักความเปนธรรม 12. มีความเปนอิสระในการตัดสินใจ 13. มีความตั้งใจจริง 14. มีความสามารถในการหยั่งรู 15. มักจะกลาหาญและชอบการผจญภัย 16. มักจะใชเวลาใหเปนประโยชน 17. มักจะคาดคะเนหรือเดาเหตุการณลวงหนา 18. มักจะชวยเหลือและใหความรูแกผูอื่น 19. มักจะตอตานในสิ่งที่ไมเห็นดวย 20. มักจะทําผิดขอบังคับและกฎเกณฑ 21. มักจะวิเคราะหวิจารณสิ่งที่พบเห็น 22. มักจะทํางานผิดพลาด 23. มักจะทําในสิ่งแปลกๆ ใหมๆ 24. มักจะรักสันโดษ 25. มักจะเห็นแกประโยชนของผูอื่นมากกวาประโยชนของตนเอง 26. มักใหความสนใจกับทุกสิ่งที่อยูรอบตัว 27. มักจะอยากรูอยากเห็น 28. มักจะยอมรับในสิ่งที่ไมเปนระเบียบ 29. มักจะไมทําตามหรือเลียนแบบผูอ่ืน 30. มักจะหมกมุนในปญหา 31. มักจะดื้อดึงและหัวแข็ง 32. มักจะชางซักถาม 33. มักจะไมสนใจในสิ่งเล็กๆ นอยๆ 34. มักจะไมยอมรับความคิดของผูอื่นโดยงาย 35. มักจะกลาแสดงความคิดเห็นที่ไมตรงกับผูอื่น 36. มักจะรักและเต็มใจเสี่ยง 37. มักจะไมเบื่อที่จะทํากิจกรรม 38. มักจะไมชอบทําตัวเดน 39. มักจะมีความสามารถในการหยั่งรู 40. มักจะพอใจในผลงานที่ทาทาย หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 15. -15- 41. มักจะไมเคยเปนศัตรูของใคร 42. มักจะตอตานกฎระเบียบตางๆ ที่ไมถูกตอง 43. มักจะวางเปาหมายใหกับชีวิตตนเอง 44. มักจะตอตานการกระทําที่รุนแรงตางๆ 45. มักจะจริงใจกับทุกๆ คน 46. มักจะเลี้ยงตนเองไดโดยที่ไมตองพึ่งพาผูอื่น ผลผลิตสรางสรรค (Creative Product) ลักษณะของผลผลิตนั้น โดยเนื้อแทเปนโครงสรางหรือรูปแบบของความคิดที่ได แสดงกลุมความหมายใหมออกมาเปนอิสระตอความคิดหรือสิ่งของที่ผลิตขึ้น ซึ่งเปนไปไดทั้งรูปธรรมและ นามธรรม นิวเวลล ชอว และซิมปสัน (Newell, show and Simpson, 1963) ไดพิจารณาผลผลิต อันใดอันหนึ่งที่จัดเปนผลผลิตของความคิดสรางสรรค โดยอาศัยหลักเกณฑตอไปนี้ 1. เปนผลผลิตที่แปลงใหมและมีคาตอผูคิดสังคมและวัฒนธรรม 2. เปนผลผลิตที่ไมเปนไปตามปรากฎการณนิยมในเชิงที่วามีการคิดดัดแปลงหรือ ยกเลิกผลผลิต หรือความคิดที่เคยยอมรับกันมากอน 3. เปนผลผลิตซึ่งไดรับจากการกระตุนอยาสูงและมั่นคง ดวยระยะยาวหรือความ พยายามอยางสูง 4. เปนผลผลิตที่ไดจากการประมวลปญหา ซึ่งคอนขางจะคลุมเครือและไมแจมชัด สําหรับเรื่องคุณภาพของผลผลิตสรางสรรคนั้น เทเลอร (Tayler, 1964) ไดใหขอคิด เกี่ยวกับความคิดสรางสรรคของคนวาไมจําเปนตองเปนขั้นสูงสุดยอดหรือการคนควาประดิษฐของใหม ขึ้นมาเสมอไป แตผลของความคิดสรางสรรคอาจจะอยูในขั้นใดขั้นหนึ่งตอไปนี้ โดยแบงผลผลิตสรางสรรคไว เปนขั้นๆ ดังนี้ 1. การแสดงออกอยางอิสระ ในขั้นนี้ไมจําเปนตองอาศัยความคิดริเริ่มและทักษะ ขั้นสูงแตอยางใด เปนเพียงแตกลาแสดงออกอยางอิสระ 2. ผลิตงานออกมาโดยที่งานนั้นอาศัยบางประการ แตไมจาเปนตองเปนสิ่งใหม ํ 3. ขั้นสรางสรรคเปนขั้นที่แสดงถึงความคิดใหมของบุคคลไมไดลอกเลียนมาจาก ใคร แมวางานนั้นอาจจะมีคนอื่นคิดเอาไวแลวก็ตาม 4. ขั้นคิดประดิษฐอยางสรางสรรค เปนขั้นที่สามารถคิดประดิษฐสิ่งใหมขึ้น โดยไม ซ้ําแบบใคร 5. เปนขั้นการพัฒนาผลงานในขั้นที่ 4 ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย
  • 16. -16- 6. เปนขั้นความคิดสรางสรรคสูงสุด สามารถคิดสิ่งที่เปนนามธรรมขั้นสูงได เชน ชารลส ดารวิน คิดคนทฤษฎีวิวัฒนาการ ไอสไตน คิดทฤษฎีสัมพันธภาพขึ้น เปนตน เทคนิคการพัฒนาความคิดสรางสรรค 1. เทคนิคความกลาที่จะริเริ่ม จากการวิจัยพบวา ความคิดสรางสรรคต่ํา สามารถ ปลูกฝงและสงเสริมใหเกิดความคิดสรางสรรคสูงขึ้นได ดวยการถามคําถาม และใหโอกาสไดคิดคําตอบใน สภาพแวดลอมที่ปลอดภัย เปนที่ยอมรับของผูอื่น สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นได แมบุคคล ที่มีความคิดวาตนเองไมมีความคิดสรางสรรคก็สามารถสรางความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นดวยการฝกฝน 2. เทคนิคการสรางความคิดใหม เปนวิธีการหนึ่งที่ใชการแกไขปญหา สมิท (Smith, 1958) ไดเสนอวิธีการสรางความคิดใหม โดยการใหบุคคลแจกแจงแนวทางที่สามารถใชในการ แกปญหาใดปญหาหนึ่งมา 10 แนวทาง จากนั้นจึงแบงแนวทางเหลานั้นออกเปนแนวทางยอยๆ ลงไปอีก โดยเหตุผลที่วาบุคคลมักจะปฏิเสธไมยอมรับความคิดแรกหรือสิ่งแรกผานเขามาในจิตใจ แตจะพยายาม บังคับใหจิตใจแสดงทางเลือกอื่นๆ อีก หลักการของสมิธ มีลักษณะเปนผสมผสานหรือการคัดเลือกคําตอบ หรือทางเลือกตางๆ แลวสรางขึ้นเปนคําตอบหรือทางเลือกที่ดีท่ีสุดในการแกปญหา 3. เทคนิคการระดมพลังสมอง เปนเทคนิควิธีหนึ่งในการแกปญหาของออสบอรน (Alex Osborn) จุดมุงหมายเพื่อสงเสริมใหบุคคลมีความคิดหลายทาง คิดไดคลองในชวงเวลาจํากัด โดย การใหบุคคลเปนกลุมหรือรายบุคคลก็ได จดรายการความคิดตางๆ ที่คิดไดโดยๆ ไมคํานึงถึงการประเมิน ความคิด แตเนนปริมาณความคิด คิดใหไดมาก คิดใหแปลง หลังจากไดรวบรวมความคิดตางๆ แลว จึงคอย ประเมินเลือกเอาความคิดที่ดีที่สุดมาใชในการแกปญหาและจัดลําดับทางเลือกหรือทางแกปญหารองๆ ไว ดวย หลักเกณฑในการระดมสมอง 3.1 ประวิงการตัดสินใจ เมื่อบุคคลเสนอความคิดขึ้นมา จะไมมีการวิพากษ วิจารณ หรือตัดสินความคิด ใดๆ ทั้งสิ้น ไมวาจะเปนความคิดที่เห็นวาดี มีคุณภาพ หรืออาจมีประโยชนนอยก็ตาม การตัดสินใจยังไม กระทําในตอนเริ่มตนคิด 3.2 อิสระทางความคิด บุคคลมีอิสระที่จะคิดหาคําตอบ หรือเสนอความคิด ความคิดยิ่งแปลงแตกตางจาก ผูอื่นยิ่งเปนความคิดที่ดี เพราะความคิดแปลกแยกอาจนําไปสูความคิดริเริ่ม 3.3 ปริมาณความคิด บุคคลยิ่งคิดไดมาก ไดเร็ว ยิ่งเปนที่ตองการสงเสริมและกระตุนใหบุคคลคิดมากๆ ไดยิ่งดี 3.4 การปรุงแตงความคิด หมายเหตุ : ตัวเอียงในวงเล็บทุกหนา หมายถึงคําอธิบายไมจําเปนตองระบุไวในแผนงานวิจัย