SlideShare a Scribd company logo
1

Tablet PC สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
ภาสกร เรืองรอง, รุจโรจน์ แก้วอุไร, ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ *
วณิชชา แม่นยา, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช, ชไมพร ศรีสุราช **
บทคัดย่อ
ลักษณะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มีแนวโน้มเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีแบบ
พกพามากขึ้น โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ทั้งการเรียนแบบออนไลน์โดยเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
และแบบออฟไลน์จากบทเรียนสาเร็จรูปที่บรรจุไว้ในแท็บเล็ตพีซี ซึ่งเป็น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพาที่ใช้
งานโดยการสัมผัสหน้าจอ ในปีการศึกษา 2555 รัฐบาลได้จัดทาโครงการ One Tablet Per Child ขึ้น โดยให้
ผู้เรียนนาแท็บเล็ตพีซีไปใช้สาหรับการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อการเรียนรู้ หรือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
แบบเคลื่อนที่ (mCAI) เป็นหลัก ด้วยเหตุผลความพร้อมของโครงข่ายพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงยัง
ไม่สามารถใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และสืบค้นผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (mWBI) ได้
ดังนั้นการเตรียมความพร้อมด้านนโยบาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ ผู้เรียน ผู้สอน รวมถึงผู้ปกครองและชุมชนจึง
เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น จากผลการวิจัย พบว่า แท็บเล็ตพีซีสามารถช่วยพัฒนาความรู้ของผู้เรียนได้ดีในระดับ
หนึ่ง แต่ทุกฝ่ายต้องตระหนักถึงผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึ้นตามมาด้วย ทุกปัญหาและอุปสรรคจาเป็นต้อง
ได้รับการแก้ไขในทุก ๆ มิติ เพื่อให้การจัดการศึกษาร่วมกับแท็บเล็ตพีซีอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล
และบรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษาต่อไป
คาสาคัญ : แท็บเล็ต, การศึกษาไทย, การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Abstract
Nature of learning in the 21st century is likely to be self-learning through
technological devices more portable . , Students can learn anytime and anywhere learning ,
both online and offline connection of lesson contained in the tablet PC. The device is a
portable computer that is activated by touching the screen in the year 2555 , the
government has made the One Tablet Per Child by students to bring tablet PC to use for
teaching and learning in the form of media . learning. Mobile or computer -assisted
instruction (mCAI) the main reason is the availability of information technology infrastructure
. It also can not use the tablet PC as a tool for learning and retrieval via the Internet (mWBI)
, so to prepare the policy . Agency responsible learners and teachers , parents and
community, it is important and necessary. The study found that tablet PC can help you
develop the knowledge of students in one class . But all parties must be aware of the
2
negative consequences that may occur as well. All barriers need to be fixed in every
dimension in order to deal with the Tablet PC more effectively. Effectiveness . And
objectives based on the school curriculum .
Key words : Tablet PC, Thai Education, 21st Century Learning

* อาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
** นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
3
บทนา
ในยุคศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนไม่จากัดอยู่เฉพาะในห้องเรียน มีแนวโน้มเปลี่ยนเป็นการเรียนรู้
ได้จากทุกสถานที่และทุกเวลา (Ubiquitous Learning) มากขึ้น ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งการเรียน
แบบนี้ต้องการความรวดเร็วในการสื่อสาร ความง่ายในการเข้าถึงข้อมูล และการตอบคาถาม ผู้เรียนเหล่านี้จัด
ว่าเป็นคนยุคซีเจนเนอเรชัน (Generation Z) ชอบใช้อินเทอร์เนต หรือที่เรียกกันว่าเป็นชาวเน็ต (netizen) [1]
ด้ว ยเหตุนี้อุปกรณ์ขนาดพกพาเพื่อเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลาจึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง
สาหรับการเรียนรู้ในยุคดิจิตอล
ศาสตราจารย์ นพ.วิจารณ์ พานิช [2] ได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า ผู้สอนกาลังเกิดคาถามในใจว่า ศิษย์
ในศตวรรษที่ 21 จะมีลักษณะอย่างไร แล้วผู้สอนจะเตรียมรับมืออย่างไรกับเด็กยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 นี้ เพื่อ
คลายประเด็นสงสัย หนังสือ 21st Century Skills : Learning for Life in Our Times ได้ระบุลักษณะของ
เด็กสมั ย ใหม่ ไว้ว่า มีความเป็ น อิ ส ระที่ จ ะเลื อ กสิ่ งที่ ตนพอใจ แสดงความเห็ น และลั กษณะเฉพาะของตน
ต้ อ งการดั ด แปลงสิ่ ง ต่ า งๆ ให้ ต รงตามความพอใจและความต้ อ งการของตน ( customization
&
personalization) ตรวจสอบหาความจริงเบื้องหลั ง (scrutiny) เป็นตัวของตัวเองและสร้างปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น เพื่อรวมตัวกัน เป็นองค์กร เช่น ธุรกิจ รัฐบาล และสถาบันการศึกษา ความสนุกสนานและการเล่นเป็น
ส่วนหนึ่งของงาน การเรียนรู้ และชีวิตทางสังคม การร่วมมือและความสัมพันธ์เป็นส่วนหนึ่งของทุกกิจกรรม
ต้องการความเร็วในการสื่อสาร การหาข้อมูลและตอบคาถาม และสร้างนวัตกรรมต่อทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต
ลักษณะของเด็กยุคใหม่ดังกล่าว จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้คอรบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะภายในสถานศึกษาเพื่อรองรับความต้องการเรียนรู้ด้วยตนเองอันไร้ขีดจากัด
ของเด็ก ทั้งยังเป็นการช่วยส่งเสริมให้เด็กเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559 [3] ให้ความสาคัญกับการ
พัฒนาคุณภาพของเด็กวัยเรียน ให้มีความรู้ทางวิชาการ ทักษะและสติปัญญาที่ สามารถศึกษาหาความรู้และ
ต่ อ ยอดองค์ ค วามรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง รวมทั้ ง สามารถปรั บ ตั ว ให้ รู้ เ ท่ า ทั น กั บ ข่ า วสารภายใต้ บ ริ บ ทแห่ ง การ
เปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีที่รวดเร็ว อันจะช่วยสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาไปสู่ระบบการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตต่อไป รัฐบาลภายใต้การนาของ นางสาวยิ่งลัก ษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี จึงมี นโยบายจัดหาเครื่อง
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) ให้แก่ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สาหรับใช้ในการเรียนการสอน เหตุที่ใช้
นาร่องกับเด็กผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพราะเป็นวัยที่สามารถเรียนรู้ได้เร็วตามพัฒนาการทาง
สมองที่เหมาะสม จะทาให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข และสามารถสร้างสิ่งที่ดีให้กับตนเองและสังคมได้ใน
อนาคต [4] อีกทั้งยังก่อให้เกิดความตื่นตัวในการแสวงหาความรู้ที่อยู่อย่างไม่จากัด สร้างโอกาสและความ
ทัดเทียมกันระหว่างสังคมเมืองและสังคมชนบท ซึ่งโครงการแท็บเล็ตพีซี เพื่อการศึกษาไทย (One Tablet Per
Child) มิใช่เป็นเพียงเครื่องมือให้กับผู้เรียนใช้เรียนแทนหนังสือเรียนเท่านั้น แต่ยังสามารถทาอะไรได้อย่าง
มากมาย ขึ้นอยู่กับผู้สอน ผู้บริหารและผู้ปกครองจะนาเครื่องมือนี้ไปใช้อย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แท็บเล็ต (Tablet) ในความหมายแท้จริงแล้ว ก็คือ แผ่นจารึกที่เอาไว้บันทึกข้อความต่างๆโดยการ
เขียน (อาจจะเป็นกระดาษ, ดิน, ขี้ผื้ง, ไม้) และมีการใช้กันมานานแล้วในอดีต แต่ในปัจจุบันมีการพัฒนา
4
คอมพิว เตอร์ ที่ ใช้แนวคิดนี้ ขึ้น มาแทนที่ซึ่งมีห ลายบริ ษัทได้ใ ห้ คานิย ามที่แตกต่างกั นไป หลั กๆ แล้ ว ก็มี 2
ความหมายด้วยกัน คือ แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC : Tablet Personal Computer) และ แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) หรือเรียกสั้นๆว่า แท็บเล็ต (Tablet) แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC : Tablet
Personal Computer) [5] เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สามารถพกพาได้และใช้หน้าจอสัมผัสในการ
ทางาน โดยไม่มีแป้นพิมพ์ แต่อาจจะใช้แป้นพิมพ์เสมือนจริงในการใช้งานแทน แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC) ทุก
เครื่องจะมีอุปกรณ์ไร้สายสาหรับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตและระบบเครือข่ายภายใน ในบทความนี้ขอใช้คาว่า
แท็บเล็ตพีซีเพื่อให้เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน
สรุปได้ว่า แท็บเล็ตพีซีเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดพกพา ที่ใช้ระบบสัมผัสในการทางานทั้งแบบ
offline และ online โดยสามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา หากนามาใช้กับการเรียนการ
สอน ก็จะเป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้รายบุคคล และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ภาพที่ 1 Microsoft serface
แท็บเล็ตพีซี ทีใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 8 [6]
่

ภาพที่ 2 Apple iPad
แท็บเล็ตพีซี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ iOS [7]

ภาพที่ 3 Samsung Galaxy Tab
แท็บเล็ตพีซี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android [8]

ภาพที่ 4 Asus Eee Pad
แท็บเล็ตพีซี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android [9]

การเรียนการสอนในยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ประเภทคอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพา หรื อ แท็ บ เล็ ต พี ซี จะมี บ ทบาทส าคั ญ ค่ อ นข้ า งมากในการน ามาใช้ ใ น
กระบวนการเรียนการสอน [10] นโยบายของรัฐบาลดังกล่าวข้างต้น เป็นแนวคิดที่ดีในการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาประยุกต์ใช้กับการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคสมัยใหม่ โดยใช้แท็บเล็ต พีซีเป็นเครื่องมือในการเข้าถึง
แหล่งเรียนรู้และแสวงหาองค์ความรู้ในรูปแบบต่างๆ ในรูปแบบของบทเรียน Offline และการสืบค้น Online
ทาให้ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ และสร้างองค์ความรู้ต่างๆ ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็ นการฝึกให้
ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
5
ผลกระทบต่อการศึกษาไทย
การนา Tablet PC ไปใช้ในการศึกษาของไทย
การนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการจัดการศึกษาของประเทศไทยเป็นความพยายามที่จะพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน โดยใช้ประโยชน์จากความเป็นคนในยุคดิจิตอลของผู้เรียนในการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา
หรือที่เราเรียกทับศัพท์ว่า “แท็บเล็ตพีซี” การศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 จะให้ความสาคัญกับการบวนการ
เรียนรู้มากกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรงเป็นผู้ให้คาปรึกษา
อานวยความสะดวก ออกแบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนฝึกการค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต แท็บ เล็ ตพีซีเป็ นเครื่องมือหนึ่งที่ผู้ เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูล ที่ต้องการได้ง่าย
รวดเร็ว [11] และมีคุณลักษณะที่เหมาะสมที่ช่วยในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แท็บเล็ตพีซีเป็นได้ทั้งสื่อและเครื่องมือมือหรับใช้ในการเรียนการสอน หากนาไปใช้เป็นเครื่องมือ จะ
อยู่ในรูปแบบ mWBI [12] คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บน แท็บเล็ตพีซีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เนื้อหาวิชาจะถูกโหลดจากอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ html5 ผู้เรียนจะทากิจกรรมสื่อ
การเรียนรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์บนเครือข่าย แต่ในบริบทประเทศไทยแล้ว แท็บเล็ ตพีซีจะเป็นสื่อสาหรับใช้ใน
การเรียนการสอนแบบ mCAI [12] ซึ่งเนื้อหาวิชาถูกบรรจุไว้ในรูปแบบ mobile application และนาไปติดตั้ง
ลงบนแท็บเล็ตพีซี ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหาได้เลยโดยไม่ต้องรอการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การจัดการเรียนรู้
จะเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตภาพศึกษา (Individual Learning) โดยผู้เรียนจะเรียนรู้ตามความสนใจและความ
พร้อมของตนเอง
จะเห็นได้ว่าสื่อการสอนแบบ mCAI นั้น เป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่สะดวกต่อการใช้งานทั้งผู้สอนและ
ผู้เรียนทั้งในสังคมเมืองและสังคมชนบทที่ห่างไกล อันเป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาได้ อย่างดียิ่ง
แต่ถ้าหากรัฐบาลสนับสนุนการจัดระบบโครงสร้างพื้นฐานให้กับสถานศึกษา ให้สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูงได้ ปรับลักษณะของอุปกรณ์แท็บเล็ตให้เหมาะสมกับการสืบค้นข้อมูล ก็ยิ่งจะช่วยทาให้ผู้เรียน
บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในยุคดิจิตอล
การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย
ในการเตรียมความพร้อมสาหรับการนาแท็บเล็ตไปปรับใช้ในการศึกษาตามโครงการของรัฐบาล ผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องในด้านต่างๆ ต้องมีการเตรียมตัวเพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนสอนสอนด้วยแท็บเล็ตประสบ
ความเร็จ โดยแบ่งการปรับความพร้อมเป็นด้านต่างๆ [13] ดังนี้
ด้านหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ควรจัดตั้งหน่วยงานในระดับเขตพื้นที่การศึกษาในการให้บริการ ประสานงาน ซ่อมบารุง และเก็บ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ ซึ่งควรประกอบด้วยผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงผู้
ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอน ทาหน้าที่คณะกรรมการของหน่วยงาน
ด้านสภาพแวดล้อม/โครงสร้างพื้นฐาน/
การใช้งานแท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอนนั้น สามารถใช้งานได้ 2 ลักษณะดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น คือ
แบบ mCAI และแบบ mWBI หรือแบบออฟไลน์และแบบออนไลน์นั้นเอง ซึ่ง mCAI เป็นการใช้แท็บเล็ตพีซีใน
6
การเรียนการสอนโดยบรรจุบทเรียนสาเร็จรูปและสื่อมัลติมีเดียไว้ในแท็บเล็ต เพื่อให้ผู้เรียนใช้ในการเรียนรู้โดย
ไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ส่วนการใช้งานแบบ mWBI เป็นการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือในการ
สืบค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ ซึ่งจาเป็นต้องเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
ไร้สายความเร็วสูง ดังนั้น
สถานศึกษาจึงต้องวางโครงสร้างระบบอินเตอร์เน็ตไร้สายให้ครอบคลุมพื้นที่ โดยมีความเร็วมากพอในการ
ดาวน์โหลดและอัพโหลด และต้องมีจุดปลั๊กไฟสาหรับชาร์ทแบตเตอรี่ที่เพียงพอ ด้วยข้อจากัดด้านโครงสร้าง
พื้นฐานของสถานศึกษา และตัวอุปกรณ์แท็บเล็ต จึงทาให้ประเทศไทยใช้แท็บเล็ตพีซีในการจัดการเรียนการ
สอนแบบ mCAI เท่านั้น
นอกจากนี้ ต้องมีการเตรียมผู้สอนทั้งด้านความสามารถในการใช้แท็บเล็ ต และการออกแบบการ
จัดการเรียนการสอนผ่านแท็บเล็ต โดยการอบรม ให้ความรู้แก่ผู้สอน รวมทั้งนิเทศติดตามการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ ประเมินผล ดูแลรักษา และออกแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสูงสุดต่อผู้เรียน ปัจจุบันรัฐบาลมอบหมายให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ
จัดการอบรมการใช้งานแท็บเล็ตพีซีให้แก่ผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรียบร้อยแล้ว แต่ในปีการศึกษา
2556 ซึ่งผู้เรียนได้เลื่อนชั้นไปยังชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ยังไม่มีการจัดการอบรมการใช้แท็บเล็ตในการจัดการ
เรียนการสอนให้แก่ผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 แต่อย่างใด
ด้านผู้เรียน
การเตรียมความพร้อมของผู้เรียนถือว่ามีความสาคัญอย่างมากในการใช้งานแท็บเล็ตพีซี เนื่องจาก
นโยายที่ให้ผู้เรียนสามารถนาแท็บเล็ตไปใช้นอกสถานศึกษาได้ โดยใช้วิธียืมและส่งคืนเมื่อจบการศึกษาหรือย้าย
สถานศึกษา ดังนั้นต้องปลูกฝังผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบในการใช้งาน รววมทั้งต้องรู้จักการบารุงรักษาเครื่อง
อย่างถูกวิธี ในบริบทประเทศไทยการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเป็นหน้าที่ของผู้สอนในการฝึกทักษะการใช้
งาน และการดูแลรักษา
ด้านผู้ปกครอง/ชุมชน
ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนสาคัญอย่างมากในการกากับดูแลการใช้งานของผู้เรียนในปกครอง ดังนั้น
ควรมีการประชุมชี้แจงทาความเข้าใจหลักการ เป้าหมาย การใช้งานที่ถูกวิธี การบารุงรักษา รวมถึงความ
รับผิดชอบต่อเครื่องแท็บเล็ตพีซี เมื่อเกิดความเสียหายหรือสูญหาย ในประเทศไทยการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาในการประชุมชี้แจงทาความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว
ด้านนโยบายรัฐบาล
แผนการจัดการเรียนรู้ถือว่าเป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ประสบความสาเร็จ ซึ่งปัจจุบัน
กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนจัดการเรียนรู้ด้วยแท็บเล็ตพีซี และจัดส่งให้ทุกสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอน
ผู้รับผิดชอบนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ทันที โดยกระทรวงศึกษาธิการได้วางรูปแบบการใช้แท็บ
เล็ตพีซีเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก เพื่อเป็นต้นแบบในการนาเอาไปปรับใช้ [14]
ดังนี้
7
1) รูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซีเบื้องต้นโดยการสอนเป็นทีม

ภาพที่ 5 แสดงรูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซโดยการสอนเป็นทีม [14]
ี

แนวทางการใช้รูป แบบการฝึกทั กษะการใช้แท็บเล็ตพีซีโดยการสอนเป็นทีม มีแนวทางที่
สาคัญ คือ สถานศึกษาขนาดเล็กที่อยู่ใกล้กันมาจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ลดปัญหาการขาดแคลนผู้สอน และ
อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยคัดเลือกผู้สอนที่มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซี
ที่ดีที่สุดให้เป็นผู้สอนหลัก ส่วนผู้สอนท่านอื่นมีบทบาทในการเป็นผู้สอนผู้ช่วยจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาที่เป็น
สถานที่ ท าการเรี ย นการสอนต้ อ งจั ด เตรี ย มสื่ อ อุ ป กรณ์ ใ ห้ พ ร้ อ มสมบู ร ณ์ อาจเป็ น ความร่ ว มมื อ ของทุ ก
สถานศึกษาที่ดาเนินการเรียนการสอนร่วมกัน เช่น เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์ เครื่องฉายทึ บแสง เอกสารคู่มือ
เป็นต้น โดยดาเนินเตรียมความพร้อมสาหรับผู้เรียนก่อนเป็นอันดับแรก ได้แก่การฝึกทักษะการใช้งานเบื้องต้น
การใช้บารุงรักษาเครื่อง และการสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนด้วยแท็บเล็ตพีซี
2) รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการจัดการเรียนรู้ (ปกติ)

ภาพที่ 6 แสดงการจัดการเรียนรูโดยใช้รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการจัดการเรียนรู้ [14]
้

แนวทางการใช้รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการเรียนรู้ มีแนวทางที่สาคัญ คือ ใช้แท็บ
เล็ตเป็นสื่อในการเรียนรู้ ผู้สอนต้องปรับแผนจัดการเรียนรู้ใหม่โดยนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้เป็นสื่อการเรียนการ
สอน ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งขั้นนาเข้าสู่บทเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้
บทเรียนที่บรรจุอยู่ในแท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อ ขั้นสรุปโดยใช้แอพพลิเคชั่นในการสรุปสาระสาคัญที่เรียนรู้ไปแล้ว ขั้น
การฝึกทักษะสามารถใช้แอพพลิเคชั่นเป็นแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ช่วยฝึกทักษะที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
3) รูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซีแทนสื่อและอุปกรณ์การสอน
รูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซีแทนสื่อและอุปกรณ์การสอนนี้เน้นการใช้แท็บเล็ตพีซี
แทนสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ เช่น การใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอน
8
วิชาดนตรี การใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นอุปกรณ์เครื่องเขียนในการวาดภาพระบายสีในวิชาศิลปศึกษา การใช้แท็บเล็ต
พีซีเป็นอุปกรณ์เขียนคาตอบจากโจทย์ปัญหาต่างๆ เป็นต้น
4) รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นแหล่งการเรียนรู้

ภาพที่ 7 แสดงการจัดการเรียนรู้ทยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซเี ป็นแหล่งการเรียนรู้ [14]
ี่

แนวทางเป็นรูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นแหล่งการเรียนรู้ สาหรับการจัดการเรียนรู้ที่ยึด
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งเป็นการเรียนการสอนตามกระบวนวิจัย กระบวนการ
ทางวิ ท ยาศาสตร์ และกระบวนการแก้ ปั ญ หา ตามแนวคิ ด ที่ ผู้ เ รี ย นสามารถสร้ างความรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง
(Constructivism) โดยผู้เรียนจะเรียนรู้ด้วยสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง (Inquiry Learning & Self
Directed Learning) ซึ่งในขั้นตอนการค้นคว้านั้น ผู้เรียนสามารถใช้แท็บเล็ตพีซีในการเป็นเครื่องมือในการ
สืบค้นข้อมูล รวมถึงการบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
5) รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการสอนซ่อมเสริม

ภาพที่ 8 รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อซ่อมเสริม [14]

ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องให้ความสาคัญ ดังนั้นผู้เรียนในห้องเรียนจะมี
ทั้งผู้เรียนที่เรียนเก่งและผู้เรียนที่เรียนอ่อน ผู้สอนต้องช่วยปรับปรุงผู้เรียนที่เรียนอ่อนและจัดกิจกรรมส่ งเสริม
ผู้เรียนที่เรียนเก่ง การซ่อมเสริมแบบนี้อาจเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการขึ้นอยู่กับนโยบายและบริบทของ
สถานศึกษา อาจใช้เวลาช่วงพักกลางวัน หลังเลิกเรียน หรือจัดชั่วโมงเรียนซ่อมเสริมโดยเฉพาะ ผู้สอนสามารถ
9
ใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนซ่อ มเสริม โดยอาศัยบทเรียนที่บรรจุอยู่ในแท็บเล็ตพีซี
เป็นสื่อการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนดังกล่าว เป็นเพียงแนวทางที่ผู้สอนจะนาไปใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาผู้เรียนด้วยการใช้แท็บเล็ตพีซี โดยที่ผู้สอนสามารถนารูปแบบต่างๆ เหล่านี้ ไปปรับใช้ให้เหมาะสม
กับสภาพ และบริบทในชั้นเรียนของตน เพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 ต่อไป
ผลลัพธ์ที่ปรากฏ
ผลการวิจัยการใช้ Tablet ในสถานศึกษา
มีงานวิจัยจานวนมากเกี่ยวกับการศึกษาการนาแท็บเล็ตไปใช้ในการเรียนการสอน ทั้งในรูปแบบของ
เครื่องมือสืบค้น และสื่อการเรียนรู้ กรณิการ์ ชูตระกูลธรรม [15]21 ได้พัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรีไทยบนแท็บ
เล็ตระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยโปรแกรมประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 ชนิด คือ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม
และฆ้องวงใหญ่ ซึ่งผู้ใช้ส ามารถเล่ นพร้อมกับเสี ยงเครืองประกอบจังหวะ มีโน้ตเพลงดนตรีไทยที่ผู้ ใช้งาน
สามารถฟัง เพลงตัว อย่ างได้แ ละประวั ติข องเครือ งดนตรี แต่ ล ะชนิ ด จากการประเมิ นความพึ งพอใจของ
โปรแกรมของผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้งาน พบว่าอยู่ในระดับมาก
จิราพร กตารัตน์ [16]22 ศึกษาการใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอนของข้าราชการผู้สอนในสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 พบว่า ในภาพรวมการใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียน
การสอนของข้าราชการผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
หนองคาย เขต 1 จัดอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการใช้
แท็บเล็ตเพื่อ การบริหารจัดการเรียนรู้
ณัฐพร ทองศรี [17]23 ทาการศึกษาความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของผู้ สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี ผลการศึกษา
พบว่าผู้สอนมีความตั้งใจใช้แท็บเล็ตในการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2555 อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัย
ภายนอกที่มีอิทธิพลต่อระดับความตั้งใจใช้แท็บเล็ตมากที่สุดคือ อิทธิพลทางสังคม
นาชัย โบราณมูล [18]25 ได้พัฒนาหลักสูตรอบรมการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
การสร้างสเปรดชีทด้วยแอพพลิเคชั่น Numbers สาหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า หลักสูตรอบรมที่
พัฒนาขึ้น มีคุณภาพในระดับเหมาะสมมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรอบรมโดยมี คะแนนหลัง
อบรมสูงและก่อนอบรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรอบรมฯ
อยู่ในระดับมากที่สุด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 [19]26 ศึกษาความสาเร็จของการใช้
Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึ กษาปีที่ 1 ปี 2555 ผลการศึกษาพบว่า ผู้สอนร้อยละ
75.5 มีความคิดเห็นว่าผู้เรียนเรียนภาษาอังกฤษได้ดีขึ้นและเร็วขึ้น ผู้เรียนร้อยละ 62.7 มีความสามารถเขียน
สื่อความและจับใจความในระดับใช้ได้ ผู้เรียนร้อยละ 61.7 เขียนภาษาอังกฤษในระดับใช้ได้ ผู้เรียนร้อยละ
10
52.1 พออ่านภาษาอังกฤษได้แต่ยังต้องพัฒนา ผู้เรียนร้อยละ 96.7 รู้สึกว่าแท็บเล็ตมีประโยชน์ ผู้เรียนร้อยละ
81.3 เห็นว่าแท็บเล็ตใช้ง่าย ผู้เรียนร้อยละ 97.6 ชอบแท็บเล็ต
ผู้สอนร้อยละ 92.5 ชอบใช้แท็บเล็ตในการสอน ผู้สอนร้อยละ 94.9 รู้สึกว่าแท็บเล็ตมีประโยชน์หลายอย่าง
ผู้สอนร้อยละ 94.8 เห็นว่าแท็บเล็ตสนับสนุนและกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน
จักรพล เร่บ้านเกาะ [20]27 พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่ใช้บนคอมพิวเตอร์พกพา
หน้าจอสัมผัสในวิชางานหลอมหล่อเครื่องประดับ เรื่องการหล่อโลหะ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่ม
ตัวอย่างผู้ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้เรียนมี
ความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับดี
จากผลการศึกษาวิจัยการนาแท็บเล็ตพีซีไปใจในการจัดการเรียนการสอนพบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่มี
ผลสัมฤทธิ์สูงขึน เนื่องด้วยอิทธิพลทางสังคมเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อระดับความตั้งใจในการใช้แท็บเล็ต ทั้ง
้
ยังมีการพัฒนาหลักสูตรการอบรมผู้สอนที่มีคุณภาพให้สามารถใช้แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอน อย่างไร
ก็ตามควรคานึงถึงผลกระทบที่จะตามมาหลังจากการนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการเรียนการสอนด้วย
ผลกระทบจากการใช้แท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอน
ในการใช้แท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอน มีผลกระทบในด้านต่างๆ [21] ดังนี้
ผลกระทบเชิงบวก
ผลกระทบเชิงบวกจาการใช้แท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอนต่อตนเอง ครอบครัว สถานศึกษา
และต่อสังคม อาทิเช่น แท็บเล็ตเป็นเทคโนโลยีที่จะช่วยสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาให้กับเด็ก เป็นการ
เปิดโลกทัศน์ให้เด็กๆ ได้ศึกษาวัฒนธรรมต่างแดนผ่านอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา สามารถเรียนรู้ภาษาด้วย
การใช้เป็นวิดีโอแชทกับชาวต่างชาติเพื่อฝึกภาษาอังกฤษโดยไม่ต้องเขินอายเหมือนกับการสื่อสารต่อหน้า ทาให้
การเรียนเป็นเรื่องสนุกและเข้าใจง่ายขึ้น แตกต่างจากการเรียนจากหนังสือซึ่งไม่น่าสนใจและเข้าใจยากกว่า ทา
ให้ผู้สอนสามารถเข้าถึงรูปภาพ วีดิโอคลิป และข้อมูลข่าวสารจากทั่วโลก เพื่อใช้สร้างบทเรียนที่น่าสนใจให้แก่
ผู้เรียน
ผลกระทบเชิงลบ
การน าแท็ บ เล็ ต พีซี ม าใช้ ในการจั ด การเรีย นการสอนอาจส่ ง ผลกระทบเชิ งลบต่อ ผู้ เรี ย นได้ อาทิ
เช่น อาจมีผู้เรียนจานวนมากติดอินเทอร์เน็ต เด็กจะอยู่คนเดียว เล่นคนเดียว หรือเล่นกับเพื่อนสองสามคน
ขาดการมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมกับผู้อื่น ขาดหรือออกกาลังกายน้อยลง มีปัญหาเรื่องสายตาสั้น มีปัญหาด้าน
สุขภาพ และทาให้เด็กคุ้นเคยกับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ จนอาจทาให้ติดและทาให้ส่งผลต่อผลการเรียน
ปัญหาและอุปสรรค
นโยบายของรัฐบาลในการจัดสรรแท็บเล็ตพีซีนับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการปฏิวัติการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนไทย เพียงแต่อาจเกิดปัญหาตามมาหลังจากที่มีการแจก Tablet ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
1. การเรียนการสอนโดยใช้แท็บเล็ตพีซีอาจไม่จาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ แต่จาเป็นต้องมี
แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ น าแท็ บ เล็ ต พี ซี ม าใช้ เ ป็ น สื่ อ หรื อ เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย นการสอน ซึ่ ง ขณะนี้
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ จั ด ท าแผนจั ด การเรี ย นรู้ จ ากส่ ว นกลางส่ ง ให้ ทุ ก สถานศึ ก ษา เพื่ อ ให้ ผู้ ส อนชั้ น
11
ประถมศึกษาปีที่ 1 นาไปใช้จัดการเรียนการสอน แต่มีข้อสังเกตคือแผนจัดการเรียนรู้นี้ยืดหยุ่นพอหรือไม่ใน
การใช้จัดการเรียนการสอนในบริบทที่แตกต่างกันของแต่ละสถานศึกษา
2. ผู้สอนยังขาดทักษะการใช้อุปกรณ์ Tablet เพื่อการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่ผู้เรียนมีความ
พร้อมที่จะเรียน [10]
3. เมื่อผู้เรียนเลื่อนชั้น เนื้อหาบทเรียนในชั้นเดิมจะถูกลบเพื่อใส่เนื้อหาบทเรียนในชั้นใหม่เข้าไป
เนื่องจากเนื้อที่การจัดเก็บข้อมูลของแท็บเล็ตมีจากัด ทาให้ผู้เรียนไม่สามารถกลับมาทบทวนเนื้อบทเรียนเดิมได้
4. ภาระด้านการบารุงรักษา การแก้ปัญหาเรื่องอุปกรณ์ และการใช้งานเป็นภาระของสถานศึกษา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อหมดระยะประกัน [22]
5. อุปกรณ์แท็บเล็ตเปลี่ยนรุ่นเร็วมาก ดังนั้นแท็บเล็ตที่จัดหามาแจก ควรมีมาตรฐานรองรับสื่อ
บทเรียนและแอพพลิเคชั่นที่เกิดขึ้นใหม่ ในขณะที่ด้านเทคนิคก็พบปัญหามากมาย เช่น แบตเตอรี่หมดเร็ว ใช้
งานได้ติดต่อกันน้อยกว่า 1 ชั่วโมง เครื่องร้อน โดยสถานศึกษาหลายแห่งเสนอให้ส่วนกลางจัดสรรงบประมาณ
การจัดซ่อมบารุงแท็บเล็ต และสารองเครื่องเพื่อรองรับปัญหา แต่ก็ยังไม่ได้รับการจัดการมากนัก
6. ด้วยข้อจากัดของอุปกรณ์ที่มีขนาดหน้าจอ 7 นิ้ว ซึ่งเล็กเกินไปสาหรับการอ่านข้อความจากเว็บไซต์
การสัมผัสที่ไม่ลื่นไหล ระบบอินเตอร๋เน็ตของสถานศึกษาไม่เร็วและเสถียรพอ จึงเป็นการยากที่จะใช้แท็บเล็ต
พีซีเป็นเครื่องมือในการสืบค้น
จากงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการศึกษาทัศนคติของผู้เรียนหรือผู้สอน การพัฒนาแอพพลิเคชั่น บทเรียน
แต่ยังขาดงานวิจัยที่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเมื่อนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน เพื่อยืนยันว่าแท็บเล็ตสามารถช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ซึงผลด้านลบจากการใช้แท็บเล็ต
ในการเรียนการสอนจึงเป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องพึงตระหนักและให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก
แนวทางและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา
จากการที่กระทรวงศึกษาธิการได้ใ ห้ ส ถานศึกษาจัดการเรีย นการสอนโดยใช้แท็บเล็ ตพีซีเป็นสื่ อ
ประกอบการเรียนการสอน สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มาระยะหนึ่ง พบว่ามีหลายประเด็นปัญหาใน
การใช้ งานที่ เป็ น อุป สรรคต่อ การจั ด การเรี ย นการสอน ไม่ว่า จะเป็ นเครื่ องแท็บ เล็ ตพี ซีเ อง บทเรี ยนหรื อ
แอพพลิเคชั่น โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา ทักษะการใช้งานของผู้สอนและ
ผู้เรียน หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้โดยใช้เครื่องแท็บเล็ตพีซีเป็นฐาน สิ่งต่างๆ
เหล่านี้ทาให้การจัดการเรียนการสอนไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร คณะผู้เขียนจึงได้เสนอข้อเสนอแนะให้รัฐบาล
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปพิจารณาปรับปรุง แก้ไขโครงการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนี้
[10]
1) รัฐบาลควรสนับสนุนงบประมาณในการจัดโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับ
สถานศึกษาโดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยู่ในชนบทห่างไกล ให้สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
12
2) สถานศึกษาต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นฐาน (Tablet
Based Learning) เช่น ระบบกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สาย อุปกรณ์ชาร์ตแบตเตอรี่ จุดติดตั้งปลั๊กไฟใน
ห้องเรียน โปรเจคเตอร์ และระบบเสียง เป็นต้น
3) หากเป็ น ไปได้ส ถานศึก ษาควรจัดให้ มี ห น่ว ยงานรับผิ ดชอบด้ านเทคโนโลยี ส ารสนเทศของ
สถานศึกษาโดยเฉพาะ เพื่อช่วยในการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในให้มีประสิทธิภาพ
4) ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและประสิทธิภาพของเครื่องแท็บเล็ตพีซีที่
เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละระดั บ เช่น ขนาดหน้าจอ ความสว่างของหน้าจอ ระยะเวลาการใช้
งานของแบตเตอรี่ พอร์ตเชื่อมต่อที่จาเป็น สเปคของเครื่อง ความทนทาน ความปลอดภัยในการใช้งาน เป็นต้น
5) ควรทดลองใช้กับกลุ่มทดลองก่อน เพื่อศึกษาผลกระทบ ผลลัพธ์ ปัญหาจากการใช้งาน รวมถึง
ประเมินความคุ้มค่า และนาผลการศึกษามาปรับปรุงแก้ไขการใช้งานแท็บเล็ตพีซีเพื่อการเรียนการสอนห้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด
6) ควรมีการพัฒ นาผู้ สอนให้ ส ามารถใช้แท็บเล็ ตพีซีเป็นสื่ อประกอบการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ผู้สอนสามารถพัฒนาบทเรียนหรือแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี พัฒนาแผนจั ดการ
เรียนรู้ให้ตรงกับบริบทของสถานศึกษาและตรงกับความต้องการของผู้เรียน รวมทั้งรู้วิธีการดูแลรักษาแท็บเล็ต
พีซีอย่างถูกต้องและเหมาะสม
7) สร้างแรงกระตุ้นให้ผู้สอนพัฒนาแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นฐาน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดทักษะที่สาคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมยุคศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีความสุข
8) ควรมีการฝึกทักษะการใช้งานแท็บเล็ตพีซีให้กับผู้เรียน ทั้งการใช้งานเบื้องต้น การเข้าถึงและเรียนรู้
บทเรียน การสืบค้นข้อมูลความรู้จากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการใช้งานที่ถูกวิธี
การวางแผน การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การศึกษาวิจัยในเรื่องของผลกระทบให้รอบด้าน
ทั้งผู้สอน ผู้เรียน และการทาความเข้าใจกับผู้ปกครองเป็นสิ่งสาคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัย
สาคัญที่จะทาให้โครงการประสบความสาเร็จ สาหรับสถานศึกษาที่มีความพร้อมในทุกด้านแล้ว ควรคานึงถึง
การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ การกากับดูแลการใช้งานของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใช้
แท็บเล็ตพีซีได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดจนทักษะที่บุคคลในศตวรรษที่
21 พึงมี อีกทั้งยังเป็นการลดผลกระทบด้านลบที่จะเกิดขึ้นอีกด้วย
13
อ้างอิง
[1] William J. Schroer. (ม.ป.ป.). Generations X,Y, Z and the Others. สืบค้นข้อมูลจาก
http://www.socialmarketing.org/newsletter/features/generation3.htm เข้าถึงเมื่อวันที่ 1
พฤศจิกายน 2556
[2] วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์. สืบค้นข้อมูล
จาก http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf. เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน
2556
[3]8 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559. สืบค้นข้อมูลจาก
http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395. เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
[4] โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย. (2554). ความเป็นมา. สืบค้นข้อมูลจาก
http://www.otpc.in.th/aboutus.html. เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
[5] แท็บเล็ต (Tablet) คือ อะไร. (2553). สืบค้นข้อมูลจาก http://www.tabletd.com/articles/289
เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
[6] Microsoft Store. (2013). Microsoft Surface for Windows RT. สืบค้นข้อมูลจาก
http://www.microsoftstore.com/store/msapac/th_TH/pdp/productID.283878300 เข้าถึง
เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[7] Apple Store. (2013). iPad with Retina and iPad mini. สืบค้นข้อมูลจาก
http://www.apple.com/th/ipad/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[8] Samsung Stroe. (2556). Galaxy Tab3 10.1. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.samsung.com/th/
เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[9] Asus Store. (2556). แท็บเล็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่เอซุส. สืบค้นข้อมูลจาก
http://www.asus.com/th/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[10] สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2555). แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา : โอกาสและความท้าทาย (Tablet for Education :
The Opportunity and Challenge). สืบค้นข้อมูลจาก www.kan1.go.th/tablet-foreducation.pdf เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
[11] "แท็บเล็ต" (Teblet) เพื่อการศึกษา. (ออนไลน์). (2556). สืบค้นข้อมูล
จาก http://chompoonikkampan.blogspot.com/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[12] ภาสกร เรืองรอง. (2556). การพัฒนาบทเรียนบท Tablet PC. โรงพิมพ์พรทิชา กรุงเทพ.
[13] ศูนย์บริการ ICT สพป.ยโสธรเขต 2. (2556). สรุปผลการปฏิบัติงานการดาเนินการแท็บเล็ตเพื่อ
การศึกษาไทย ระยะที่ 1. สืบค้นข้อมูล
จาก http://202.143.189.100/otpc/onweb/salub.pdf. เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556
14
[14] กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียนสาหรับโรงเรียน
ขนาดเล็ก. สืบค้นข้อมูล
จาก http://www.sepkpt1.net/onechildok/file_onechildOK/01_Tablet_PC_09_2555.pdf
เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556
[15] กรณิการ์ ชูตระกูลธรรม. (2555). วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ . สืบค้นข้อมูลจาก
http://dcms.thailis.or.th/dcms/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=32
5161&query=Array&s_mode=Array&date_field=date_create&date_start=2552&date_end
=2556&limit_lang=&limited_lang_code=tha&order=&order_by=title&order_type=ASC&r
esult_id=12&maxid=13 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[16] จิราพร กตารัตน์ (2555). วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าธนบุรี. สืบค้นข้อมูลจาก
http://dcms.thailis.or.th/dcms/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=31
3367&query=Array&s_mode=Array&date_field=date_create&date_start=2552&date_end
=2556&limit_lang=&limited_lang_code=tha&order=&order_by=title&order_type=ASC&r
esult_id=7&maxid=13 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[17] ณัฐพร ทองศรี. (2555). ความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์ วิทยา
ศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ). สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์.
สืบค้นข้อมูลจาก เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[18] นาชัย โบราณมูล (2555). วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิตคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม. สืบค้นข้อมูลจาก
http://dcms.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=34&RecId=3655&obj_id=35206
เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556
[19] สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. (ออนไลน์). (2556). ความสาเร็จของการใช้
Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2555. สืบค้นข้อมูล
จาก http://otpc-cm1.blogspot.com/2013/07/tablet-1-2555.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 7
พฤศจิกายน 2556.
[20] จักรพล เร่บ้านเกาะ. (2555). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่ใช้บนคอมพิวเตอร์พกพา
หน้าจอสัมผัสในวิชางานหลอมหล่อเครื่องประดับ เรื่องการหล่อโลหะ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์
อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สืบค้นข้อมูลจาก http://202.28.199.4/tdc/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556.
15
[21] Tablet คืออะไร มีบทบาทอย่างไรในด้านการศึกษาของประเทศไทย. (ออนไลน์). (2556). สืบค้นข้อมูล
จาก http://nipaporn27739.wordpress.com/2012/09/11/table เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน
2556.
[22] ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2554). เปิดโลก Tablet สู่ทิศทางการวิจัยด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา : จาก
แนวคิดสู่กระบวนการปฏิบัติ. เอกสารประกอบการบรรยาย วันที่ 4 กันยายน 2554 ณ ม.ทักษิณ
วิทยาเขตสงขลา.

More Related Content

What's hot

หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
khon Kaen University
 
Curriculum
CurriculumCurriculum
กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...
กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...
กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...
ThaiprincessIT
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
Stem ศึกษา
Stem ศึกษาStem ศึกษา
Stem ศึกษา
Chuchai Sornchumni
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
Weerachat Martluplao
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
Surapon Boonlue
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
Wachira Srikoom
 
Computer present
Computer presentComputer present
Computer present
sasikan thamthong
 
รายละเอียด
รายละเอียดรายละเอียด
รายละเอียดjaaejaae25
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
Chu Ching
 

What's hot (19)

หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
Curriculum
CurriculumCurriculum
Curriculum
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...
กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...
กิจกรรมส่งเสริม Science & ICT เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ (kid k...
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
Stem ศึกษา
Stem ศึกษาStem ศึกษา
Stem ศึกษา
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
 
Computer present
Computer presentComputer present
Computer present
 
รายละเอียด
รายละเอียดรายละเอียด
รายละเอียด
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 

Similar to Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21

Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
Yaowaluck Promdee
 
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sichon
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมNaCk Wanasanan
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
หน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย : สู่การศึกษาภควันตภาพ
หน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย :  สู่การศึกษาภควันตภาพหน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย :  สู่การศึกษาภควันตภาพ
หน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย : สู่การศึกษาภควันตภาพ
ณัฐพล บัวพันธ์
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
ธนเดช วิไลรัตนากูล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
ooh Pongtorn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
pohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Somsak Kaeosijan
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
believegg
 

Similar to Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 (20)

Tablet multimedia
Tablet multimediaTablet multimedia
Tablet multimedia
 
Tablet multimedia
Tablet multimediaTablet multimedia
Tablet multimedia
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอม
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Manual tablet
Manual tabletManual tablet
Manual tablet
 
หน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย : สู่การศึกษาภควันตภาพ
หน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย :  สู่การศึกษาภควันตภาพหน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย :  สู่การศึกษาภควันตภาพ
หน่วยที่ 1 ภาพอนาคตการศศึกษาไทย : สู่การศึกษาภควันตภาพ
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
1
11
1
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 

More from KruBeeKa

13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
KruBeeKa
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
KruBeeKa
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
KruBeeKa
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
KruBeeKa
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
KruBeeKa
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
KruBeeKa
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
KruBeeKa
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
KruBeeKa
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
KruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
KruBeeKa
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
KruBeeKa
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
KruBeeKa
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
KruBeeKa
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
KruBeeKa
 

More from KruBeeKa (16)

13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21

  • 1. 1 Tablet PC สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ภาสกร เรืองรอง, รุจโรจน์ แก้วอุไร, ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ * วณิชชา แม่นยา, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรัณยู หมื่นเดช, ชไมพร ศรีสุราช ** บทคัดย่อ ลักษณะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มีแนวโน้มเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีแบบ พกพามากขึ้น โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ทั้งการเรียนแบบออนไลน์โดยเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต และแบบออฟไลน์จากบทเรียนสาเร็จรูปที่บรรจุไว้ในแท็บเล็ตพีซี ซึ่งเป็น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพาที่ใช้ งานโดยการสัมผัสหน้าจอ ในปีการศึกษา 2555 รัฐบาลได้จัดทาโครงการ One Tablet Per Child ขึ้น โดยให้ ผู้เรียนนาแท็บเล็ตพีซีไปใช้สาหรับการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อการเรียนรู้ หรือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบเคลื่อนที่ (mCAI) เป็นหลัก ด้วยเหตุผลความพร้อมของโครงข่ายพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงยัง ไม่สามารถใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และสืบค้นผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (mWBI) ได้ ดังนั้นการเตรียมความพร้อมด้านนโยบาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ ผู้เรียน ผู้สอน รวมถึงผู้ปกครองและชุมชนจึง เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น จากผลการวิจัย พบว่า แท็บเล็ตพีซีสามารถช่วยพัฒนาความรู้ของผู้เรียนได้ดีในระดับ หนึ่ง แต่ทุกฝ่ายต้องตระหนักถึงผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึ้นตามมาด้วย ทุกปัญหาและอุปสรรคจาเป็นต้อง ได้รับการแก้ไขในทุก ๆ มิติ เพื่อให้การจัดการศึกษาร่วมกับแท็บเล็ตพีซีอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล และบรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษาต่อไป คาสาคัญ : แท็บเล็ต, การศึกษาไทย, การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Abstract Nature of learning in the 21st century is likely to be self-learning through technological devices more portable . , Students can learn anytime and anywhere learning , both online and offline connection of lesson contained in the tablet PC. The device is a portable computer that is activated by touching the screen in the year 2555 , the government has made the One Tablet Per Child by students to bring tablet PC to use for teaching and learning in the form of media . learning. Mobile or computer -assisted instruction (mCAI) the main reason is the availability of information technology infrastructure . It also can not use the tablet PC as a tool for learning and retrieval via the Internet (mWBI) , so to prepare the policy . Agency responsible learners and teachers , parents and community, it is important and necessary. The study found that tablet PC can help you develop the knowledge of students in one class . But all parties must be aware of the
  • 2. 2 negative consequences that may occur as well. All barriers need to be fixed in every dimension in order to deal with the Tablet PC more effectively. Effectiveness . And objectives based on the school curriculum . Key words : Tablet PC, Thai Education, 21st Century Learning * อาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ** นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 3. 3 บทนา ในยุคศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนไม่จากัดอยู่เฉพาะในห้องเรียน มีแนวโน้มเปลี่ยนเป็นการเรียนรู้ ได้จากทุกสถานที่และทุกเวลา (Ubiquitous Learning) มากขึ้น ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งการเรียน แบบนี้ต้องการความรวดเร็วในการสื่อสาร ความง่ายในการเข้าถึงข้อมูล และการตอบคาถาม ผู้เรียนเหล่านี้จัด ว่าเป็นคนยุคซีเจนเนอเรชัน (Generation Z) ชอบใช้อินเทอร์เนต หรือที่เรียกกันว่าเป็นชาวเน็ต (netizen) [1] ด้ว ยเหตุนี้อุปกรณ์ขนาดพกพาเพื่อเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลาจึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับการเรียนรู้ในยุคดิจิตอล ศาสตราจารย์ นพ.วิจารณ์ พานิช [2] ได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า ผู้สอนกาลังเกิดคาถามในใจว่า ศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 จะมีลักษณะอย่างไร แล้วผู้สอนจะเตรียมรับมืออย่างไรกับเด็กยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 นี้ เพื่อ คลายประเด็นสงสัย หนังสือ 21st Century Skills : Learning for Life in Our Times ได้ระบุลักษณะของ เด็กสมั ย ใหม่ ไว้ว่า มีความเป็ น อิ ส ระที่ จ ะเลื อ กสิ่ งที่ ตนพอใจ แสดงความเห็ น และลั กษณะเฉพาะของตน ต้ อ งการดั ด แปลงสิ่ ง ต่ า งๆ ให้ ต รงตามความพอใจและความต้ อ งการของตน ( customization & personalization) ตรวจสอบหาความจริงเบื้องหลั ง (scrutiny) เป็นตัวของตัวเองและสร้างปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่น เพื่อรวมตัวกัน เป็นองค์กร เช่น ธุรกิจ รัฐบาล และสถาบันการศึกษา ความสนุกสนานและการเล่นเป็น ส่วนหนึ่งของงาน การเรียนรู้ และชีวิตทางสังคม การร่วมมือและความสัมพันธ์เป็นส่วนหนึ่งของทุกกิจกรรม ต้องการความเร็วในการสื่อสาร การหาข้อมูลและตอบคาถาม และสร้างนวัตกรรมต่อทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต ลักษณะของเด็กยุคใหม่ดังกล่าว จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้คอรบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะภายในสถานศึกษาเพื่อรองรับความต้องการเรียนรู้ด้วยตนเองอันไร้ขีดจากัด ของเด็ก ทั้งยังเป็นการช่วยส่งเสริมให้เด็กเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559 [3] ให้ความสาคัญกับการ พัฒนาคุณภาพของเด็กวัยเรียน ให้มีความรู้ทางวิชาการ ทักษะและสติปัญญาที่ สามารถศึกษาหาความรู้และ ต่ อ ยอดองค์ ค วามรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง รวมทั้ ง สามารถปรั บ ตั ว ให้ รู้ เ ท่ า ทั น กั บ ข่ า วสารภายใต้ บ ริ บ ทแห่ ง การ เปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีที่รวดเร็ว อันจะช่วยสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาไปสู่ระบบการเรียนรู้ตลอด ชีวิตต่อไป รัฐบาลภายใต้การนาของ นางสาวยิ่งลัก ษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี จึงมี นโยบายจัดหาเครื่อง แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) ให้แก่ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สาหรับใช้ในการเรียนการสอน เหตุที่ใช้ นาร่องกับเด็กผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพราะเป็นวัยที่สามารถเรียนรู้ได้เร็วตามพัฒนาการทาง สมองที่เหมาะสม จะทาให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข และสามารถสร้างสิ่งที่ดีให้กับตนเองและสังคมได้ใน อนาคต [4] อีกทั้งยังก่อให้เกิดความตื่นตัวในการแสวงหาความรู้ที่อยู่อย่างไม่จากัด สร้างโอกาสและความ ทัดเทียมกันระหว่างสังคมเมืองและสังคมชนบท ซึ่งโครงการแท็บเล็ตพีซี เพื่อการศึกษาไทย (One Tablet Per Child) มิใช่เป็นเพียงเครื่องมือให้กับผู้เรียนใช้เรียนแทนหนังสือเรียนเท่านั้น แต่ยังสามารถทาอะไรได้อย่าง มากมาย ขึ้นอยู่กับผู้สอน ผู้บริหารและผู้ปกครองจะนาเครื่องมือนี้ไปใช้อย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด แท็บเล็ต (Tablet) ในความหมายแท้จริงแล้ว ก็คือ แผ่นจารึกที่เอาไว้บันทึกข้อความต่างๆโดยการ เขียน (อาจจะเป็นกระดาษ, ดิน, ขี้ผื้ง, ไม้) และมีการใช้กันมานานแล้วในอดีต แต่ในปัจจุบันมีการพัฒนา
  • 4. 4 คอมพิว เตอร์ ที่ ใช้แนวคิดนี้ ขึ้น มาแทนที่ซึ่งมีห ลายบริ ษัทได้ใ ห้ คานิย ามที่แตกต่างกั นไป หลั กๆ แล้ ว ก็มี 2 ความหมายด้วยกัน คือ แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC : Tablet Personal Computer) และ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) หรือเรียกสั้นๆว่า แท็บเล็ต (Tablet) แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC : Tablet Personal Computer) [5] เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สามารถพกพาได้และใช้หน้าจอสัมผัสในการ ทางาน โดยไม่มีแป้นพิมพ์ แต่อาจจะใช้แป้นพิมพ์เสมือนจริงในการใช้งานแทน แท็บเล็ต พีซี (Tablet PC) ทุก เครื่องจะมีอุปกรณ์ไร้สายสาหรับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตและระบบเครือข่ายภายใน ในบทความนี้ขอใช้คาว่า แท็บเล็ตพีซีเพื่อให้เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน สรุปได้ว่า แท็บเล็ตพีซีเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดพกพา ที่ใช้ระบบสัมผัสในการทางานทั้งแบบ offline และ online โดยสามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา หากนามาใช้กับการเรียนการ สอน ก็จะเป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้รายบุคคล และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ภาพที่ 1 Microsoft serface แท็บเล็ตพีซี ทีใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 8 [6] ่ ภาพที่ 2 Apple iPad แท็บเล็ตพีซี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ iOS [7] ภาพที่ 3 Samsung Galaxy Tab แท็บเล็ตพีซี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android [8] ภาพที่ 4 Asus Eee Pad แท็บเล็ตพีซี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android [9] การเรียนการสอนในยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ประเภทคอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพา หรื อ แท็ บ เล็ ต พี ซี จะมี บ ทบาทส าคั ญ ค่ อ นข้ า งมากในการน ามาใช้ ใ น กระบวนการเรียนการสอน [10] นโยบายของรัฐบาลดังกล่าวข้างต้น เป็นแนวคิดที่ดีในการนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกต์ใช้กับการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคสมัยใหม่ โดยใช้แท็บเล็ต พีซีเป็นเครื่องมือในการเข้าถึง แหล่งเรียนรู้และแสวงหาองค์ความรู้ในรูปแบบต่างๆ ในรูปแบบของบทเรียน Offline และการสืบค้น Online ทาให้ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ และสร้างองค์ความรู้ต่างๆ ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็ นการฝึกให้ ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • 5. 5 ผลกระทบต่อการศึกษาไทย การนา Tablet PC ไปใช้ในการศึกษาของไทย การนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการจัดการศึกษาของประเทศไทยเป็นความพยายามที่จะพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน โดยใช้ประโยชน์จากความเป็นคนในยุคดิจิตอลของผู้เรียนในการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา หรือที่เราเรียกทับศัพท์ว่า “แท็บเล็ตพีซี” การศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 จะให้ความสาคัญกับการบวนการ เรียนรู้มากกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรงเป็นผู้ให้คาปรึกษา อานวยความสะดวก ออกแบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนฝึกการค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต แท็บ เล็ ตพีซีเป็ นเครื่องมือหนึ่งที่ผู้ เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูล ที่ต้องการได้ง่าย รวดเร็ว [11] และมีคุณลักษณะที่เหมาะสมที่ช่วยในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แท็บเล็ตพีซีเป็นได้ทั้งสื่อและเครื่องมือมือหรับใช้ในการเรียนการสอน หากนาไปใช้เป็นเครื่องมือ จะ อยู่ในรูปแบบ mWBI [12] คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บน แท็บเล็ตพีซีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เนื้อหาวิชาจะถูกโหลดจากอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ html5 ผู้เรียนจะทากิจกรรมสื่อ การเรียนรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์บนเครือข่าย แต่ในบริบทประเทศไทยแล้ว แท็บเล็ ตพีซีจะเป็นสื่อสาหรับใช้ใน การเรียนการสอนแบบ mCAI [12] ซึ่งเนื้อหาวิชาถูกบรรจุไว้ในรูปแบบ mobile application และนาไปติดตั้ง ลงบนแท็บเล็ตพีซี ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหาได้เลยโดยไม่ต้องรอการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การจัดการเรียนรู้ จะเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตภาพศึกษา (Individual Learning) โดยผู้เรียนจะเรียนรู้ตามความสนใจและความ พร้อมของตนเอง จะเห็นได้ว่าสื่อการสอนแบบ mCAI นั้น เป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่สะดวกต่อการใช้งานทั้งผู้สอนและ ผู้เรียนทั้งในสังคมเมืองและสังคมชนบทที่ห่างไกล อันเป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาได้ อย่างดียิ่ง แต่ถ้าหากรัฐบาลสนับสนุนการจัดระบบโครงสร้างพื้นฐานให้กับสถานศึกษา ให้สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ความเร็วสูงได้ ปรับลักษณะของอุปกรณ์แท็บเล็ตให้เหมาะสมกับการสืบค้นข้อมูล ก็ยิ่งจะช่วยทาให้ผู้เรียน บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในยุคดิจิตอล การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย ในการเตรียมความพร้อมสาหรับการนาแท็บเล็ตไปปรับใช้ในการศึกษาตามโครงการของรัฐบาล ผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องในด้านต่างๆ ต้องมีการเตรียมตัวเพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนสอนสอนด้วยแท็บเล็ตประสบ ความเร็จ โดยแบ่งการปรับความพร้อมเป็นด้านต่างๆ [13] ดังนี้ ด้านหน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรจัดตั้งหน่วยงานในระดับเขตพื้นที่การศึกษาในการให้บริการ ประสานงาน ซ่อมบารุง และเก็บ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ ซึ่งควรประกอบด้วยผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงผู้ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอน ทาหน้าที่คณะกรรมการของหน่วยงาน ด้านสภาพแวดล้อม/โครงสร้างพื้นฐาน/ การใช้งานแท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอนนั้น สามารถใช้งานได้ 2 ลักษณะดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น คือ แบบ mCAI และแบบ mWBI หรือแบบออฟไลน์และแบบออนไลน์นั้นเอง ซึ่ง mCAI เป็นการใช้แท็บเล็ตพีซีใน
  • 6. 6 การเรียนการสอนโดยบรรจุบทเรียนสาเร็จรูปและสื่อมัลติมีเดียไว้ในแท็บเล็ต เพื่อให้ผู้เรียนใช้ในการเรียนรู้โดย ไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ส่วนการใช้งานแบบ mWBI เป็นการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือในการ สืบค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ ซึ่งจาเป็นต้องเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต ไร้สายความเร็วสูง ดังนั้น สถานศึกษาจึงต้องวางโครงสร้างระบบอินเตอร์เน็ตไร้สายให้ครอบคลุมพื้นที่ โดยมีความเร็วมากพอในการ ดาวน์โหลดและอัพโหลด และต้องมีจุดปลั๊กไฟสาหรับชาร์ทแบตเตอรี่ที่เพียงพอ ด้วยข้อจากัดด้านโครงสร้าง พื้นฐานของสถานศึกษา และตัวอุปกรณ์แท็บเล็ต จึงทาให้ประเทศไทยใช้แท็บเล็ตพีซีในการจัดการเรียนการ สอนแบบ mCAI เท่านั้น นอกจากนี้ ต้องมีการเตรียมผู้สอนทั้งด้านความสามารถในการใช้แท็บเล็ ต และการออกแบบการ จัดการเรียนการสอนผ่านแท็บเล็ต โดยการอบรม ให้ความรู้แก่ผู้สอน รวมทั้งนิเทศติดตามการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ ประเมินผล ดูแลรักษา และออกแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสูงสุดต่อผู้เรียน ปัจจุบันรัฐบาลมอบหมายให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ จัดการอบรมการใช้งานแท็บเล็ตพีซีให้แก่ผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรียบร้อยแล้ว แต่ในปีการศึกษา 2556 ซึ่งผู้เรียนได้เลื่อนชั้นไปยังชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ยังไม่มีการจัดการอบรมการใช้แท็บเล็ตในการจัดการ เรียนการสอนให้แก่ผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 แต่อย่างใด ด้านผู้เรียน การเตรียมความพร้อมของผู้เรียนถือว่ามีความสาคัญอย่างมากในการใช้งานแท็บเล็ตพีซี เนื่องจาก นโยายที่ให้ผู้เรียนสามารถนาแท็บเล็ตไปใช้นอกสถานศึกษาได้ โดยใช้วิธียืมและส่งคืนเมื่อจบการศึกษาหรือย้าย สถานศึกษา ดังนั้นต้องปลูกฝังผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบในการใช้งาน รววมทั้งต้องรู้จักการบารุงรักษาเครื่อง อย่างถูกวิธี ในบริบทประเทศไทยการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเป็นหน้าที่ของผู้สอนในการฝึกทักษะการใช้ งาน และการดูแลรักษา ด้านผู้ปกครอง/ชุมชน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนสาคัญอย่างมากในการกากับดูแลการใช้งานของผู้เรียนในปกครอง ดังนั้น ควรมีการประชุมชี้แจงทาความเข้าใจหลักการ เป้าหมาย การใช้งานที่ถูกวิธี การบารุงรักษา รวมถึงความ รับผิดชอบต่อเครื่องแท็บเล็ตพีซี เมื่อเกิดความเสียหายหรือสูญหาย ในประเทศไทยการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาในการประชุมชี้แจงทาความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว ด้านนโยบายรัฐบาล แผนการจัดการเรียนรู้ถือว่าเป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ประสบความสาเร็จ ซึ่งปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนจัดการเรียนรู้ด้วยแท็บเล็ตพีซี และจัดส่งให้ทุกสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอน ผู้รับผิดชอบนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ทันที โดยกระทรวงศึกษาธิการได้วางรูปแบบการใช้แท็บ เล็ตพีซีเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก เพื่อเป็นต้นแบบในการนาเอาไปปรับใช้ [14] ดังนี้
  • 7. 7 1) รูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซีเบื้องต้นโดยการสอนเป็นทีม ภาพที่ 5 แสดงรูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซโดยการสอนเป็นทีม [14] ี แนวทางการใช้รูป แบบการฝึกทั กษะการใช้แท็บเล็ตพีซีโดยการสอนเป็นทีม มีแนวทางที่ สาคัญ คือ สถานศึกษาขนาดเล็กที่อยู่ใกล้กันมาจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ลดปัญหาการขาดแคลนผู้สอน และ อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยคัดเลือกผู้สอนที่มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซี ที่ดีที่สุดให้เป็นผู้สอนหลัก ส่วนผู้สอนท่านอื่นมีบทบาทในการเป็นผู้สอนผู้ช่วยจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาที่เป็น สถานที่ ท าการเรี ย นการสอนต้ อ งจั ด เตรี ย มสื่ อ อุ ป กรณ์ ใ ห้ พ ร้ อ มสมบู ร ณ์ อาจเป็ น ความร่ ว มมื อ ของทุ ก สถานศึกษาที่ดาเนินการเรียนการสอนร่วมกัน เช่น เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์ เครื่องฉายทึ บแสง เอกสารคู่มือ เป็นต้น โดยดาเนินเตรียมความพร้อมสาหรับผู้เรียนก่อนเป็นอันดับแรก ได้แก่การฝึกทักษะการใช้งานเบื้องต้น การใช้บารุงรักษาเครื่อง และการสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนด้วยแท็บเล็ตพีซี 2) รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการจัดการเรียนรู้ (ปกติ) ภาพที่ 6 แสดงการจัดการเรียนรูโดยใช้รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการจัดการเรียนรู้ [14] ้ แนวทางการใช้รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการเรียนรู้ มีแนวทางที่สาคัญ คือ ใช้แท็บ เล็ตเป็นสื่อในการเรียนรู้ ผู้สอนต้องปรับแผนจัดการเรียนรู้ใหม่โดยนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้เป็นสื่อการเรียนการ สอน ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งขั้นนาเข้าสู่บทเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ บทเรียนที่บรรจุอยู่ในแท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อ ขั้นสรุปโดยใช้แอพพลิเคชั่นในการสรุปสาระสาคัญที่เรียนรู้ไปแล้ว ขั้น การฝึกทักษะสามารถใช้แอพพลิเคชั่นเป็นแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ช่วยฝึกทักษะที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว 3) รูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซีแทนสื่อและอุปกรณ์การสอน รูปแบบการฝึกทักษะการใช้แท็บเล็ตพีซีแทนสื่อและอุปกรณ์การสอนนี้เน้นการใช้แท็บเล็ตพีซี แทนสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ เช่น การใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอน
  • 8. 8 วิชาดนตรี การใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นอุปกรณ์เครื่องเขียนในการวาดภาพระบายสีในวิชาศิลปศึกษา การใช้แท็บเล็ต พีซีเป็นอุปกรณ์เขียนคาตอบจากโจทย์ปัญหาต่างๆ เป็นต้น 4) รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นแหล่งการเรียนรู้ ภาพที่ 7 แสดงการจัดการเรียนรู้ทยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซเี ป็นแหล่งการเรียนรู้ [14] ี่ แนวทางเป็นรูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นแหล่งการเรียนรู้ สาหรับการจัดการเรียนรู้ที่ยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งเป็นการเรียนการสอนตามกระบวนวิจัย กระบวนการ ทางวิ ท ยาศาสตร์ และกระบวนการแก้ ปั ญ หา ตามแนวคิ ด ที่ ผู้ เ รี ย นสามารถสร้ างความรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง (Constructivism) โดยผู้เรียนจะเรียนรู้ด้วยสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง (Inquiry Learning & Self Directed Learning) ซึ่งในขั้นตอนการค้นคว้านั้น ผู้เรียนสามารถใช้แท็บเล็ตพีซีในการเป็นเครื่องมือในการ สืบค้นข้อมูล รวมถึงการบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 5) รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อการสอนซ่อมเสริม ภาพที่ 8 รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นสื่อซ่อมเสริม [14] ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องให้ความสาคัญ ดังนั้นผู้เรียนในห้องเรียนจะมี ทั้งผู้เรียนที่เรียนเก่งและผู้เรียนที่เรียนอ่อน ผู้สอนต้องช่วยปรับปรุงผู้เรียนที่เรียนอ่อนและจัดกิจกรรมส่ งเสริม ผู้เรียนที่เรียนเก่ง การซ่อมเสริมแบบนี้อาจเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการขึ้นอยู่กับนโยบายและบริบทของ สถานศึกษา อาจใช้เวลาช่วงพักกลางวัน หลังเลิกเรียน หรือจัดชั่วโมงเรียนซ่อมเสริมโดยเฉพาะ ผู้สอนสามารถ
  • 9. 9 ใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนซ่อ มเสริม โดยอาศัยบทเรียนที่บรรจุอยู่ในแท็บเล็ตพีซี เป็นสื่อการเรียนการสอน รูปแบบการสอนดังกล่าว เป็นเพียงแนวทางที่ผู้สอนจะนาไปใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนด้วยการใช้แท็บเล็ตพีซี โดยที่ผู้สอนสามารถนารูปแบบต่างๆ เหล่านี้ ไปปรับใช้ให้เหมาะสม กับสภาพ และบริบทในชั้นเรียนของตน เพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ต่อไป ผลลัพธ์ที่ปรากฏ ผลการวิจัยการใช้ Tablet ในสถานศึกษา มีงานวิจัยจานวนมากเกี่ยวกับการศึกษาการนาแท็บเล็ตไปใช้ในการเรียนการสอน ทั้งในรูปแบบของ เครื่องมือสืบค้น และสื่อการเรียนรู้ กรณิการ์ ชูตระกูลธรรม [15]21 ได้พัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรีไทยบนแท็บ เล็ตระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยโปรแกรมประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 ชนิด คือ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม และฆ้องวงใหญ่ ซึ่งผู้ใช้ส ามารถเล่ นพร้อมกับเสี ยงเครืองประกอบจังหวะ มีโน้ตเพลงดนตรีไทยที่ผู้ ใช้งาน สามารถฟัง เพลงตัว อย่ างได้แ ละประวั ติข องเครือ งดนตรี แต่ ล ะชนิ ด จากการประเมิ นความพึ งพอใจของ โปรแกรมของผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้งาน พบว่าอยู่ในระดับมาก จิราพร กตารัตน์ [16]22 ศึกษาการใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอนของข้าราชการผู้สอนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 พบว่า ในภาพรวมการใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียน การสอนของข้าราชการผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองคาย เขต 1 จัดอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการใช้ แท็บเล็ตเพื่อ การบริหารจัดการเรียนรู้ ณัฐพร ทองศรี [17]23 ทาการศึกษาความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของผู้ สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี ผลการศึกษา พบว่าผู้สอนมีความตั้งใจใช้แท็บเล็ตในการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2555 อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัย ภายนอกที่มีอิทธิพลต่อระดับความตั้งใจใช้แท็บเล็ตมากที่สุดคือ อิทธิพลทางสังคม นาชัย โบราณมูล [18]25 ได้พัฒนาหลักสูตรอบรมการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างสเปรดชีทด้วยแอพพลิเคชั่น Numbers สาหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า หลักสูตรอบรมที่ พัฒนาขึ้น มีคุณภาพในระดับเหมาะสมมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรอบรมโดยมี คะแนนหลัง อบรมสูงและก่อนอบรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรอบรมฯ อยู่ในระดับมากที่สุด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 [19]26 ศึกษาความสาเร็จของการใช้ Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึ กษาปีที่ 1 ปี 2555 ผลการศึกษาพบว่า ผู้สอนร้อยละ 75.5 มีความคิดเห็นว่าผู้เรียนเรียนภาษาอังกฤษได้ดีขึ้นและเร็วขึ้น ผู้เรียนร้อยละ 62.7 มีความสามารถเขียน สื่อความและจับใจความในระดับใช้ได้ ผู้เรียนร้อยละ 61.7 เขียนภาษาอังกฤษในระดับใช้ได้ ผู้เรียนร้อยละ
  • 10. 10 52.1 พออ่านภาษาอังกฤษได้แต่ยังต้องพัฒนา ผู้เรียนร้อยละ 96.7 รู้สึกว่าแท็บเล็ตมีประโยชน์ ผู้เรียนร้อยละ 81.3 เห็นว่าแท็บเล็ตใช้ง่าย ผู้เรียนร้อยละ 97.6 ชอบแท็บเล็ต ผู้สอนร้อยละ 92.5 ชอบใช้แท็บเล็ตในการสอน ผู้สอนร้อยละ 94.9 รู้สึกว่าแท็บเล็ตมีประโยชน์หลายอย่าง ผู้สอนร้อยละ 94.8 เห็นว่าแท็บเล็ตสนับสนุนและกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน จักรพล เร่บ้านเกาะ [20]27 พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่ใช้บนคอมพิวเตอร์พกพา หน้าจอสัมผัสในวิชางานหลอมหล่อเครื่องประดับ เรื่องการหล่อโลหะ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่ม ตัวอย่างผู้ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้เรียนมี ความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับดี จากผลการศึกษาวิจัยการนาแท็บเล็ตพีซีไปใจในการจัดการเรียนการสอนพบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่มี ผลสัมฤทธิ์สูงขึน เนื่องด้วยอิทธิพลทางสังคมเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อระดับความตั้งใจในการใช้แท็บเล็ต ทั้ง ้ ยังมีการพัฒนาหลักสูตรการอบรมผู้สอนที่มีคุณภาพให้สามารถใช้แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอน อย่างไร ก็ตามควรคานึงถึงผลกระทบที่จะตามมาหลังจากการนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการเรียนการสอนด้วย ผลกระทบจากการใช้แท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอน ในการใช้แท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอน มีผลกระทบในด้านต่างๆ [21] ดังนี้ ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงบวกจาการใช้แท็บเล็ตพีซีในการเรียนการสอนต่อตนเอง ครอบครัว สถานศึกษา และต่อสังคม อาทิเช่น แท็บเล็ตเป็นเทคโนโลยีที่จะช่วยสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาให้กับเด็ก เป็นการ เปิดโลกทัศน์ให้เด็กๆ ได้ศึกษาวัฒนธรรมต่างแดนผ่านอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา สามารถเรียนรู้ภาษาด้วย การใช้เป็นวิดีโอแชทกับชาวต่างชาติเพื่อฝึกภาษาอังกฤษโดยไม่ต้องเขินอายเหมือนกับการสื่อสารต่อหน้า ทาให้ การเรียนเป็นเรื่องสนุกและเข้าใจง่ายขึ้น แตกต่างจากการเรียนจากหนังสือซึ่งไม่น่าสนใจและเข้าใจยากกว่า ทา ให้ผู้สอนสามารถเข้าถึงรูปภาพ วีดิโอคลิป และข้อมูลข่าวสารจากทั่วโลก เพื่อใช้สร้างบทเรียนที่น่าสนใจให้แก่ ผู้เรียน ผลกระทบเชิงลบ การน าแท็ บ เล็ ต พีซี ม าใช้ ในการจั ด การเรีย นการสอนอาจส่ ง ผลกระทบเชิ งลบต่อ ผู้ เรี ย นได้ อาทิ เช่น อาจมีผู้เรียนจานวนมากติดอินเทอร์เน็ต เด็กจะอยู่คนเดียว เล่นคนเดียว หรือเล่นกับเพื่อนสองสามคน ขาดการมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมกับผู้อื่น ขาดหรือออกกาลังกายน้อยลง มีปัญหาเรื่องสายตาสั้น มีปัญหาด้าน สุขภาพ และทาให้เด็กคุ้นเคยกับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ จนอาจทาให้ติดและทาให้ส่งผลต่อผลการเรียน ปัญหาและอุปสรรค นโยบายของรัฐบาลในการจัดสรรแท็บเล็ตพีซีนับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการปฏิวัติการเรียนรู้ของ ผู้เรียนไทย เพียงแต่อาจเกิดปัญหาตามมาหลังจากที่มีการแจก Tablet ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การเรียนการสอนโดยใช้แท็บเล็ตพีซีอาจไม่จาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ แต่จาเป็นต้องมี แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ น าแท็ บ เล็ ต พี ซี ม าใช้ เ ป็ น สื่ อ หรื อ เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย นการสอน ซึ่ ง ขณะนี้ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ จั ด ท าแผนจั ด การเรี ย นรู้ จ ากส่ ว นกลางส่ ง ให้ ทุ ก สถานศึ ก ษา เพื่ อ ให้ ผู้ ส อนชั้ น
  • 11. 11 ประถมศึกษาปีที่ 1 นาไปใช้จัดการเรียนการสอน แต่มีข้อสังเกตคือแผนจัดการเรียนรู้นี้ยืดหยุ่นพอหรือไม่ใน การใช้จัดการเรียนการสอนในบริบทที่แตกต่างกันของแต่ละสถานศึกษา 2. ผู้สอนยังขาดทักษะการใช้อุปกรณ์ Tablet เพื่อการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่ผู้เรียนมีความ พร้อมที่จะเรียน [10] 3. เมื่อผู้เรียนเลื่อนชั้น เนื้อหาบทเรียนในชั้นเดิมจะถูกลบเพื่อใส่เนื้อหาบทเรียนในชั้นใหม่เข้าไป เนื่องจากเนื้อที่การจัดเก็บข้อมูลของแท็บเล็ตมีจากัด ทาให้ผู้เรียนไม่สามารถกลับมาทบทวนเนื้อบทเรียนเดิมได้ 4. ภาระด้านการบารุงรักษา การแก้ปัญหาเรื่องอุปกรณ์ และการใช้งานเป็นภาระของสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อหมดระยะประกัน [22] 5. อุปกรณ์แท็บเล็ตเปลี่ยนรุ่นเร็วมาก ดังนั้นแท็บเล็ตที่จัดหามาแจก ควรมีมาตรฐานรองรับสื่อ บทเรียนและแอพพลิเคชั่นที่เกิดขึ้นใหม่ ในขณะที่ด้านเทคนิคก็พบปัญหามากมาย เช่น แบตเตอรี่หมดเร็ว ใช้ งานได้ติดต่อกันน้อยกว่า 1 ชั่วโมง เครื่องร้อน โดยสถานศึกษาหลายแห่งเสนอให้ส่วนกลางจัดสรรงบประมาณ การจัดซ่อมบารุงแท็บเล็ต และสารองเครื่องเพื่อรองรับปัญหา แต่ก็ยังไม่ได้รับการจัดการมากนัก 6. ด้วยข้อจากัดของอุปกรณ์ที่มีขนาดหน้าจอ 7 นิ้ว ซึ่งเล็กเกินไปสาหรับการอ่านข้อความจากเว็บไซต์ การสัมผัสที่ไม่ลื่นไหล ระบบอินเตอร๋เน็ตของสถานศึกษาไม่เร็วและเสถียรพอ จึงเป็นการยากที่จะใช้แท็บเล็ต พีซีเป็นเครื่องมือในการสืบค้น จากงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการศึกษาทัศนคติของผู้เรียนหรือผู้สอน การพัฒนาแอพพลิเคชั่น บทเรียน แต่ยังขาดงานวิจัยที่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเมื่อนาแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน เพื่อยืนยันว่าแท็บเล็ตสามารถช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ซึงผลด้านลบจากการใช้แท็บเล็ต ในการเรียนการสอนจึงเป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องพึงตระหนักและให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก แนวทางและความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา จากการที่กระทรวงศึกษาธิการได้ใ ห้ ส ถานศึกษาจัดการเรีย นการสอนโดยใช้แท็บเล็ ตพีซีเป็นสื่ อ ประกอบการเรียนการสอน สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มาระยะหนึ่ง พบว่ามีหลายประเด็นปัญหาใน การใช้ งานที่ เป็ น อุป สรรคต่อ การจั ด การเรี ย นการสอน ไม่ว่า จะเป็ นเครื่ องแท็บ เล็ ตพี ซีเ อง บทเรี ยนหรื อ แอพพลิเคชั่น โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา ทักษะการใช้งานของผู้สอนและ ผู้เรียน หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้โดยใช้เครื่องแท็บเล็ตพีซีเป็นฐาน สิ่งต่างๆ เหล่านี้ทาให้การจัดการเรียนการสอนไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร คณะผู้เขียนจึงได้เสนอข้อเสนอแนะให้รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปพิจารณาปรับปรุง แก้ไขโครงการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนี้ [10] 1) รัฐบาลควรสนับสนุนงบประมาณในการจัดโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับ สถานศึกษาโดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยู่ในชนบทห่างไกล ให้สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 12. 12 2) สถานศึกษาต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นฐาน (Tablet Based Learning) เช่น ระบบกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สาย อุปกรณ์ชาร์ตแบตเตอรี่ จุดติดตั้งปลั๊กไฟใน ห้องเรียน โปรเจคเตอร์ และระบบเสียง เป็นต้น 3) หากเป็ น ไปได้ส ถานศึก ษาควรจัดให้ มี ห น่ว ยงานรับผิ ดชอบด้ านเทคโนโลยี ส ารสนเทศของ สถานศึกษาโดยเฉพาะ เพื่อช่วยในการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในให้มีประสิทธิภาพ 4) ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและประสิทธิภาพของเครื่องแท็บเล็ตพีซีที่ เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละระดั บ เช่น ขนาดหน้าจอ ความสว่างของหน้าจอ ระยะเวลาการใช้ งานของแบตเตอรี่ พอร์ตเชื่อมต่อที่จาเป็น สเปคของเครื่อง ความทนทาน ความปลอดภัยในการใช้งาน เป็นต้น 5) ควรทดลองใช้กับกลุ่มทดลองก่อน เพื่อศึกษาผลกระทบ ผลลัพธ์ ปัญหาจากการใช้งาน รวมถึง ประเมินความคุ้มค่า และนาผลการศึกษามาปรับปรุงแก้ไขการใช้งานแท็บเล็ตพีซีเพื่อการเรียนการสอนห้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด 6) ควรมีการพัฒ นาผู้ สอนให้ ส ามารถใช้แท็บเล็ ตพีซีเป็นสื่ อประกอบการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ผู้สอนสามารถพัฒนาบทเรียนหรือแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี พัฒนาแผนจั ดการ เรียนรู้ให้ตรงกับบริบทของสถานศึกษาและตรงกับความต้องการของผู้เรียน รวมทั้งรู้วิธีการดูแลรักษาแท็บเล็ต พีซีอย่างถูกต้องและเหมาะสม 7) สร้างแรงกระตุ้นให้ผู้สอนพัฒนาแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้แท็บเล็ตพีซีเป็นฐาน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดทักษะที่สาคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมยุคศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีความสุข 8) ควรมีการฝึกทักษะการใช้งานแท็บเล็ตพีซีให้กับผู้เรียน ทั้งการใช้งานเบื้องต้น การเข้าถึงและเรียนรู้ บทเรียน การสืบค้นข้อมูลความรู้จากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการใช้งานที่ถูกวิธี การวางแผน การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การศึกษาวิจัยในเรื่องของผลกระทบให้รอบด้าน ทั้งผู้สอน ผู้เรียน และการทาความเข้าใจกับผู้ปกครองเป็นสิ่งสาคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัย สาคัญที่จะทาให้โครงการประสบความสาเร็จ สาหรับสถานศึกษาที่มีความพร้อมในทุกด้านแล้ว ควรคานึงถึง การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ การกากับดูแลการใช้งานของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใช้ แท็บเล็ตพีซีได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดจนทักษะที่บุคคลในศตวรรษที่ 21 พึงมี อีกทั้งยังเป็นการลดผลกระทบด้านลบที่จะเกิดขึ้นอีกด้วย
  • 13. 13 อ้างอิง [1] William J. Schroer. (ม.ป.ป.). Generations X,Y, Z and the Others. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.socialmarketing.org/newsletter/features/generation3.htm เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 [2] วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์. สืบค้นข้อมูล จาก http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf. เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 [3]8 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395. เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 [4] โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย. (2554). ความเป็นมา. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.otpc.in.th/aboutus.html. เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 [5] แท็บเล็ต (Tablet) คือ อะไร. (2553). สืบค้นข้อมูลจาก http://www.tabletd.com/articles/289 เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 [6] Microsoft Store. (2013). Microsoft Surface for Windows RT. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.microsoftstore.com/store/msapac/th_TH/pdp/productID.283878300 เข้าถึง เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [7] Apple Store. (2013). iPad with Retina and iPad mini. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.apple.com/th/ipad/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [8] Samsung Stroe. (2556). Galaxy Tab3 10.1. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.samsung.com/th/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [9] Asus Store. (2556). แท็บเล็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่เอซุส. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.asus.com/th/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [10] สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2555). แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา : โอกาสและความท้าทาย (Tablet for Education : The Opportunity and Challenge). สืบค้นข้อมูลจาก www.kan1.go.th/tablet-foreducation.pdf เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 [11] "แท็บเล็ต" (Teblet) เพื่อการศึกษา. (ออนไลน์). (2556). สืบค้นข้อมูล จาก http://chompoonikkampan.blogspot.com/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [12] ภาสกร เรืองรอง. (2556). การพัฒนาบทเรียนบท Tablet PC. โรงพิมพ์พรทิชา กรุงเทพ. [13] ศูนย์บริการ ICT สพป.ยโสธรเขต 2. (2556). สรุปผลการปฏิบัติงานการดาเนินการแท็บเล็ตเพื่อ การศึกษาไทย ระยะที่ 1. สืบค้นข้อมูล จาก http://202.143.189.100/otpc/onweb/salub.pdf. เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556
  • 14. 14 [14] กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). รูปแบบการใช้แท็บเล็ตพีซีเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียนสาหรับโรงเรียน ขนาดเล็ก. สืบค้นข้อมูล จาก http://www.sepkpt1.net/onechildok/file_onechildOK/01_Tablet_PC_09_2555.pdf เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 [15] กรณิการ์ ชูตระกูลธรรม. (2555). วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ . สืบค้นข้อมูลจาก http://dcms.thailis.or.th/dcms/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=32 5161&query=Array&s_mode=Array&date_field=date_create&date_start=2552&date_end =2556&limit_lang=&limited_lang_code=tha&order=&order_by=title&order_type=ASC&r esult_id=12&maxid=13 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [16] จิราพร กตารัตน์ (2555). วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี. สืบค้นข้อมูลจาก http://dcms.thailis.or.th/dcms/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=31 3367&query=Array&s_mode=Array&date_field=date_create&date_start=2552&date_end =2556&limit_lang=&limited_lang_code=tha&order=&order_by=title&order_type=ASC&r esult_id=7&maxid=13 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [17] ณัฐพร ทองศรี. (2555). ความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์ วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ). สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์. สืบค้นข้อมูลจาก เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [18] นาชัย โบราณมูล (2555). วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิตคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม. สืบค้นข้อมูลจาก http://dcms.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=34&RecId=3655&obj_id=35206 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 [19] สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. (ออนไลน์). (2556). ความสาเร็จของการใช้ Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2555. สืบค้นข้อมูล จาก http://otpc-cm1.blogspot.com/2013/07/tablet-1-2555.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556. [20] จักรพล เร่บ้านเกาะ. (2555). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่ใช้บนคอมพิวเตอร์พกพา หน้าจอสัมผัสในวิชางานหลอมหล่อเครื่องประดับ เรื่องการหล่อโลหะ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สืบค้นข้อมูลจาก http://202.28.199.4/tdc/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556.
  • 15. 15 [21] Tablet คืออะไร มีบทบาทอย่างไรในด้านการศึกษาของประเทศไทย. (ออนไลน์). (2556). สืบค้นข้อมูล จาก http://nipaporn27739.wordpress.com/2012/09/11/table เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556. [22] ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2554). เปิดโลก Tablet สู่ทิศทางการวิจัยด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา : จาก แนวคิดสู่กระบวนการปฏิบัติ. เอกสารประกอบการบรรยาย วันที่ 4 กันยายน 2554 ณ ม.ทักษิณ วิทยาเขตสงขลา.