SlideShare a Scribd company logo
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอก
ตัวอย่างจานวน 3 ชนิด ได้แก่ คาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 6
1. น.ส. จิตตพัฒน์ สังวรวงษ์พนา เลขที่ 4
2. น.ส. ปาลิตา นพแก้ว เลขที่ 17
3. นาย กนกชัย เล้าพรพิชยานุวัฒน์ เลขที่ 31
4. นาย ชยชล สุวัฒนรัตน์ เลขที่ 32
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 932
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ – คุณภาพชีวิต
ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของตัวอย่าง
จานวน 3 ชนิด ได้แก่ คาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ อันเป็นหนึ่งในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ของ
รายวิชาชีววิทยา 4 เรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก เป็นการฝึกเสมือนว่านักเรียนได้ทดลองใช้
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในชีวิตจริง ทั้งการทดลองผ่าดอกไม้ การศึกษาและระบุส่วนประกอบ
(label) ต่าง ๆ ของพืช เพื่อให้เห็นตัวอย่างของจริง และนามานาเสนอในรูปแบบของหนังสือเล่ม
เล็กซึ่งพกพาง่าย อ่านสะดวก สามารถให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจศึกษาได้เป็นอย่างดี
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเป็นอย่างยิ่งที่คอยให้คาแนะนาใน
การจัดทา ทั้งวิธีการทาและข้อมูลอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาทางาน
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้จะให้ความรู้และก่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็น้อย และหากหนังสือเล่มเล็กฉบับนี้มีข้อผิดพลาด
ประการใด ทางคณะผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561
หัวข้อนาเสนอ หน้า
การจัดกลุ่มโครงสร้างดอกตามลักษณะสาคัญ
1. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ คาร์เนชั่น
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 1
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 4
2. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ พุด
2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 5
2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 6
2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 7
3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ กล้วยไม้
3.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 8
3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 9
3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 10
4. คลิป VDO ประกอบการศึกษา 11
5. ภาคผนวก 12
1
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dianthus caryophyllus
วงศ์ Caryophyllaceae
ชื่อสามัญ Carnation, clove pink
ชื่ออื่น ๆ คาร์เนชั่น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพืชที่ต้องการอากาศเย็น โดยทั่วไปนิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก การเจริญเติบโตมีลักษณะแตก
เป็นกอ การปลูกในโรงเรือนที่กันฝนและแมลงได้ ในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน จะให้ดอกคุณภาพดีกว่า
ปลูกกลางแจ้ง
ใบ ใบมีสีเขียวแก่ลักษณะใบยาวปลายใบเรียวแหลม
ขอบใบทั้งสองมักจะโค้งงอเข้าหากลางใบเล็กน้อยทาให้เห็น
เป็นลักษณะคล้ายร่องน้า ใบจะออกเป็นคู่สลับ โดยใบจะหุ้ม
รอบข้อ ทาให้ตรงข้อของลาต้นมีลักษณะบวมโต
ดอก มีทั้งชนิดดอกเดี่ยวและดอกช่อ กลีบรองดอกสีเขียว รูปถ้วย กลีบดอกซ้อนฟู ขอบกลีบ
หยักเป็นแฉก สีขาว ชมพู เหลือง ส้ม แดง และขลิบขอบสีต่างๆ ดอกมีทั้งชนิดดอกซ้อนและดอกชั้น
เดียว ปลายกลีบดอกจะมีลักษณะหยัก ๆ คล้ายฟันเลื่อย กลีบหุ้มดอก มีลักษณะรวมติดกันเป็น
กรวยหุ้มกลีบดอกไว้
ผล สีน้าตาลเข้ม ผิวขรุขระไม่สม่าเสมอ
2
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
Petal กลีบดอก
Pistilเกสรเพศเมีย
Ovules ไข่
Sepal กลีบเลี้ยง
Stigma ยอดเกสรเพศเมีย
Style ก้านเกสรเพศเมีย
Ovary รังไข่
Filament ก้านเกสรเพศผู้
Anther อับเรณู
Stamenเกสรเพศผู้
3
ภาพประกอบเพิ่มเติม
Pistil เกสรเพศเมีย
Sepal กลีบเลี้ยง
Ovary รังไข่
Ovule ไข่
Stamen เกสรเพศผู้
Petal กลีบดอก
Filament ก้านเกสรเพศผู้
Anther อับเรณู
Stigma ยอดเกสรเพศเมีย
Style ก้านเกสรเพศเมียStigma ยอดเกสรเพศเมีย
Style ก้านเกสรเพศเมีย
4
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
Petal กลีบดอก
Sepal กลีบเลี้ยง
Stigma ยอดเกสรเพศเมีย
Style ก้านเกสรเพศเมีย
Ovary รังไข่
Ovules ไข่
Filament ก้านเกสรเพศ
5
2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Wrightia antidysenterica (L.) R. Br.
วงศ์ Apocynaceae
ชื่อสามัญ Coral swirl, Snowflake, Milky way, Winter cherry
tree, Arctic snow, Kutaja, Pudpitchaya, Sweet indrajao,
Hyamaraca, Angel White
ชื่ออื่น ๆ อิดด้า
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้พุ่มขนาดกลาง ความสูง 1-2 เมตร ลาต้นและกิ่งก้านสีน้าตาลแดง ลักษณะเรียบ มียางสีขาว
ขุ่น
ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบ
เรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน
ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว ช่อละ 5-6 ดอก ดอก
บานเต็มที่ขนาด 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนปนเหลือง โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ
ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรตรงกลางสีเหลือง มีรยางค์เป็นแผ่นรูปแถบแข็ง ปลายแยกเป็นริ้ว 2-5 ริ้ว
ออกดอกตลอดปี
6
2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
Sepal กลีบเลี้ยง
Petal กลีบดอก
Stamen เกสรเพศผู้
Stigma ยอดเกสรเพศเมีย
Pedicles ก้านดอกย่อย
Peduncle ก้านดอก
Ovary รังไข่
7
2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
Sepal กลีบเลี้ยง
Style ก้านเกสรเพศเมีย
Stigma ยอดเกสรเพศเมีย
Stamen เกสรเพศผู้
Petal กลีบดอก
Pedicles ก้านดอกย่อย Peduncle ก้านดอก
8
3.1. ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dendrobium Earsakul
วงศ์ Orchidaceae
ชื่อสามัญ Orchid
ชื่ออื่น กล้วยไม้ เอื้อง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีลักษณะการเจริญเติบโตแบบซิมโพเดียล คือ เป็นกล้วยไม้ที่มีลาลูกกล้วย
เมื่อลาต้นเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะแตกหน่อเป็นลาต้นใหม่และเป็นกอ
ใบ ใบเรียงสลับกันหรือเรียงซ้อนทับกัน ใบเดี่ยว แบนแข็งหนา สีเขียว เส้นใบขนานกันไปตาม
ความยาวของใบ
ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกเรียงสลับ 6-8 คู่ ปลายคี่ กลีบเลี้ยง3 กลีบ สีเดียวกับ
กลีบดอก แต่สีเข้มกว่าเล็กน้อย กลีบดอก 5 กลีบ มักมี 3 สีภายใน 1 ดอก มีกลีบดอก 1 กลีบเปลี่ยน
รูปร่างไปเนื่องจากมีเกสรเพศผู้ และยอดเกสรเพศเมียลดรูปมารวมอยู่ด้วยกัน มีลักษณะเป็นปาก
(labellum) มีสีเข้มเด่นชัดกว่ากลีบอื่นๆ
ผล ผลเป็นฝักสีเขียว เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ภายในมีเมล็ดจานวนมาก
9
3.2. องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
Pedicles ก้านดอกย่อย
Peduncle ก้าน
ดอก
Ovary รังไข่Pollinia ก้อนเรณูColumn เส้าเกสร
Petal กลีบดอกชั้นใน
Labelum กลีบปาก
Lateral sepal
กลีบเลี้ยงชั้นนอกคู่ล่าง
Dorsal sepal
กลีบเลี้ยงชั้นนอกกลีบบน
Stigma ยอดเกสรเพศเมีย
Petaloid calyx กลีบเลี้ยงสวยงาม
10
3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
Petaloid calyx กลีบเลี้ยงสวยงาม
Dorsal sepal
กลีบเลี้ยงชั้นนอกกลีบบน
Lateral sepal
กลีบเลี้ยงชั้นนอกคู่ล่าง
Petal กลีบดอกชั้นใน
Pollinia ก้อนเรณู
Pedicles ก้านดอกย่อย
Column เส้าเกสร
Pollinia ก้อนเรณู
11
Link Youtube : https://www.youtube.com/watch?v=eF6D92ll9Mo&t=6s
12
13
คณะนักเรียนผู้จัดทา
น.ส. จิตตพัฒน์ สังวรวงษ์พนา
ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 4
น.ส. ปาลิตา นพแก้ว
ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 17
นาย ชยชล สุวัฒนรัตน์ ชั้น ม.5
ห้อง 932 เลขที่ 32
นาย กนกชัย เล้าพรพิชยานุวัฒน์
ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 31
ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
14
Ahmad Fuad Morad. Wrightia antidysenterica (L.) R. Br. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.flickr.com/photos/adaduitokla/30320639985. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 19
พฤศจิกายน 2561).
Dianthus caryophyllus. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/dx15AZ. (วันที่สืบค้นข้อมูล :
17 พฤศจิกายน 2561).
Elisa Hubbard. (2550). Flower Anatomy. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.microscopy-
uk.org.uk /mag/artnov07macro/flower_anatomy/index.htm. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17
พฤศจิกายน 2561).
กัญฐภา ชุมวรฐายี. ส่วนประกอบของดอกกล้วยไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://goo.gl/MnS5De. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561).
ชาริยา เพ็ชรไทย. ดอกคาร์เนชั่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/meaningflowersss/home/dxk-klwymi. (วันที่สืบค้น
ข้อมูล : 22 พฤศจิกายน 2561).
คาร์เนชั่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/kHjXQ9. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561).
คาร์เนชั่น(Carnation). (2556). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/LL257i. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17
พฤศจิกายน 2561).
ดอกคาร์เนชั่น ( Carnation ). (2555). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/nKisyE. (วันที่สืบค้นข้อมูล
: 17 พฤศจิกายน 2561).
15
พุดพิชญา. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=jitigan77&group=29. (วันที่สืบค้น
ข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561).
พุดพิชญา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://book.baanlaesuan.com/plant-library/indrajao_winter/.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561).
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). พืชวงศ์กล้วยไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
: http://biology.ipst.ac.th/?p=3350. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561).
สานักงานหอพรรณไม้. (2560). สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://goo.gl/fyd4t1. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561).
Γιάννης Νικόλης. (2556). Carnation stamen. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.flickr.com/photos/ioannis_nicolis/9622423165. (วันที่สืบค้น
ข้อมูล : 22 พฤศจิกายน 2561).

More Related Content

What's hot

การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
Z-class Puttichon
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
Thitaree Samphao
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
SuwattanaSonsang
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
พัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

Similar to การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง932 กลุ่มที่6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
dijchanokbunyaratave
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
dijchanokbunyaratave
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
NarubordinPremsri
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
Thanutham Chaipanthaset
 
Mini5
Mini5Mini5
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
JiradaAke
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
ditdanaipataradool
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
Maimai Pudit
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
PhatharawarongChiera
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
MetawadeeNongsana
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
PhatharawarongChiera
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ssuser9ded021
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
BhuritNantajeewarawa
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
ParitaraVanichanon
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
PattriyaTowanasutr
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
ParitaraVanichanon
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
manidabhonsawanwong
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
PimlapusBoonsuphap
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
sathitauerpairojkit
 

Similar to การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง932 กลุ่มที่6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (20)

การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
Mini5
Mini5Mini5
Mini5
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 

การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห้อง932 กลุ่มที่6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

  • 1. หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอก ตัวอย่างจานวน 3 ชนิด ได้แก่ คาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 6 1. น.ส. จิตตพัฒน์ สังวรวงษ์พนา เลขที่ 4 2. น.ส. ปาลิตา นพแก้ว เลขที่ 17 3. นาย กนกชัย เล้าพรพิชยานุวัฒน์ เลขที่ 31 4. นาย ชยชล สุวัฒนรัตน์ เลขที่ 32 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 932 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ – คุณภาพชีวิต ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
  • 2. หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ คาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ อันเป็นหนึ่งในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ของ รายวิชาชีววิทยา 4 เรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก เป็นการฝึกเสมือนว่านักเรียนได้ทดลองใช้ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในชีวิตจริง ทั้งการทดลองผ่าดอกไม้ การศึกษาและระบุส่วนประกอบ (label) ต่าง ๆ ของพืช เพื่อให้เห็นตัวอย่างของจริง และนามานาเสนอในรูปแบบของหนังสือเล่ม เล็กซึ่งพกพาง่าย อ่านสะดวก สามารถให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจศึกษาได้เป็นอย่างดี คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเป็นอย่างยิ่งที่คอยให้คาแนะนาใน การจัดทา ทั้งวิธีการทาและข้อมูลอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาทางาน คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้จะให้ความรู้และก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็น้อย และหากหนังสือเล่มเล็กฉบับนี้มีข้อผิดพลาด ประการใด ทางคณะผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561
  • 3. หัวข้อนาเสนอ หน้า การจัดกลุ่มโครงสร้างดอกตามลักษณะสาคัญ 1. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ คาร์เนชั่น 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 1 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 4 2. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ พุด 2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 5 2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 6 2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 7 3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ กล้วยไม้ 3.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 8 3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 9 3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 10 4. คลิป VDO ประกอบการศึกษา 11 5. ภาคผนวก 12
  • 4.
  • 5. 1 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Dianthus caryophyllus วงศ์ Caryophyllaceae ชื่อสามัญ Carnation, clove pink ชื่ออื่น ๆ คาร์เนชั่น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพืชที่ต้องการอากาศเย็น โดยทั่วไปนิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก การเจริญเติบโตมีลักษณะแตก เป็นกอ การปลูกในโรงเรือนที่กันฝนและแมลงได้ ในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน จะให้ดอกคุณภาพดีกว่า ปลูกกลางแจ้ง ใบ ใบมีสีเขียวแก่ลักษณะใบยาวปลายใบเรียวแหลม ขอบใบทั้งสองมักจะโค้งงอเข้าหากลางใบเล็กน้อยทาให้เห็น เป็นลักษณะคล้ายร่องน้า ใบจะออกเป็นคู่สลับ โดยใบจะหุ้ม รอบข้อ ทาให้ตรงข้อของลาต้นมีลักษณะบวมโต ดอก มีทั้งชนิดดอกเดี่ยวและดอกช่อ กลีบรองดอกสีเขียว รูปถ้วย กลีบดอกซ้อนฟู ขอบกลีบ หยักเป็นแฉก สีขาว ชมพู เหลือง ส้ม แดง และขลิบขอบสีต่างๆ ดอกมีทั้งชนิดดอกซ้อนและดอกชั้น เดียว ปลายกลีบดอกจะมีลักษณะหยัก ๆ คล้ายฟันเลื่อย กลีบหุ้มดอก มีลักษณะรวมติดกันเป็น กรวยหุ้มกลีบดอกไว้ ผล สีน้าตาลเข้ม ผิวขรุขระไม่สม่าเสมอ
  • 6. 2 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก Petal กลีบดอก Pistilเกสรเพศเมีย Ovules ไข่ Sepal กลีบเลี้ยง Stigma ยอดเกสรเพศเมีย Style ก้านเกสรเพศเมีย Ovary รังไข่ Filament ก้านเกสรเพศผู้ Anther อับเรณู Stamenเกสรเพศผู้
  • 7. 3 ภาพประกอบเพิ่มเติม Pistil เกสรเพศเมีย Sepal กลีบเลี้ยง Ovary รังไข่ Ovule ไข่ Stamen เกสรเพศผู้ Petal กลีบดอก Filament ก้านเกสรเพศผู้ Anther อับเรณู Stigma ยอดเกสรเพศเมีย Style ก้านเกสรเพศเมียStigma ยอดเกสรเพศเมีย Style ก้านเกสรเพศเมีย
  • 8. 4 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Petal กลีบดอก Sepal กลีบเลี้ยง Stigma ยอดเกสรเพศเมีย Style ก้านเกสรเพศเมีย Ovary รังไข่ Ovules ไข่ Filament ก้านเกสรเพศ
  • 9. 5 2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Wrightia antidysenterica (L.) R. Br. วงศ์ Apocynaceae ชื่อสามัญ Coral swirl, Snowflake, Milky way, Winter cherry tree, Arctic snow, Kutaja, Pudpitchaya, Sweet indrajao, Hyamaraca, Angel White ชื่ออื่น ๆ อิดด้า ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มขนาดกลาง ความสูง 1-2 เมตร ลาต้นและกิ่งก้านสีน้าตาลแดง ลักษณะเรียบ มียางสีขาว ขุ่น ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบ เรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว ช่อละ 5-6 ดอก ดอก บานเต็มที่ขนาด 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนปนเหลือง โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรตรงกลางสีเหลือง มีรยางค์เป็นแผ่นรูปแถบแข็ง ปลายแยกเป็นริ้ว 2-5 ริ้ว ออกดอกตลอดปี
  • 10. 6 2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก Sepal กลีบเลี้ยง Petal กลีบดอก Stamen เกสรเพศผู้ Stigma ยอดเกสรเพศเมีย Pedicles ก้านดอกย่อย Peduncle ก้านดอก Ovary รังไข่
  • 11. 7 2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Sepal กลีบเลี้ยง Style ก้านเกสรเพศเมีย Stigma ยอดเกสรเพศเมีย Stamen เกสรเพศผู้ Petal กลีบดอก Pedicles ก้านดอกย่อย Peduncle ก้านดอก
  • 12. 8 3.1. ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Dendrobium Earsakul วงศ์ Orchidaceae ชื่อสามัญ Orchid ชื่ออื่น กล้วยไม้ เอื้อง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีลักษณะการเจริญเติบโตแบบซิมโพเดียล คือ เป็นกล้วยไม้ที่มีลาลูกกล้วย เมื่อลาต้นเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะแตกหน่อเป็นลาต้นใหม่และเป็นกอ ใบ ใบเรียงสลับกันหรือเรียงซ้อนทับกัน ใบเดี่ยว แบนแข็งหนา สีเขียว เส้นใบขนานกันไปตาม ความยาวของใบ ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกเรียงสลับ 6-8 คู่ ปลายคี่ กลีบเลี้ยง3 กลีบ สีเดียวกับ กลีบดอก แต่สีเข้มกว่าเล็กน้อย กลีบดอก 5 กลีบ มักมี 3 สีภายใน 1 ดอก มีกลีบดอก 1 กลีบเปลี่ยน รูปร่างไปเนื่องจากมีเกสรเพศผู้ และยอดเกสรเพศเมียลดรูปมารวมอยู่ด้วยกัน มีลักษณะเป็นปาก (labellum) มีสีเข้มเด่นชัดกว่ากลีบอื่นๆ ผล ผลเป็นฝักสีเขียว เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ภายในมีเมล็ดจานวนมาก
  • 13. 9 3.2. องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก Pedicles ก้านดอกย่อย Peduncle ก้าน ดอก Ovary รังไข่Pollinia ก้อนเรณูColumn เส้าเกสร Petal กลีบดอกชั้นใน Labelum กลีบปาก Lateral sepal กลีบเลี้ยงชั้นนอกคู่ล่าง Dorsal sepal กลีบเลี้ยงชั้นนอกกลีบบน Stigma ยอดเกสรเพศเมีย Petaloid calyx กลีบเลี้ยงสวยงาม
  • 14. 10 3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Petaloid calyx กลีบเลี้ยงสวยงาม Dorsal sepal กลีบเลี้ยงชั้นนอกกลีบบน Lateral sepal กลีบเลี้ยงชั้นนอกคู่ล่าง Petal กลีบดอกชั้นใน Pollinia ก้อนเรณู Pedicles ก้านดอกย่อย Column เส้าเกสร Pollinia ก้อนเรณู
  • 15. 11 Link Youtube : https://www.youtube.com/watch?v=eF6D92ll9Mo&t=6s
  • 16. 12
  • 17. 13 คณะนักเรียนผู้จัดทา น.ส. จิตตพัฒน์ สังวรวงษ์พนา ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 4 น.ส. ปาลิตา นพแก้ว ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 17 นาย ชยชล สุวัฒนรัตน์ ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 32 นาย กนกชัย เล้าพรพิชยานุวัฒน์ ชั้น ม.5 ห้อง 932 เลขที่ 31 ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 18. 14 Ahmad Fuad Morad. Wrightia antidysenterica (L.) R. Br. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.flickr.com/photos/adaduitokla/30320639985. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 พฤศจิกายน 2561). Dianthus caryophyllus. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/dx15AZ. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561). Elisa Hubbard. (2550). Flower Anatomy. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.microscopy- uk.org.uk /mag/artnov07macro/flower_anatomy/index.htm. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561). กัญฐภา ชุมวรฐายี. ส่วนประกอบของดอกกล้วยไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/MnS5De. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561). ชาริยา เพ็ชรไทย. ดอกคาร์เนชั่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/meaningflowersss/home/dxk-klwymi. (วันที่สืบค้น ข้อมูล : 22 พฤศจิกายน 2561). คาร์เนชั่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/kHjXQ9. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561). คาร์เนชั่น(Carnation). (2556). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/LL257i. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561). ดอกคาร์เนชั่น ( Carnation ). (2555). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/nKisyE. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561).
  • 19. 15 พุดพิชญา. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=jitigan77&group=29. (วันที่สืบค้น ข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561). พุดพิชญา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://book.baanlaesuan.com/plant-library/indrajao_winter/. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561). สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). พืชวงศ์กล้วยไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://biology.ipst.ac.th/?p=3350. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561). สานักงานหอพรรณไม้. (2560). สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://goo.gl/fyd4t1. (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561). Γιάννης Νικόλης. (2556). Carnation stamen. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.flickr.com/photos/ioannis_nicolis/9622423165. (วันที่สืบค้น ข้อมูล : 22 พฤศจิกายน 2561).