SlideShare a Scribd company logo
ชบา
Hibiscus rosa-sinensis L.
งานนาเสนอลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชตัวอย่าง
ที่ทาการเก็บตัวอย่างศึกษา Herbarium
กลุ่มที่ 8 ห้อง 815
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 3
รหัสวิชา ว 30243 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตำแหน่ง ครูชำนำญกำร (คศ.2)
สำชำวิชำชีววิทยำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ
สมาชิกกลุ่มที่ 8 ห้อง 815
1) นางสาวนิรชา ด่านธนะชัย เลขที่ 8
2) นางสาวภัณฑิรา นันทิยกุล เลขที่ 18
3) นายพศิน สินสวัสดิ์มงคล เลขที่ 35
4) นายสรณัฐ เม่นแย้ม เลขที่ 42
5) นายโอวินน์ เพ็ญสุภา เลขที่ 45
คานา
เนื่องด้วยโครงกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริในสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนรำชสุดำ เจ้ำฟ้ำมหำจักรีสิรินธร มหำวชิรำลงกรณวรรำชภักดี สิริกิจกำริณีพีรยพัฒน รัฐสีมำคุณำกรปิยชำติ สยำมบรมรำช-
กุมำรี อันเป็นแหล่งรวบรวมและอนุรักษ์พันธุ์ไม้หลำกหลำยประเภทซึ่งมีลักษณะทำงกำยภำพและประโยชน์ที่ต่ำงกันออกไป
ทำงคณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำรำยงำนลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ของพืชตัวอย่ำงที่ทำกำรเก็บตัวอย่ำงศึกษำ Herbarium ชบำ
(Hibiscus rosa-sinensis L.) ซึ่งรำยงำนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรำยวิชำชีววิทยำ 3 รหัสวิชำ ว 30243 ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2563 ขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลของต้นชบำ ชื่อวิทยำศำสตร์ ชื่อสำมัญ ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ และ
ประโยชน์ในด้ำนต่ำง ๆ
ทั้งนี้ ทำงคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนบูรณำกำรสวนพฤกษ์ศำสตร์ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์แก่บุคคลทั่วไปที่
ต้องกำรศึกษำลักษณะของพันธุ์ไม้ในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำได้ไม่มำกก็น้อย
คณะผู้จัดทำ
นำงสำวนิรชำ ด่ำนธนะชัย
นำงสำวภัณฑิรำ นันทิยกุล
นำยพศิน สินสวัสดิ์มงคล
นำยสรณัฐ เม่นแย้ม
นำยโอวินน์ เพ็ญสุภำ
สารบัญ
หน้า
ครูผู้สอน 2
คณะผู้จัดทา 3
คานา 4
สารบัญ 5
รายละเอียดทางพฤกษศาสตร์ของชบา
การจัดหมวดหมู่อนุกรมวิธาน 7
หน้า
ลักษณะทั่วไปของชบา 8 - 9
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชบา 10 - 15
ประโยชน์และสรรพคุณของชบา 16 - 20
บรรณานุกรม 21
กิตติกรรมประกาศ 22
ภาคผนวก 23 - 29
ชบำ
Hibiscus rosa-sinensis L.
การจัดหมวดหมู่อนุกรมวิธาน
ชื่อสามัญ Shoe Flower, Hibiscus, Chinese rose
ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus rosa-sinensis L.
อาณาจักร Plantae
หมวด Magnoliophyta
ชั้น Magnoliopsida
อันดับ Malvales
วงศ์ Malvaceae
สกุล Hibiscus
สปีชีส์ H. rosa-sinensis
ลักษณะทั่วไปของชบา
ชบา เป็นพืชที่สำมำรถพบได้ทั่วไปในส่วนต่ำงๆ
ของโลกในปัจจุบัน ชบำนั้นมีถิ่นกำเนิดเป็ น
บริเวณกว้ำงในพื้นที่เขตร้อนชื้น เริ่มกระจำย
พันธุ์จำกประเทศอินเดีย โดยในอดีตนั้น
คนท้องถิ่นนิยมนำดอกชบำสีแดง มำใช้ประโยชน์
เป็นไม้ดอกไม้ประดับ ต่อมำจึงแพร่หลำยไปสู่
ประเทศจีน และบริเวณหมู่เกำะแปซิฟิก หลังจำก
นั้นจึงมีกำรเพำะพันธุ์ชบำมำกขึ้นเรื่อยๆ ส่งต่อ
กระจำยพันธุ์ไปในประเทศแถบยุโรป มีกำร
พัฒนำสำยพันธุ์ชบำลูกผสมที่มีรูปร่ำงและสีสัน
แตกต่ำงกันมำต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
สาหรับประวัติการเข้ามาสู่ประเทศไทยของชบานั้นไม่พบ
หลักฐานปรากฎแน่ชัดว่าเมื่อใด แต่เนื่องจากมีเรื่องราว
ของดอกพุดตาน ซึ่งเป็นพืชในสกุลเดียวกันกับชบา
ปรากฏอยู่ในหนังสือไตรภูมิพระร่วง วรรณกรรมสมัย
สุโขทัย ทาให้คาดเดาได้ว่ามีการปลูกเลี้ยงพืชสกุลชบาใน
ประเทศไทยกันแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย และสันนิษฐานว่า
นาเข้ามาจากประเทศจีนที่มีการติดต่อค้าขายกันอยู่ใน
สมัยนั้น จึงกล่าวได้ว่า ชบาเป็นพืชที่มีความผูกพันกับคน
ไทยมาช้านาน ปัจจุบันคนไทยนิยมนาต้นชบามาปลูก
ประดับบ้าน เพราะดูแลรักษาง่ายและออกดอกสวยงาม
ตลอดปี
ลักษณะทั่วไปของชบา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชบา
เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เนื้ออ่อน เปลือกค่อนข้างเหนียว ลาต้นสูง
ประมาณ 8 ฟุต ใบ เดี่ยว ลักษณะของใบมนรี ปลายแหลม โคนใบมน
ฐานใบกว้าง ขอบใบหยัก สีเขียวเข้ม ชบามีรูปดอกอยู่หลายชนิด
จะแตกต่างกันตามพันธุ์ มีทั้งดอกเล็กและดอกใหญ่ สีก็จะต่างกันด้วย
เช่น สีชมพู แดง แสด ขาว เหลือง ม่วง และดอกจะมีเกสรอยู่ตรงกลาง
ออกดอกในหน้าร้อน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชบา
รากชบา
รากชบาเป็นรากแก้ว มีลักษณะ ตอนโคนจะโตแล้วค่อย
เรียวเล็กลงไปจนถึงปลาย รากจะยาวและมีขนาดใหญ่
ลาต้นชบา
ลาต้นชบาสูงประมาณ 1-3 เมตร แตกกิ่งตั้งระดับล่าง
ลาต้นแตกกิ่งปานกลาง แต่ใบมีขนาดใหญ่และดก ทาให้
แลดูมีทรงพุ่มทึบ เปลือกลาต้นมีเส้นใยและยางเมือก
สามารถดึงลอกออกเป็นเส้นเชือกได้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชบา
ใบชบา
ใบชบามีลักษณะแตกออกใบเดี่ยวๆ เรียงสลับตามความ
ยาวของกิ่ง ใบมีหูใบยาว 0.5 - 2 เซนติเมตร ใบมีรูป
หลายลักษณะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ ทั้งทรงกลม รูปไข่
ยาวประมาณ 4-9 เซนติเมตร โคนใบกว้าง ปลายใบแหลม
มีก้านใบยาวประมาณ 0.5-2 เซนติเมตร แผ่นใบมีทั้งโค้ง
เป็นลูกคลื่นหรือเรียบ และมีร่องของเส้นใบหลักประมาณ
3 เส้น แผ่นใบมีสีเขียวสดถึงเขียวเข้ม เป็นมัน และ
มีขนเล็กๆปกคลุม ส่วนขอบใบมีทั้งหยักตื้นหรือหยักเป็น
ฟันเลื่อยลึก เมื่อนาใบมาขยาจะมีน้าเมือกเหนียวออกมา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชบา
ดอกชบา
ดอกชบาเป็นดอกสมบูรณ์ที่ออกเป็นดอกเดี่ยวๆบริเวณ
ซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกตูมมีลักษณะเป็นหลอด ปลาย
หลอดแหลม มีกลีบเลี้ยงสีเขียวหุ่มด้านนอก โดยตัวดอก
มีจานวน กลีบเลี้ยง และกลีบดอก อย่างละ 5 อัน ซึ่ง
กลีบดอกมีทั้งชนิดกลีบดอกชั้นเดียวหรือซ้อนกันเป็นชั้น
โดยตัวดอกมีก้านดอกยาวประมาณ 3 - 7 เซนติเมตร
ถัดมาเป็นริ้วประดับที่มีประมาณ 6 - 7 อัน รูปเส้นด้าย
ยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร
ถัดมาเป็นกลีบเลี้ยงสีเขียว แบ่งเป็น 5 กลีบ โคนกลีบกว้าง ปลายกลีบ
แหลม เป็นรูประฆัง ส่วนกลีบดอก มี 5 กลีบ กลีบดอกมีรูปไข่กลับหรือมน
เรียงซ้อนเป็นวงกลม แผ่นกลีบดอกอาจเรียบหรือย่นหรือบิดเป็นคลื่น ส่วน
ขอบกลีบมักย่นเป็นลูกคลื่น เส้นผ่าศูนย์กลางของกลีบดอกประมาณ 6-10
เซนติเมตร มีโคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปแตร ซึ่งสีของกลีบดอกมี
หลายสี และเป็นสีที่สดใส ฉูดฉาด อาทิ สีแดง สีชมพู สีขาว สีเหลือง
เป็นต้น ซึ่งมักเป็นสายพันธุ์ลูกผสม ด้านในตรงกลางมีก้านชูเกสรยาว
ซึ่งมักมีสีเดียวกันกับกลีบดอกหรือโคนกลีบดอก โดยส่วนปลายสุดเป็นอับ
เรณูของเกสรตัวผู้ และตัวเมีย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชบา
ผลชบา
ผลชบามีลักษณะแห้งแตก รูปกลมถึงยาว ผลสดเมล็ดแข็ง
เป็นผลเดี่ยวแบบ capsule ผลอ่อนมีสีเขียว ผลแก่มีสีแดง
หรือสีน้าตาลเมื่อแก่จะแห้งและแตกเป็น 5 แฉก
แต่มักไม่ค่อยพบผล
เมล็ดชบา
เมล็ดชบามีรูปร่างกลมค่อนข้างแบน มีสีน้าตาลแก่
ประโยชน์และสรรพคุณของชบา
รากชบา
1. ช่วยเรียกน้าย่อย ทาให้อาหารมีรสชาติดีขึ้น ด้วยการใช้รากชบาน้าไปต้มกับน้าดื่ม
2. รากสด ๆ ของชบานามาตาให้ละเอียดใช้พอกฝีและแก้อาการฟกช้าบวมได้
ประโยชน์และสรรพคุณของชบา
ใบชบา
1. ใบชบาสามารถช่วยรักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้ ด้วยการนาใบชบา
มาตาให้แหลก แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นแผล ก็จะช่วยรักษาแผลได้
2. ใบชบาช่วยบารุงผมให้ดกดาเงางาม ด้วยการใช้ใบชบาประมาณ 1 กามือ
ล้างให้สะอาด แล้วนามาตาให้แหลก เติมน้าเล็กน้อย แล้วคั้นเอาแต่น้า
กรองกากทิ้ง หลังจากนั้น ให้ใช้น้าเมือกจากใบชบามาใช้สระผม
ประโยชน์และสรรพคุณของชบา
เปลือกลาต้นชบา
1. เปลือกต้นชบาสามารถใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราได้
2. เปลือกของต้นชบาสามารถนามาใช้ทาเป็นเชือก หรือใช้ทอกระสอบได้
ประโยชน์และสรรพคุณของชบา
ดอกชบา
1. ช่วยดับร้อนในร่างกาย แก้กระหาย และช่วยแก้ไข้ ด้วย
การใช้ดอกชบา 4 ใบนามาแช่ในน้าต้มสุก 2 แก้วแล้วดื่ม
2. ช่วยแก้ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ ด้วยการใช้
ดอกชบาสดประมาณ 4 ดอกนามาตาให้ละเอียด แล้วกิน
ตอนท้องว่างในช่วงเช้าติดต่อกันประมาณ 1 สัปดาห์ หรือ
จะนาดอกชบามาตากให้แห้งในที่ร่ม แล้วนามาบดเป็นผง
กินครั้งละ 1 ช้อนชาติดต่อกันเป็นเวลา 1 สัปดาห์
3. ใช้เป็นยาบารุงประจาเดือน ด้วยการใช้กลีบดอกชบาผสมกับน้าตาล
อ้อยอย่างละเท่า ๆ กัน ใส่ลงไปในโถแก้วมีฝาปิด แล้วเอาไปตากแดดทิ้ง
ไว้ประมาณ 3 สัปดาห์ น้าตาลก็จะละลายผสมกับดอกชบา จากนั้นนามา
กินครั้งละ 2 ช้อนชา วันละ2 ครั้งติดต่อกันประมาณ 3 สัปดาห์
4. สามารถนามาใช้ทาเป็นสีย้อมผ้าได้ โดยจะให้สีดา
บรรณานุกรม
• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2
• http://srdi.yru.ac.th/bcqy/view/168/
• https://puechkaset.com/%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2/
• http://xn--b3c6a7d.blogspot.com/2013/02/blog-post_4.html
• https://sites.google.com/site/benjamaacthbotanicschool/16-chba-dang
• https://sites.google.com/site/swnphvkssatr2012/cha-ba-1
• https://www.pinterest.com/search/pins/?q=%E0%B8%94%E0%B8%AD
%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2&rs=typed&term_
meta[]=%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8
%9A%E0%B8%B2%7Ctyped
งานนาเสนอเรื่องนี้สาเร็จลุล่วงด้วยความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากครูวิชัย
ลิขิตพรรักษ์ ที่กรุณาให้คาแนะนาต่างๆ เพื่อให้คณะผู้จัดทาปรับปรุงและแก้ไขชิ้นงาน
herbarium นี้ให้มีความสมบูรณ์อย่างดียิ่ง ตลอดจนผู้แต่งตารา เอกสารต่าง ๆ ที่
คณะผู้จัดทาใช้อ้างอิงในการจัดทาชิ้นงานและงานนาเสนอนี้ขึ้นจนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทารู้สึกสานึกในพระคุณของบิดา มารดาที่ปลูกฝังให้ผู้วิจัยเห็น
คุณค่าในการศึกษาหาความรู้และไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคต่าง ๆ ขอบคุณครอบครัวที่ห่วงใย
และคอยเป็นกาลังใจ รวมถึงเอื้อเฟื้ อในการสืบหาอุปกรณ์ในการจัดทาชิ้นงาน herbarium
จนสาเร็จตามที่ตั้งใจไว้ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณบุคคลทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นอย่างสูง
กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้จัดทำ
นำงสำวนิรชำ ด่ำนธนะชัย
นำงสำวภัณฑิรำ นันทิยกุล
นำยพศิน สินสวัสดิ์มงคล
นำยสรณัฐ เม่นแย้ม
นำยโอวินน์ เพ็ญสุภำ
ภาคผนวก
เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาชิ้นงาน herbarium
แผ่นไม้อัด
เชือก
กระดาษลังกระดาษหนังสือพิมพ์
เก็บตัวอย่างลาต้น กิ่ง ก้านใบ ใบ และดอกของชบาจากบริเวณบ้านของผู้จัดทา
เตรียมการเก็บรักษาพรรณไม้และ
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของตัวอย่างพืช
การเก็บรักษาตัวอย่างพืชโดยการทับชิ้นงาน
โดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อหุ้มชิ้ นงาน
เพื่อเพิ่มการดูดความชื้นและใช้กระดาษลังวาง
คั่นระหว่างชิ้นงาน และใช้เชือกมัดรวมชิ้นงาน
ทั้งหมดโดยมีแผ่นไม้อัดเป็นฐานด้านบนและล่าง
นาแผงอัดพรรณไม้ที่ได้ไปผึ่งในที่ร่มใกล้บริเวณที่มีแดดจนกว่าตัวอย่างพืชจะแห้ง
การตรวจติดตามชิ้นงาน herbarium
THANK YOU

More Related Content

Similar to Hibiscus rosa sinensis L.

Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
Wichai Likitponrak
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
MetawadeeNongsana
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
lookpedkeele
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
Wichai Likitponrak
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
BellNattanan
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
Wichai Likitponrak
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
ditdanaipataradool
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
SuwattanaSonsang
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
Maimai Pudit
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
Call Me Blink
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
BellNattanan
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
naransuppataratarn
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
PimlapusBoonsuphap
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
HatsayaAnantepa
 

Similar to Hibiscus rosa sinensis L. (20)

Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 

Hibiscus rosa sinensis L.