SlideShare a Scribd company logo
เรือง การศึกษาผลของฮอร์โมน
ตําแหน่งครู คศ
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
สายการเรียนวิทยาศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนีเป็นส่วนหนึงของรายวิชาชีววิทยา
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรือง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อความสูงของต้นโมก
นําเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตําแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส.ปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที 12
2. น.ส.วรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที 16
3. น.ส.วิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที 18
4. น.ส.สาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที 20
ชันมัธยมศึกษาปีที 6 ห้อง125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนีเป็นส่วนหนึงของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว
ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ต้นโมก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ว 30245)
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรือง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อความสูงของต้นโมกจะสําเร็จลุล่วง
ไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์คุณครูประจําวิชาชีววิทยา 5(ว30245) ทีช่วยให้
คําปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกียวกับโครงงานในหลายๆด้าน รวมถึงวิธีการซือฮอร์โมนพืช ชนิดของ
พืชและส่วนทีศึกษาให้สอดคล้องกัน
ขอขอบคุณผู้ปกครองและผู้เกียวข้องของคณะผู้จัดทําทุกคนทีให้กําลังใจและให้ความช่วยเหลือในด้าน
ต่าง ๆ ทังเป็นทีปรึกษาในด้านการปลูกต้นโมก การรดนํา และวิธีวัดความสูงของต้น
คณะผู้จัดทําโครงงานขอขอบคุณทุกท่านทีมีส่วนเกียวข้องไว้ณ โอกาสนี
คณะผู้จัดทํา
สารบัญ
หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทที 1 บทนํา 1
บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง
- เอกสาร 1 4
- เอกสาร 2 6
- เอกสาร 3 9
บทที 3 การดําเนินงาน 12
บทที 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 14
- ตารางบันทึกผลการทดลอง 15
- กราฟแสดงผลการทดลอง 15
- วิเคราะห์การทดลอง 16
บทที 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิมเติม 17
บรรณานุกรม 18
ภาคผนวก 19
1
บทที 1 บทนํา
ชือโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรือง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อความสูงของต้นโมก
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส.ปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที 12
2. น.ส.วรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที 16
3. น.ส.วิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที 18
4. น.ส.สาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที 20
นักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปีที 6 ห้อง125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทีมาและความสําคัญ
เนืองจากต้นโมกใช้ปลูกเป็นไม้ประดับทัวไป มีใบสวยงาม ดอกหอม นิยมปลูกไว้ประดับสวน ปลูก
ริมนําตก ลําธาร ริมทะเล หรือปลูกลงในกระถางเป็นไม้แคระหรือบอนไซ หรือปลูกเป็นแถว ๆ เพือบัง
สายตา โดยจะทิงใบในช่วงฤดูหนาว ทนร่มได้ดี จึงปลูกในอาคารได้นาน สามารถควบคุมการออกดอกได้
ด้วยการควบคุมการให้นําและปุ๋ ยอย่างเหมาะสม และควรปลูกในพืนทีกลางแจ้ง เพราะการปลูกในทีมี
แสงแดดไม่เพียงพอจะทําให้ต้นสูงชะลูดและไม่ค่อยออกดอก รวมถึงคนไทยโบราณเชือว่าหากบ้านใดปลูก
ต้นโมกไว้เป็นไม้ประจําบ้าน จะทําให้เกิดความสุขบริสุทธิ สดใส เพราะคําว่าโมกนันมีเสียงพ้องกับคําว่า
“โมกข์” หรือ “โมกษ์” นันหมายถึงความหลุดพ้นจากกิเลสและทุกข์ทังปวง ซึงเป็นความหมายเดียวกับ
นิพพานนันเอง นอกจากนียังเชือว่าจะช่วยคุ้มครองป้ องกันภัยทังปวง (โดยเฉพาะกับชาวราศีพฤษภ) และเพือ
ความเป็นสิริมงคล ให้ปลูกต้นโมกไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และผู้ปลูกควรปลูกในวันเสาร์เพือเอาคุณ
อีกทังโมกมีสรรพคุณมากมาย เช่น เปลือกเป็นยาช่วยทําให้เจริญอาหาร ยางจากต้นใช้เป็นยาแก้โรคบิดทีมี
อาการเลือดออก ใช้เป็นยาแก้พิษงูและแมลงกัดต่อย ดอกเป็นยาระบาย เปลือกช่วยรักษาโรคไต ใบใช้ขับ
นําเหลือง และรากมีรสมัน ใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคผิวหนังจําพวกโรคเรือนและคุดทะราดคณะผู้จัดทําจึง
สนใจต้นไม้ชนิดนีและได้นํามาเป็นพืชทีศึกษา รวมถึงเป็นต้นทีสูงชะลูด จึงวัดความสูงของต้นได้ไม่ยาก
2
นอกจากนีจิบเบอเรลลินซึงเป็นเป็นฮอร์โมนพืชทีเราศึกษา มีคุณสมบัติในการควบคุมการ
เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทังการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออก
ดอก การแสดงเพศ การชักนําการสร้างเอนไซม์ รวมทังการชราของดอกและผลคณะผู้จัดทําจึงศึกษาว่า
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จะส่งผลต่อการเจริญของความสูงต้นโมกหรือไม่
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจทีจะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลินทีมีต่อตวามสูงของต้นโมก โดยมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาว่าจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงต้น
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิงว่าผลทีได้จะมีประโยชน์ต่อ
ผู้อ่านในอนาคตต่อไปไม่มากก็น้อย
คําถามการทําโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นโมกมีความสูงของต้นมากทีสุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีความเข้มข้น 0.00125 % มีผลต่อความสูงของต้น ทําให้เจริญดีทีสุด ดังนัน
สารละลายฮอร์โมน จิบเบอเรลลินทีความเข้มข้น 0.00125 % จะทําให้ลําต้นมี ความสูงเพิมขึนมากทีสุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพือศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงต้นโมก
2. เพือเปรียบเทียบความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินว่าความเข้มข้นใดมีค่าเหมาะสม
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรืองประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน
3. เป็นการส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการปลูกต้นไม้และร่วมกันทํางานกลุ่ม
ขอบเขตของโครงงาน
การทําโครงงานครังนีคณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นทีจะศึกษาเฉพาะความสูงต้นโมกทีดูแลเองทัง 9 ต้น
ทีวางไว้บริเวณข้างตึก 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
3
ตัวแปรทีเกียวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม คือ ความสูงต้น
ตัวแปรควบคุม คือ อุณหภูมิ จํานวนต้นในแต่ละชุดการทดลอง ปริมาณนํา ปริมาณฮอร์โมน
ช่วงระยะเวลาในการทําโครงงาน
19 มิถุนายน พ.ศ.2560 – 4 สิงหาคม พ.ศ.2560
วิธีการเก็บข้อมูล
ใช้เชือกวัดความสูงของต้นไม้แล้วนําความสูงทีได้ไปวัดโดยตลับเมตร โดยวัดจากหน้าดินจนถึง
ยอดกิงทีสูงของต้นไม้แต่ละต้น 2 ยอด พร้อมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึก
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
หาผลต่างระหว่างความสูงของต้นไม้ในแต่ละวันกับวันแรกทีเริมทดลองของทัง3กลุ่ม กลุ่มละ3ต้น
ด้วยการวัดความยาวจากโคนต้นถึงปลายยอดต้นละ2ยอดแล้วนํามาหาค่าเฉลีย แล้วนํามาหาความสัมพันธ์
ระหว่างเวลากับความสูงต้นไม้ทีเพิมขึนในรูปแบบกราฟเส้นและกราฟแท่ง
2.1 เอกสาร 1
ต้นโมก
ลักษณะของต้น
ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลําต้นมีความสูงประมาณ
ต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทัวต้น แตกกิงก้านสาขาออกรอบลําต้นไม่เป็นระเบียบ
ใบ ใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม
ขอบใบเรียบ เนือใบบางสีเขียว ขนาดใบกว้างประมาณ
ดอก ออกดอกเป็นช่อสัน ๆ อยู่ตามปลายกิง ช่อหนึงมีดอก
กลีบดอก 5 กลีบ มีสีขาวกลินหอม ดอกบานเต็มทีมีขนาด ประมาณ
ฝักหรือผล รูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีเมล็ดเรียงอยู่เป็นจํานวนมาก
ขนาดความยาวของฝักประมาณ 10
เมล็ด จํานวนมาก มีขนสีขาวเป็นกระจุกทีปลาย
บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง
เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลําต้นมีความสูงประมาณ 5-12 เมตร ผิวเปลือกสีนําตาลดํา ลํา
ต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทัวต้น แตกกิงก้านสาขาออกรอบลําต้นไม่เป็นระเบียบ
ใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม
ขอบใบเรียบ เนือใบบางสีเขียว ขนาดใบกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-5
ออกดอกเป็นช่อสัน ๆ อยู่ตามปลายกิง ช่อหนึงมีดอก 4-8 ดอก ดอกจะควําหน้าลงสู่พืนดินมี
กลีบ มีสีขาวกลินหอม ดอกบานเต็มทีมีขนาด ประมาณ 2 เซนติเมตร
รูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีเมล็ดเรียงอยู่เป็นจํานวนมาก
10-15 เซนติเมตร
จํานวนมาก มีขนสีขาวเป็นกระจุกทีปลาย ออกดอกตลอดปี
4
เมตร ผิวเปลือกสีนําตาลดํา ลํา
ต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทัวต้น แตกกิงก้านสาขาออกรอบลําต้นไม่เป็นระเบียบ
ใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม
5 เซนติเมตร
ดอก ดอกจะควําหน้าลงสู่พืนดินมี
รูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีเมล็ดเรียงอยู่เป็นจํานวนมาก
5
ประโยชน์ของต้นโมก
1. ดอกโมกสามารถนําไปสกัดกลินหอมทํานําปรุง
2.ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ เนืองจากคนไทยโบราณเชือว่าบ้านใดปลูกต้นโมกไว้ประจําบ้านจะทําให้
เกิดความสุขความบริสุทธิเพราะ โมก หรือ โมกข์ หรือ โมกษ์ หมายถึงผู้ทีหลุดพ้นด้วยทุกข์ทังปวง สําหรับ
ส่วนของดอกมีลักษณะสีขาว สะอาด มีกลินหอมสดชืนตลอดวัน นอกจากนี ยังช่วยคุ้มครองปกป้ องภัย
อันตรายเพราะต้นโมกบางคนเรียกว่าต้นพุทธรักษา ดังนัน จึงมีความเชือว่าต้นโมกสามารถคุ้มกันรักษาความ
ปลอดภัยทังปวงจากภายนอกได้เช่นกัน และเพือเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูกต้นโมกไว้ทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ ผู้ปลูกควรปลูกในวันเสาร์ เพราะโบราณเชือว่าการปลูกไม้เพือเอาคุณทัวไปให้ปลูกใน
วันเสาร์นอกจากนีโมกยังมีสรรพคุณมากมายเช่น
ราก ใช้รักษาโรคผิวหนัง เรือน คุดทะราด แก้พิษสัตว์กัดต่อย
ใบ ใช้ขับนําเหลือง
ดอก เป็นยาระบาย
เปลือกเป็นยาช่วยให้เจริญอาหาร รักษาโรคไต
ยางจากต้นช่วยรักษาโรคบิด
วิธีการปลูกต้นโมก
1. การปลูกโมกลงดินในแปลงปลูก
การปลูกในแปลงปลูกเพือประดับบริเวณบ้านและสวน ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 x 30 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ ยคอก
หรือปุ๋ ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 : 2 ผสมดินปลูก
2. การปลูกโมกในกระถาง
การปลูกในกระถางเพือประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน ใช้กระถางทรงสูงขนาด 12-18 นิว ใช้ปุ๋ ยคอกหรือ
ปุ๋ ยหมัก : ขุยมะพร้าว : ดินร่วนอัตรา 1 : 1 : 1 ผสมดินปลูกควรเปลียนกระถางบ้างแล้วแต่ความเหมาะสม
ของทรงพุ่มและการเจริญเติบโตของทรงพุ่ม และควรเปลียนดินปลูกใหม่ทดแทนดินเดิมทีเสือมสภาพไป
การดูแลรักษาต้นโมก
แสง ต้องการแสงแดดปานกลาง จนถึงแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง
นํา ต้องการปริมาณนําปานกลาง ควรให้นํา 5-7 วัน/ครัง
ดิน ชอบดินร่วนซุย มีความชืนปานกลาง
ปุ๋ ย ใช้ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 4-6 ครัง
6
การขยายพันธุ์ต้นโมก
มีทังการตอนการเพาะเมล็ด และ การปักชํา แต่วิธีทีนิยมและได้ผลดี คือ การปักชํา โดยการปักชําต้น
โมกนันทําได้โดยการตัดกิง จากนันนําเอาไปปักชําไว้ในดินทีไม่อุ้มนํามากเกินไป ทีสําคัญคือกิงทีปักชํานัน
ต้องโดนแดดส่องถึงเพือช่วยในการเจริญเติบโต แต่ต้องไม่โดนแดดจัดมากเกินไปนัก ทังนีต้นโมกไม่ค่อยมี
ปัญหาเรืองโรคและศัตรู เพราะเป็นไม้ทีทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร
2.2 เอกสาร 2
จิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชทีมีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโต
และมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทังการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การ
แสดงเพศ การชักนําการสร้างเอนไซม์ รวมทังการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครังแรกเมือ
พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญีปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริมจากการศึกษาต้น
ข้าวทีเป็นโรค Bakanae ซึงมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชือรา Gibberella fujikuroiและถูกสกัดออกมาเป็นครัง
แรกเมือ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชือรา G. fujikuroi เมือสกัดสารทีเชือรานีสร้างขึนไปทดสอบกับ
พืชชนิดอืน พบว่าทําให้พืชนันๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตังชือสารทีพบนีว่าจิบเบอเรลลิน
สารทีพบชนิดแรกตังชือว่าจิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด
รวมทังในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทังทีแยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ทีสังเคราะห์โดยวิธี
รูปในเอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและ
โครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane
ชันสูงเริมจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP)
โดยทัวไป จากนันจึงเปลียน GGDP
จิบเบอเรลลินตัวอืนๆ จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์
เทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า
มีจุลินทรีย์หลายชนิดทีสร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น
สาหร่ายสีนําตาลและสาหร่ายสีแดง
กับพืชชันสูง แม้ว่าเอนไซม์ทีเกียวข้องจะต่างไป ในราก
กกว่ารากข้างเคียงทีไม่เกิดปม Phaseolus lunatus
จะยาวกว่าต้นทีได้รับเชือชนิดเดียวกันแต่ไม่จําเพาะ และพบจิ
กระตุ้นการยืดยาวของปล้องได้
จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย
ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ
ณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์
กลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ทีสังเคราะห์โดยวิธีเทอร์พีนอยด์ในพลาสติด
และไซโตซอลจนได้รูปทีออกฤทธิในสิงมีชีวิตได้จิบเบอเรลลินทังหมดมี
gibberellane ทีสังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืช
Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึงเป็นสารตังต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์
GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลียนเป็น GA12 แล้วจึงเปลียนต่อไปเป็น
จิบเบอเรลลินตัวอืนๆ จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid)
ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 80 ชนิด เช่น
GA1 GA3
ent-Gibberellane ent-Kaurene
มีจุลินทรีย์หลายชนิดทีสร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น แบคทีเรียไซยาโนแบคทีเรียยีสต์
สาหร่ายสีแดง รวมทังไมคอไรซาในรากกล้วยไม้ในรา วิธีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้าย
กับพืชชันสูง แม้ว่าเอนไซม์ทีเกียวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถัวทีเกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมา
Phaseolus lunatus ทีเติมเชือ Bradyrhizobiumsp. ทีจําเพาะต่อกัน ส่วนปล้อง
จะยาวกว่าต้นทีได้รับเชือชนิดเดียวกันแต่ไม่จําเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมทีมีแบคทีเรียที
จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น AzotobactorPseudomonas
ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ
7
พลาสติดแล้วจึงเปลียน
จนได้รูปทีออกฤทธิในสิงมีชีวิตได้จิบเบอเรลลินทังหมดมี
บเบอเรลลินในพืช
ซึงเป็นสารตังต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์
แล้วจึงเปลียนต่อไปเป็น
Gibberellic acid) จัดเป็นสารกลุ่มดี
ยีสต์สาหร่ายสีเขียว
การผลิตจิบเบอเรลลินคล้าย
ทีเกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมา
ทีจําเพาะต่อกัน ส่วนปล้อง
บเบอเรลลินหลายตัวในปมทีมีแบคทีเรียที
AzotobactorPseudomonas) ยีสต์ และรา
ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย
8
การออกฤทธิของจิบเบอเรลลิน
• กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิมความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทําให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึน
• กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน
ปริมาณทีน้อยกว่าลําต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโคร
โมลาร์
• จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก
บริเวณทีมีการสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้าง
จิบเบอเรลลินในอับละอองเรณูนีจะควบคุมพัฒนาการของดอกทังหมด
• กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้มมะเขือเทศองุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติด
ผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้
• กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ
เรลลินมากขึน และส่งผลต่อการตอบสนองของเนือเยือต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น
Arabidopsis และผักกาดหอมซึงต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิมจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการ
งอกของพืชเหล่านีเช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง
• การเปลียนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทําให้พืชตระกูลแตงหรือพืชทีแยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย
เกิดดอกตัวผู้มากขึนได้ซึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
• การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทําลายระยะพักตัวของพืชทังการพักตัวของตาและ
เมล็ด โดยข่มฤทธิของ ABA ซึงทําให้เกิดระยะพักตัว
• หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
• กระตุ้นการทํางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรัง
• ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทําให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะ
อ่อนวัยซึงมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้
• กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วง
กลางวันของพืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
9
2.3 เอกสาร 3
วิธีทําจิบเบอเรลลินจาดยอดอ่อนของข้าว
การทําเกษตรในปัจจุบันมักมีการใช้สารเคมีเข้ามาเป็นอีกหนึงปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นการกําจัดศัตรูพืช
การบํารุงพืช แต่ทีจังหวัดตราด เกษตรกรผู้ทําการเกษตรได้นําความรู้มาทําฮอร์โมนจากข้าว เนืองจากข้าวมี
ออกซินในกลุ่มของจิบเบอเรลลินมีผลทําให้เซลล์ขยายตัว เร่ง การออกดอก การติดผล การงอกของเมล็ด
และ ตามธรรมชาติจะพบจิบเบอเรลลินมากทีส่วนอ่อนของพืชมากทีสุด ดังนันการจะทําฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลินไว้ใช้เองจึงควร ทําจากยอดอ่อนของพืช และข้าวจะดีทีสุด
วิธีการทํา
1.นําข้าวเปลือกให้ทีมีอายุไม่เกิน 1 ปี 3กิโลกรัม แช่นําสะอาด (ใส่นําให้ท่วมข้าว) 1คืน
2.นําขึนจากนําและคอยรดนําเช้าเย็นจนกว่าข้าวจะงอก
3.เมือข้าวงอกนํามาคลุกกับนําตาลทราย 1 กิโลกรัม ใส่ถังเปิดฝาไว้1-2 คืน
4.หลังจากนันเติมนํา 10 ลิตร หมักต่อไปอีก 45-90 วัน
อัตราการใช้: นํามาผสมนําฉีดพ่นในสวนผักและผลไม้อัตรา 50-100 ซีซี/นํา 20 ลิตร
10
วิธีทําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า
นางสาวไสว ม่วงศรีจันทร์ เกษตรกรผู้ปลูกผัก ตําบลห้วยงู อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ปลูกผัก
และไม้ผลเป็นอาชีพ ซึงเดิมจะซือสารเร่งการเจริญเติบโตของต้นพืชมาใช้ โดยเฉพาะสาร "จิบเบอเรลลิน"
ทําให้มีต้นทุนการผลิตสูง เมือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เข้ามาแนะนํา และฝึกให้ทําสารจิบเบอเรลลิ
นจากหัวไชเท้าเพือใช้ในสวนผักและไม้ผลด้วยตนเองควบคู่กับการใช้นําหมักชีวภาพ ปุ๋ ยอินทรีย์และสาร
สกัดสมุนไพร จึงสามารถปรับเปลียนการผลิตพืชผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษได้สําเร็จวัสดุได้แก่
1. หัวไชเท้าสด(ใหม่)จํานวน 1 กิโลกรัม
2. นําตาลกลูโคสจํานวน 4 ขีด
3. นํามะพร้าวอ่อนจํานวน 1 ผล
วิธีทํา
เมือเตรียมวัสดุต่างๆ พร้อมแล้ว ใช้ช้อนขูดเฉพาะเนือหัวไชเท้า เนืองจากสามารถปันได้ระเอียด ถ้า
ไม่ใช้ช้อนขูดจะปันให้ระเอียดได้ยาก แล้วนําไปปันให้ละเอียดอีกครัง กรองด้วยผ้าขาวบาง นําส่วนเฉพาะนํา
ของหัวไชเท้าผสมกับนําตาลกลูโคส คนจนละลายให้เข้ากัน ก่อนเติมนํามะพร้าวอ่อนคนให้ส่วนผสม
ทังหมดเข้ากันอีกครัง เพียงเท่านีก็จะได้สารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้าทีสามารถนําไปฉีดพ่นต้นพืชได้ทันที
ในอัตราจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า 50-100 ซีซี ต่อนํา 20 ลิตร โดยฉีดพ่นเวลาเช้าเท่านันซึงพืชสามารถดูด
ซึมไปใช้ได้ดีกว่าเวลาอืนสารดังกล่าวเมือผลิตแล้วควรใช้ให้หมดในคราวเดียวจะมีประสิทธิภาพมาก
เนืองจากสารจิบเบอเรลลินสลายตัวได้เร็ว ถ้าเก็บไว้ควรเก็บไว้ในตู้เย็นแต่ควรเป็นไปในระยะทีสัน
11
ผลจากการใช้
จากการนําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า ของคุณไสว ม่วงศรีจันทร์ พบว่า สารดังกล่าวจะได้คุณภาพดี กับ
พืชผักทีเป็นหัวทุกชนิด เช่น กะหลํา หัวไชเท้า แครอท หัวผักกาด รวมทังไม้ผล เพราะจะทําให้ได้ผลผลิตทีมี
ขนาดใหญ่ขึน เจริญเติบโตเร็วกว่าการปลูกผักทัวไป สีผิวของผักสด และกรอบโดยทีเกษตรกรไม่ต้องใช้สาร
บํารุงชนิดใดๆ อีก
12
บทที 3 การดําเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ต้นโมก
2. กระถางและถาดรองต้นโมก
3. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
4. ดิน
5. ฟ็อกกี
6. นํา.
7. สายวัดแบบอ่อน
ขันตอนการทําโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานทีสนใจ ซึงคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อ
ความสูงต้นโมก
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกียวกับโครงงานดังนี
2.1. ลักษณะต้นโมก
2.2. ประโยชน์ของต้นโมก
2.3. วิธีการปลูกต้นโมก
2.4. จิบเบอเรลลิน
2.5. การออกฤทธิของจิบเบอเรลลิน
2.6. วิธีการทําจิบเบอเรลลิน
3. เลือกบริเวณทีจะทําการทดลอง
4. วางแผนรายละเอียดการทดลอง โดยแบ่งกลุ่มการทดลอง เป็น 3 กลุ่มตามความเข้มข้นของฮอร์โมนทีจะ
ใช้ คือ ชุดควบคุม ชุด High Dose และชุด Low Dose
5. จัดทําเค้าโครงโครงงาน เพือนําเสนอต่อ อาจารย์ทีปรึกษา เพือนําไปปรับปรุงและแก้ไข
6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ทีใช้ในการทําการทดลองการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อความสูงต้นโมก
6.1.1. ต้นโมก 9 ต้น
6.1.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
6.1.3. ฟ็อกกี 3 อัน
6.1.4. สายวัดแบบอ่อน
6.1.5.ด้าย
6.1.6. สมุดบันทึก
6.1.7. นํา
13
7. ขันตอนกระบวนการทําการทดลอง
7.1. ตอนที 1 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในแต่ละความเข้มข้นทีมีผลทํา
ให้ต้นไม้มีความสูงเพิมขึน
7.1.1.เตรียมต้นโมก 9 ต้น โดยแบ่งต้นโมกออกเป็น 3 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 3 ต้น ตังไว้บริเวณ
ข้างตึก 2
7.1.2.เตรียมสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินสําหรับฉีดพ่นต้นไม้โดยฟ็อกกีกระบอกแรกกําหนด
เป็นกระบอกcontrol ใช้นําเปล่า มีความเข้มข้นฮอร์โมน 0% w/vกระบอกที 2 กําหนดเป็น
กระบอก low dose ใช้ฮอร์โมน 5 มิลลิกรัม ละลายในนํา 600 มิลลิลิตร มีความเข้มข้น
ฮอร์โมน 0.00083% w/vกระบอกที 3 กําหนดเป็นกระบอก high dose ใช้ฮอร์โมน 5 มิลลิกรัม
ละลายในนํา 600 มิลลิลิตร มีความเข้มข้นฮอร์โมน 0.00125% w/v
7.1.3.ดูแล รดนําต้นไม้และฉีดฮอร์โมนให้แต่ละต้นในปริมาณเท่ากัน โดยฉีดฮอร์โมนกระบอก
controlใส่ต้นโมกกลุ่มที 1 ฮอร์โมนกระบอก low doseใส่ต้นโมกกลุ่มที 2 และ ฮอร์โมน
กระบอก high dose ใส่ต้นโมกกลุ่มที 3 ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
7.1.4.สังเกตเปรียบเทียบความสูงของต้นไม้ในแต่ละกลุ่ม และบันทึกผลทุกวันจันทร์ โดยใช้วิธีวัด
ความสูงของต้นโมกคือ นําด้ายทําสัญลักษณ์ผูกกิงไม้ทียาวทีสุด 2 กิงในต้นใช้เป็นตัวแทน
ความสูงของต้นโมกทังต้น แล้ววัดความสูงลําต้นด้วยการทาบสายวัดแบบอ่อนวัดจากโคนลํา
ต้นไปตามแนวลําต้นและกิงของยอดต้นโมกทังสอง
8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ทีปรึกษา เป็นระยะ
9. จัดทําเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
10. จัดทําสืออภิปรายแสดงผลการทดลอง
11. นําเสนอโครงงาน
14
บทที 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ความสูงของต้นโมก (ซม.)
กลุ่มการ
ทดลอง
Control
ความเข้มข้นฮอร์โมน 0% w/v
Low Dose
ความเข้มข้นฮอร์โมน
0.00083% w/v
High Dose
ความเข้มข้นฮอร์โมน 0.00125%
w/v
วันที
บันทึก
กระถางที 1 กระถางที2 กระถางที3 กระถางที1 กระถางที2 กระถางที 3 กระถางที 1 กระถางที 2 กระถางที 3
12 มิ.ย. 60 84.65 81.2 73.65 71.3 78.15 79.95 80.25 75.85 75.05
19 มิ.ย. 60 87.1 84.85 75.5 73.55 82.85 82.55 83.1 79.8 78.7
26 มิ.ย. 60 92.25 87.95 79.95 76.15 86.5 83.95 87.1 85.55 82.2
3 ก.ค. 60 96.8 91.95 84.85 80.9 89.2 91 92.05 94.15 87.5
11 ก.ค. 60 99.15 92.25 86.6 82.6 90.25 94.7 92.95 97.6 89.85
17 ก.ค. 60 100.95 92.75 87.75 83.15 91.25 96.45 93.9 102.1 92.75
24 ก.ค. 60 101.45 93.3 88.2 84.45 91.75 97.35 94.9 104.35 95.9
31 ก.ค. 60 101.8 93.85 89 85.2 92.5 98.1 95.75 105.1 96.7
ความสูงที
เพิมขึน
17.15 12.65 15.35 13.9 14.35 18.15 15.5 29.25 21.65
ความสูง
เพิมขึน
เฉลีย
15.05 15.47 22.13
หมายเหตุ 1. ในกลุ่มการทดลอง Control ต้นโมกในกระถางที 2 มีอาการใบด่างมาตังแต่ก่อนเริมทําการทดลอง
2. เนืองจากวันที 10 ก.ค. 60 เป็นวันหยุดจึงทําการวัดผลในวันที 11 ก.ค. 60
3. ความสูงของต้นไม้ในทุกกลุ่มการทดลองวัดได้จากการหาค่าเฉลียระหว่าง 2 ยอดทีมีความสูงทีสุดในต้นนันๆ
4. กลุ่มการทดลอง Control ได้รับแสงน้อยกว่ากลุ่มการทดลองอืนในบางช่วงเวลาเนืองจากมีเงาร่มไม้บัง
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง
0
5
10
15
20
25
19 มิ.ย. 60 26 มิ.ย
ความสูงทีเพิมขึนจากวันแรกทีทการทดลอง(ซม.)
กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้นไม้ทีเพิมขึนโดยเฉลียในแต่ละกลุ่มการ
กลุ่ม
ย. 60 3 ก.ค. 60 11 ก.ค. 60 17 ก.ค. 60 24 ก.ค.
วันที
กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้นไม้ทีเพิมขึนโดยเฉลียในแต่ละกลุ่มการ
ทดลองกับเวลา
กลุ่ม Control กลุ่ม Low Dose กลุ่ม High Dose
15
. 60 31 ก.ค. 60
กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้นไม้ทีเพิมขึนโดยเฉลียในแต่ละกลุ่มการ
16
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากการทดลอง ต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนกลุ่ม control มีความสูงของต้นเพิมขึนโดยเฉลีย 15.05
เซนติเมตร
ต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนกลุ่ม low dose มีความสูงของต้นเพิมขึนเฉลีย 15.43 เซนติเมตร
ต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนกลุ่ม high dose มีความสูงของต้นเพิมขึน 22.13 เซนติเมตร
โดยต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนทีมีความเข้มข้นมากทีสุด มีอัตราการเพิมความสูงมากทีสุด
17
บทที 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิมเติม
สรุปผลการทดลอง
จากบทความเกียวกับบทบาทของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อพืชของคณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทีกล่าวว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทังต้นโดยทําให้
เกิดการยืดของเซลล์ แต่พืชบางชนิดไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เพราะมีปริมาณจิบเบอเรลลิน
ในต้นเพียงพอแล้ว และจากการทดลองทีกลุ่มต้นโมกทีได้รับฮอร์โมนความเข้มข้นมากทีสุด มีการ
เปลียนแปลงส่วนสูงมากทีสุด จึงสันนิษฐานได้ว่า ต้นโมก เป็นต้นทีมีการตอบสนองต่อฮอร์โมนจิบเบอร์
เรลลิน โดยอัตราการยืดของเซลล์ หรือ อัตราการเพิมส่วนสูงลําต้น แปรผันตรงกับปริมาณจิบเบอเรลลิน แต่
จากการทดลองนีอาจเห็นความแตกต่างระหว่างกลุ่มการทดลอง Control และ Low Dose ไม่ชัดเจนเนืองจาก
ความเข้มข้นของฮอร์โมนทีใช้อาจน้อยเกินไปหรือมีปัจจัยอืนๆทีส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้
ข้อเสนอแนะเพิมเติม
-สถานทีในการวางต้นโมกทัง 9 ต้น แม้จะเป็นบริเวณทีใกล้กัน แต่ได้รับแสงสว่างไม่เท่ากัน เนืองจากมีเงา
ต้นไม้ใหญ่บังอยู่ ซึงต้นโมกเป็นต้นไม้ทีมีอัตราการเจริญเติบโตแปรผันกับแสงมาก ดังนันการทดลองอาจ
คลาดเคลือนได้
-ยอดทีวัดบางยอดหัก ทําให้การทดลองคลาดเคลือน
-ฉีดจิบเบอเรลลินความเข้มข้นตํากับสูงสลับกัน
18
บรรณานุกรม
โครงงาน เรือง เปลือกไข่ไล่มด.2556. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :https://www.slideshare.net/Songsak1
(10 มิถุนายน 2560).
โมก สรรพคุณและประโยชน์ของต้นโมกบ้าน 10 ข้อ !.2560. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :
https://medthai.com(10 มิถุนายน 2560).
การทําฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเร่งการเจริญเติบโต. 2555. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :
http://www.amnuaykaset.com(10 มิถุนายน 2560)
ต้นโมก ดอกไม้สีขาวกลินหอมบริสุทธิ. 2555. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :
https://home.kapook.com/view44470.html(10 มิถุนายน 2560)
วิธีทําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า. 2553. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :
http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=1426(10 มิถุนายน
2560)
วิธีทําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า. 2556. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :
https://www.gotoknow.org/posts/257566 (10 มิถุนายน 2560)
บทที 10 ฮอร์โมนพืช.2547.[ระบบออนไลน์].แหล่งทีมา :
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm
ภาคผนวก
รูปแสดง ต้นโมก 9 ต้นและฟ็อกกี 3 อัน
รูปแสดง วิธีวัดความสูงต้นโมก
19
รูปแสดง การบันทึกความสูงต้นโมก
รูปแสดงการตรวจงานครังที 1
รูปแสดงการตรวจงานครังที 2
20

More Related Content

What's hot

M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
Wichai Likitponrak
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
Wichai Likitponrak
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
Wichai Likitponrak
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
Z-class Puttichon
 

What's hot (20)

M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
New species
New speciesNew species
New species
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 

Similar to M6 125 60_5

M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
Wichai Likitponrak
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
naransuppataratarn
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
Wichai Likitponrak
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
Maimai Pudit
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
lingkwankamon
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
Aomsin Thanyathorn
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
PattriyaTowanasutr
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
PhatharawarongChiera
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
SuwattanaSonsang
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
Wichai Likitponrak
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
PhatharawarongChiera
 

Similar to M6 125 60_5 (20)

M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 125 60_5

  • 1. เรือง การศึกษาผลของฮอร์โมน ตําแหน่งครู คศ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช สายการเรียนวิทยาศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนีเป็นส่วนหนึงของรายวิชาชีววิทยา โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรือง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อความสูงของต้นโมก นําเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตําแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส.ปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที 12 2. น.ส.วรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที 16 3. น.ส.วิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที 18 4. น.ส.สาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที 20 ชันมัธยมศึกษาปีที 6 ห้อง125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนีเป็นส่วนหนึงของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ต้นโมก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว 30245)
  • 2. ก กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรือง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อความสูงของต้นโมกจะสําเร็จลุล่วง ไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์คุณครูประจําวิชาชีววิทยา 5(ว30245) ทีช่วยให้ คําปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกียวกับโครงงานในหลายๆด้าน รวมถึงวิธีการซือฮอร์โมนพืช ชนิดของ พืชและส่วนทีศึกษาให้สอดคล้องกัน ขอขอบคุณผู้ปกครองและผู้เกียวข้องของคณะผู้จัดทําทุกคนทีให้กําลังใจและให้ความช่วยเหลือในด้าน ต่าง ๆ ทังเป็นทีปรึกษาในด้านการปลูกต้นโมก การรดนํา และวิธีวัดความสูงของต้น คณะผู้จัดทําโครงงานขอขอบคุณทุกท่านทีมีส่วนเกียวข้องไว้ณ โอกาสนี คณะผู้จัดทํา
  • 3. สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ ก บทที 1 บทนํา 1 บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง - เอกสาร 1 4 - เอกสาร 2 6 - เอกสาร 3 9 บทที 3 การดําเนินงาน 12 บทที 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 14 - ตารางบันทึกผลการทดลอง 15 - กราฟแสดงผลการทดลอง 15 - วิเคราะห์การทดลอง 16 บทที 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิมเติม 17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก 19
  • 4. 1 บทที 1 บทนํา ชือโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรือง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อความสูงของต้นโมก สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส.ปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที 12 2. น.ส.วรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที 16 3. น.ส.วิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที 18 4. น.ส.สาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที 20 นักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปีที 6 ห้อง125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทีมาและความสําคัญ เนืองจากต้นโมกใช้ปลูกเป็นไม้ประดับทัวไป มีใบสวยงาม ดอกหอม นิยมปลูกไว้ประดับสวน ปลูก ริมนําตก ลําธาร ริมทะเล หรือปลูกลงในกระถางเป็นไม้แคระหรือบอนไซ หรือปลูกเป็นแถว ๆ เพือบัง สายตา โดยจะทิงใบในช่วงฤดูหนาว ทนร่มได้ดี จึงปลูกในอาคารได้นาน สามารถควบคุมการออกดอกได้ ด้วยการควบคุมการให้นําและปุ๋ ยอย่างเหมาะสม และควรปลูกในพืนทีกลางแจ้ง เพราะการปลูกในทีมี แสงแดดไม่เพียงพอจะทําให้ต้นสูงชะลูดและไม่ค่อยออกดอก รวมถึงคนไทยโบราณเชือว่าหากบ้านใดปลูก ต้นโมกไว้เป็นไม้ประจําบ้าน จะทําให้เกิดความสุขบริสุทธิ สดใส เพราะคําว่าโมกนันมีเสียงพ้องกับคําว่า “โมกข์” หรือ “โมกษ์” นันหมายถึงความหลุดพ้นจากกิเลสและทุกข์ทังปวง ซึงเป็นความหมายเดียวกับ นิพพานนันเอง นอกจากนียังเชือว่าจะช่วยคุ้มครองป้ องกันภัยทังปวง (โดยเฉพาะกับชาวราศีพฤษภ) และเพือ ความเป็นสิริมงคล ให้ปลูกต้นโมกไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และผู้ปลูกควรปลูกในวันเสาร์เพือเอาคุณ อีกทังโมกมีสรรพคุณมากมาย เช่น เปลือกเป็นยาช่วยทําให้เจริญอาหาร ยางจากต้นใช้เป็นยาแก้โรคบิดทีมี อาการเลือดออก ใช้เป็นยาแก้พิษงูและแมลงกัดต่อย ดอกเป็นยาระบาย เปลือกช่วยรักษาโรคไต ใบใช้ขับ นําเหลือง และรากมีรสมัน ใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคผิวหนังจําพวกโรคเรือนและคุดทะราดคณะผู้จัดทําจึง สนใจต้นไม้ชนิดนีและได้นํามาเป็นพืชทีศึกษา รวมถึงเป็นต้นทีสูงชะลูด จึงวัดความสูงของต้นได้ไม่ยาก
  • 5. 2 นอกจากนีจิบเบอเรลลินซึงเป็นเป็นฮอร์โมนพืชทีเราศึกษา มีคุณสมบัติในการควบคุมการ เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทังการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออก ดอก การแสดงเพศ การชักนําการสร้างเอนไซม์ รวมทังการชราของดอกและผลคณะผู้จัดทําจึงศึกษาว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จะส่งผลต่อการเจริญของความสูงต้นโมกหรือไม่ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจทีจะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ เบอเรลลินทีมีต่อตวามสูงของต้นโมก โดยมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาว่าจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงต้น คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิงว่าผลทีได้จะมีประโยชน์ต่อ ผู้อ่านในอนาคตต่อไปไม่มากก็น้อย คําถามการทําโครงงาน สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นโมกมีความสูงของต้นมากทีสุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีความเข้มข้น 0.00125 % มีผลต่อความสูงของต้น ทําให้เจริญดีทีสุด ดังนัน สารละลายฮอร์โมน จิบเบอเรลลินทีความเข้มข้น 0.00125 % จะทําให้ลําต้นมี ความสูงเพิมขึนมากทีสุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพือศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงต้นโมก 2. เพือเปรียบเทียบความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินว่าความเข้มข้นใดมีค่าเหมาะสม ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรืองประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน 3. เป็นการส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการปลูกต้นไม้และร่วมกันทํางานกลุ่ม ขอบเขตของโครงงาน การทําโครงงานครังนีคณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นทีจะศึกษาเฉพาะความสูงต้นโมกทีดูแลเองทัง 9 ต้น ทีวางไว้บริเวณข้างตึก 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 6. 3 ตัวแปรทีเกียวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงต้น ตัวแปรควบคุม คือ อุณหภูมิ จํานวนต้นในแต่ละชุดการทดลอง ปริมาณนํา ปริมาณฮอร์โมน ช่วงระยะเวลาในการทําโครงงาน 19 มิถุนายน พ.ศ.2560 – 4 สิงหาคม พ.ศ.2560 วิธีการเก็บข้อมูล ใช้เชือกวัดความสูงของต้นไม้แล้วนําความสูงทีได้ไปวัดโดยตลับเมตร โดยวัดจากหน้าดินจนถึง ยอดกิงทีสูงของต้นไม้แต่ละต้น 2 ยอด พร้อมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึก วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล หาผลต่างระหว่างความสูงของต้นไม้ในแต่ละวันกับวันแรกทีเริมทดลองของทัง3กลุ่ม กลุ่มละ3ต้น ด้วยการวัดความยาวจากโคนต้นถึงปลายยอดต้นละ2ยอดแล้วนํามาหาค่าเฉลีย แล้วนํามาหาความสัมพันธ์ ระหว่างเวลากับความสูงต้นไม้ทีเพิมขึนในรูปแบบกราฟเส้นและกราฟแท่ง
  • 7. 2.1 เอกสาร 1 ต้นโมก ลักษณะของต้น ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลําต้นมีความสูงประมาณ ต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทัวต้น แตกกิงก้านสาขาออกรอบลําต้นไม่เป็นระเบียบ ใบ ใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เนือใบบางสีเขียว ขนาดใบกว้างประมาณ ดอก ออกดอกเป็นช่อสัน ๆ อยู่ตามปลายกิง ช่อหนึงมีดอก กลีบดอก 5 กลีบ มีสีขาวกลินหอม ดอกบานเต็มทีมีขนาด ประมาณ ฝักหรือผล รูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีเมล็ดเรียงอยู่เป็นจํานวนมาก ขนาดความยาวของฝักประมาณ 10 เมล็ด จํานวนมาก มีขนสีขาวเป็นกระจุกทีปลาย บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลําต้นมีความสูงประมาณ 5-12 เมตร ผิวเปลือกสีนําตาลดํา ลํา ต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทัวต้น แตกกิงก้านสาขาออกรอบลําต้นไม่เป็นระเบียบ ใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เนือใบบางสีเขียว ขนาดใบกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-5 ออกดอกเป็นช่อสัน ๆ อยู่ตามปลายกิง ช่อหนึงมีดอก 4-8 ดอก ดอกจะควําหน้าลงสู่พืนดินมี กลีบ มีสีขาวกลินหอม ดอกบานเต็มทีมีขนาด ประมาณ 2 เซนติเมตร รูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีเมล็ดเรียงอยู่เป็นจํานวนมาก 10-15 เซนติเมตร จํานวนมาก มีขนสีขาวเป็นกระจุกทีปลาย ออกดอกตลอดปี 4 เมตร ผิวเปลือกสีนําตาลดํา ลํา ต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทัวต้น แตกกิงก้านสาขาออกรอบลําต้นไม่เป็นระเบียบ ใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบลักษณะใบ เป็นรูปไข่ รี ปลายใบมนแหลม โคนใบแหลม 5 เซนติเมตร ดอก ดอกจะควําหน้าลงสู่พืนดินมี รูปทรงกระบอกจะออกมาเป็นคู่ ลักษณะโค้งงอเข้าหากัน ภายในมีเมล็ดเรียงอยู่เป็นจํานวนมาก
  • 8. 5 ประโยชน์ของต้นโมก 1. ดอกโมกสามารถนําไปสกัดกลินหอมทํานําปรุง 2.ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ เนืองจากคนไทยโบราณเชือว่าบ้านใดปลูกต้นโมกไว้ประจําบ้านจะทําให้ เกิดความสุขความบริสุทธิเพราะ โมก หรือ โมกข์ หรือ โมกษ์ หมายถึงผู้ทีหลุดพ้นด้วยทุกข์ทังปวง สําหรับ ส่วนของดอกมีลักษณะสีขาว สะอาด มีกลินหอมสดชืนตลอดวัน นอกจากนี ยังช่วยคุ้มครองปกป้ องภัย อันตรายเพราะต้นโมกบางคนเรียกว่าต้นพุทธรักษา ดังนัน จึงมีความเชือว่าต้นโมกสามารถคุ้มกันรักษาความ ปลอดภัยทังปวงจากภายนอกได้เช่นกัน และเพือเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูกต้นโมกไว้ทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ ผู้ปลูกควรปลูกในวันเสาร์ เพราะโบราณเชือว่าการปลูกไม้เพือเอาคุณทัวไปให้ปลูกใน วันเสาร์นอกจากนีโมกยังมีสรรพคุณมากมายเช่น ราก ใช้รักษาโรคผิวหนัง เรือน คุดทะราด แก้พิษสัตว์กัดต่อย ใบ ใช้ขับนําเหลือง ดอก เป็นยาระบาย เปลือกเป็นยาช่วยให้เจริญอาหาร รักษาโรคไต ยางจากต้นช่วยรักษาโรคบิด วิธีการปลูกต้นโมก 1. การปลูกโมกลงดินในแปลงปลูก การปลูกในแปลงปลูกเพือประดับบริเวณบ้านและสวน ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 x 30 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ ยคอก หรือปุ๋ ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 : 2 ผสมดินปลูก 2. การปลูกโมกในกระถาง การปลูกในกระถางเพือประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน ใช้กระถางทรงสูงขนาด 12-18 นิว ใช้ปุ๋ ยคอกหรือ ปุ๋ ยหมัก : ขุยมะพร้าว : ดินร่วนอัตรา 1 : 1 : 1 ผสมดินปลูกควรเปลียนกระถางบ้างแล้วแต่ความเหมาะสม ของทรงพุ่มและการเจริญเติบโตของทรงพุ่ม และควรเปลียนดินปลูกใหม่ทดแทนดินเดิมทีเสือมสภาพไป การดูแลรักษาต้นโมก แสง ต้องการแสงแดดปานกลาง จนถึงแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง นํา ต้องการปริมาณนําปานกลาง ควรให้นํา 5-7 วัน/ครัง ดิน ชอบดินร่วนซุย มีความชืนปานกลาง ปุ๋ ย ใช้ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 4-6 ครัง
  • 9. 6 การขยายพันธุ์ต้นโมก มีทังการตอนการเพาะเมล็ด และ การปักชํา แต่วิธีทีนิยมและได้ผลดี คือ การปักชํา โดยการปักชําต้น โมกนันทําได้โดยการตัดกิง จากนันนําเอาไปปักชําไว้ในดินทีไม่อุ้มนํามากเกินไป ทีสําคัญคือกิงทีปักชํานัน ต้องโดนแดดส่องถึงเพือช่วยในการเจริญเติบโต แต่ต้องไม่โดนแดดจัดมากเกินไปนัก ทังนีต้นโมกไม่ค่อยมี ปัญหาเรืองโรคและศัตรู เพราะเป็นไม้ทีทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร 2.2 เอกสาร 2 จิบเบอเรลลิน จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชทีมีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโต และมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทังการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การ แสดงเพศ การชักนําการสร้างเอนไซม์ รวมทังการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครังแรกเมือ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญีปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริมจากการศึกษาต้น ข้าวทีเป็นโรค Bakanae ซึงมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชือรา Gibberella fujikuroiและถูกสกัดออกมาเป็นครัง แรกเมือ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชือรา G. fujikuroi เมือสกัดสารทีเชือรานีสร้างขึนไปทดสอบกับ พืชชนิดอืน พบว่าทําให้พืชนันๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตังชือสารทีพบนีว่าจิบเบอเรลลิน สารทีพบชนิดแรกตังชือว่าจิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทังในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทังทีแยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
  • 10. คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ทีสังเคราะห์โดยวิธี รูปในเอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและ โครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane ชันสูงเริมจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) โดยทัวไป จากนันจึงเปลียน GGDP จิบเบอเรลลินตัวอืนๆ จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ เทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า มีจุลินทรีย์หลายชนิดทีสร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น สาหร่ายสีนําตาลและสาหร่ายสีแดง กับพืชชันสูง แม้ว่าเอนไซม์ทีเกียวข้องจะต่างไป ในราก กกว่ารากข้างเคียงทีไม่เกิดปม Phaseolus lunatus จะยาวกว่าต้นทีได้รับเชือชนิดเดียวกันแต่ไม่จําเพาะ และพบจิ กระตุ้นการยืดยาวของปล้องได้ จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ ณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์ กลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ทีสังเคราะห์โดยวิธีเทอร์พีนอยด์ในพลาสติด และไซโตซอลจนได้รูปทีออกฤทธิในสิงมีชีวิตได้จิบเบอเรลลินทังหมดมี gibberellane ทีสังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืช Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึงเป็นสารตังต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลียนเป็น GA12 แล้วจึงเปลียนต่อไปเป็น จิบเบอเรลลินตัวอืนๆ จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 80 ชนิด เช่น GA1 GA3 ent-Gibberellane ent-Kaurene มีจุลินทรีย์หลายชนิดทีสร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น แบคทีเรียไซยาโนแบคทีเรียยีสต์ สาหร่ายสีแดง รวมทังไมคอไรซาในรากกล้วยไม้ในรา วิธีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้าย กับพืชชันสูง แม้ว่าเอนไซม์ทีเกียวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถัวทีเกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมา Phaseolus lunatus ทีเติมเชือ Bradyrhizobiumsp. ทีจําเพาะต่อกัน ส่วนปล้อง จะยาวกว่าต้นทีได้รับเชือชนิดเดียวกันแต่ไม่จําเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมทีมีแบคทีเรียที จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น AzotobactorPseudomonas ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ 7 พลาสติดแล้วจึงเปลียน จนได้รูปทีออกฤทธิในสิงมีชีวิตได้จิบเบอเรลลินทังหมดมี บเบอเรลลินในพืช ซึงเป็นสารตังต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ แล้วจึงเปลียนต่อไปเป็น Gibberellic acid) จัดเป็นสารกลุ่มดี ยีสต์สาหร่ายสีเขียว การผลิตจิบเบอเรลลินคล้าย ทีเกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมา ทีจําเพาะต่อกัน ส่วนปล้อง บเบอเรลลินหลายตัวในปมทีมีแบคทีเรียที AzotobactorPseudomonas) ยีสต์ และรา ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย
  • 11. 8 การออกฤทธิของจิบเบอเรลลิน • กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิมความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทําให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึน • กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน ปริมาณทีน้อยกว่าลําต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโคร โมลาร์ • จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก บริเวณทีมีการสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้าง จิบเบอเรลลินในอับละอองเรณูนีจะควบคุมพัฒนาการของดอกทังหมด • กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้มมะเขือเทศองุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติด ผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้ • กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ เรลลินมากขึน และส่งผลต่อการตอบสนองของเนือเยือต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น Arabidopsis และผักกาดหอมซึงต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิมจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการ งอกของพืชเหล่านีเช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง • การเปลียนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทําให้พืชตระกูลแตงหรือพืชทีแยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิดดอกตัวผู้มากขึนได้ซึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช • การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทําลายระยะพักตัวของพืชทังการพักตัวของตาและ เมล็ด โดยข่มฤทธิของ ABA ซึงทําให้เกิดระยะพักตัว • หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ • กระตุ้นการทํางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรัง • ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทําให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะ อ่อนวัยซึงมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้ • กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วง กลางวันของพืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
  • 12. 9 2.3 เอกสาร 3 วิธีทําจิบเบอเรลลินจาดยอดอ่อนของข้าว การทําเกษตรในปัจจุบันมักมีการใช้สารเคมีเข้ามาเป็นอีกหนึงปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นการกําจัดศัตรูพืช การบํารุงพืช แต่ทีจังหวัดตราด เกษตรกรผู้ทําการเกษตรได้นําความรู้มาทําฮอร์โมนจากข้าว เนืองจากข้าวมี ออกซินในกลุ่มของจิบเบอเรลลินมีผลทําให้เซลล์ขยายตัว เร่ง การออกดอก การติดผล การงอกของเมล็ด และ ตามธรรมชาติจะพบจิบเบอเรลลินมากทีส่วนอ่อนของพืชมากทีสุด ดังนันการจะทําฮอร์โมนจิบเบอ เรลลินไว้ใช้เองจึงควร ทําจากยอดอ่อนของพืช และข้าวจะดีทีสุด วิธีการทํา 1.นําข้าวเปลือกให้ทีมีอายุไม่เกิน 1 ปี 3กิโลกรัม แช่นําสะอาด (ใส่นําให้ท่วมข้าว) 1คืน 2.นําขึนจากนําและคอยรดนําเช้าเย็นจนกว่าข้าวจะงอก 3.เมือข้าวงอกนํามาคลุกกับนําตาลทราย 1 กิโลกรัม ใส่ถังเปิดฝาไว้1-2 คืน 4.หลังจากนันเติมนํา 10 ลิตร หมักต่อไปอีก 45-90 วัน อัตราการใช้: นํามาผสมนําฉีดพ่นในสวนผักและผลไม้อัตรา 50-100 ซีซี/นํา 20 ลิตร
  • 13. 10 วิธีทําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า นางสาวไสว ม่วงศรีจันทร์ เกษตรกรผู้ปลูกผัก ตําบลห้วยงู อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ปลูกผัก และไม้ผลเป็นอาชีพ ซึงเดิมจะซือสารเร่งการเจริญเติบโตของต้นพืชมาใช้ โดยเฉพาะสาร "จิบเบอเรลลิน" ทําให้มีต้นทุนการผลิตสูง เมือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เข้ามาแนะนํา และฝึกให้ทําสารจิบเบอเรลลิ นจากหัวไชเท้าเพือใช้ในสวนผักและไม้ผลด้วยตนเองควบคู่กับการใช้นําหมักชีวภาพ ปุ๋ ยอินทรีย์และสาร สกัดสมุนไพร จึงสามารถปรับเปลียนการผลิตพืชผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษได้สําเร็จวัสดุได้แก่ 1. หัวไชเท้าสด(ใหม่)จํานวน 1 กิโลกรัม 2. นําตาลกลูโคสจํานวน 4 ขีด 3. นํามะพร้าวอ่อนจํานวน 1 ผล วิธีทํา เมือเตรียมวัสดุต่างๆ พร้อมแล้ว ใช้ช้อนขูดเฉพาะเนือหัวไชเท้า เนืองจากสามารถปันได้ระเอียด ถ้า ไม่ใช้ช้อนขูดจะปันให้ระเอียดได้ยาก แล้วนําไปปันให้ละเอียดอีกครัง กรองด้วยผ้าขาวบาง นําส่วนเฉพาะนํา ของหัวไชเท้าผสมกับนําตาลกลูโคส คนจนละลายให้เข้ากัน ก่อนเติมนํามะพร้าวอ่อนคนให้ส่วนผสม ทังหมดเข้ากันอีกครัง เพียงเท่านีก็จะได้สารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้าทีสามารถนําไปฉีดพ่นต้นพืชได้ทันที ในอัตราจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า 50-100 ซีซี ต่อนํา 20 ลิตร โดยฉีดพ่นเวลาเช้าเท่านันซึงพืชสามารถดูด ซึมไปใช้ได้ดีกว่าเวลาอืนสารดังกล่าวเมือผลิตแล้วควรใช้ให้หมดในคราวเดียวจะมีประสิทธิภาพมาก เนืองจากสารจิบเบอเรลลินสลายตัวได้เร็ว ถ้าเก็บไว้ควรเก็บไว้ในตู้เย็นแต่ควรเป็นไปในระยะทีสัน
  • 14. 11 ผลจากการใช้ จากการนําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า ของคุณไสว ม่วงศรีจันทร์ พบว่า สารดังกล่าวจะได้คุณภาพดี กับ พืชผักทีเป็นหัวทุกชนิด เช่น กะหลํา หัวไชเท้า แครอท หัวผักกาด รวมทังไม้ผล เพราะจะทําให้ได้ผลผลิตทีมี ขนาดใหญ่ขึน เจริญเติบโตเร็วกว่าการปลูกผักทัวไป สีผิวของผักสด และกรอบโดยทีเกษตรกรไม่ต้องใช้สาร บํารุงชนิดใดๆ อีก
  • 15. 12 บทที 3 การดําเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ต้นโมก 2. กระถางและถาดรองต้นโมก 3. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 4. ดิน 5. ฟ็อกกี 6. นํา. 7. สายวัดแบบอ่อน ขันตอนการทําโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานทีสนใจ ซึงคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อ ความสูงต้นโมก 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกียวกับโครงงานดังนี 2.1. ลักษณะต้นโมก 2.2. ประโยชน์ของต้นโมก 2.3. วิธีการปลูกต้นโมก 2.4. จิบเบอเรลลิน 2.5. การออกฤทธิของจิบเบอเรลลิน 2.6. วิธีการทําจิบเบอเรลลิน 3. เลือกบริเวณทีจะทําการทดลอง 4. วางแผนรายละเอียดการทดลอง โดยแบ่งกลุ่มการทดลอง เป็น 3 กลุ่มตามความเข้มข้นของฮอร์โมนทีจะ ใช้ คือ ชุดควบคุม ชุด High Dose และชุด Low Dose 5. จัดทําเค้าโครงโครงงาน เพือนําเสนอต่อ อาจารย์ทีปรึกษา เพือนําไปปรับปรุงและแก้ไข 6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ทีใช้ในการทําการทดลองการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อความสูงต้นโมก 6.1.1. ต้นโมก 9 ต้น 6.1.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 6.1.3. ฟ็อกกี 3 อัน 6.1.4. สายวัดแบบอ่อน 6.1.5.ด้าย 6.1.6. สมุดบันทึก 6.1.7. นํา
  • 16. 13 7. ขันตอนกระบวนการทําการทดลอง 7.1. ตอนที 1 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในแต่ละความเข้มข้นทีมีผลทํา ให้ต้นไม้มีความสูงเพิมขึน 7.1.1.เตรียมต้นโมก 9 ต้น โดยแบ่งต้นโมกออกเป็น 3 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 3 ต้น ตังไว้บริเวณ ข้างตึก 2 7.1.2.เตรียมสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินสําหรับฉีดพ่นต้นไม้โดยฟ็อกกีกระบอกแรกกําหนด เป็นกระบอกcontrol ใช้นําเปล่า มีความเข้มข้นฮอร์โมน 0% w/vกระบอกที 2 กําหนดเป็น กระบอก low dose ใช้ฮอร์โมน 5 มิลลิกรัม ละลายในนํา 600 มิลลิลิตร มีความเข้มข้น ฮอร์โมน 0.00083% w/vกระบอกที 3 กําหนดเป็นกระบอก high dose ใช้ฮอร์โมน 5 มิลลิกรัม ละลายในนํา 600 มิลลิลิตร มีความเข้มข้นฮอร์โมน 0.00125% w/v 7.1.3.ดูแล รดนําต้นไม้และฉีดฮอร์โมนให้แต่ละต้นในปริมาณเท่ากัน โดยฉีดฮอร์โมนกระบอก controlใส่ต้นโมกกลุ่มที 1 ฮอร์โมนกระบอก low doseใส่ต้นโมกกลุ่มที 2 และ ฮอร์โมน กระบอก high dose ใส่ต้นโมกกลุ่มที 3 ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ 7.1.4.สังเกตเปรียบเทียบความสูงของต้นไม้ในแต่ละกลุ่ม และบันทึกผลทุกวันจันทร์ โดยใช้วิธีวัด ความสูงของต้นโมกคือ นําด้ายทําสัญลักษณ์ผูกกิงไม้ทียาวทีสุด 2 กิงในต้นใช้เป็นตัวแทน ความสูงของต้นโมกทังต้น แล้ววัดความสูงลําต้นด้วยการทาบสายวัดแบบอ่อนวัดจากโคนลํา ต้นไปตามแนวลําต้นและกิงของยอดต้นโมกทังสอง 8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ทีปรึกษา เป็นระยะ 9. จัดทําเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 10. จัดทําสืออภิปรายแสดงผลการทดลอง 11. นําเสนอโครงงาน
  • 17. 14 บทที 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง ความสูงของต้นโมก (ซม.) กลุ่มการ ทดลอง Control ความเข้มข้นฮอร์โมน 0% w/v Low Dose ความเข้มข้นฮอร์โมน 0.00083% w/v High Dose ความเข้มข้นฮอร์โมน 0.00125% w/v วันที บันทึก กระถางที 1 กระถางที2 กระถางที3 กระถางที1 กระถางที2 กระถางที 3 กระถางที 1 กระถางที 2 กระถางที 3 12 มิ.ย. 60 84.65 81.2 73.65 71.3 78.15 79.95 80.25 75.85 75.05 19 มิ.ย. 60 87.1 84.85 75.5 73.55 82.85 82.55 83.1 79.8 78.7 26 มิ.ย. 60 92.25 87.95 79.95 76.15 86.5 83.95 87.1 85.55 82.2 3 ก.ค. 60 96.8 91.95 84.85 80.9 89.2 91 92.05 94.15 87.5 11 ก.ค. 60 99.15 92.25 86.6 82.6 90.25 94.7 92.95 97.6 89.85 17 ก.ค. 60 100.95 92.75 87.75 83.15 91.25 96.45 93.9 102.1 92.75 24 ก.ค. 60 101.45 93.3 88.2 84.45 91.75 97.35 94.9 104.35 95.9 31 ก.ค. 60 101.8 93.85 89 85.2 92.5 98.1 95.75 105.1 96.7 ความสูงที เพิมขึน 17.15 12.65 15.35 13.9 14.35 18.15 15.5 29.25 21.65 ความสูง เพิมขึน เฉลีย 15.05 15.47 22.13 หมายเหตุ 1. ในกลุ่มการทดลอง Control ต้นโมกในกระถางที 2 มีอาการใบด่างมาตังแต่ก่อนเริมทําการทดลอง 2. เนืองจากวันที 10 ก.ค. 60 เป็นวันหยุดจึงทําการวัดผลในวันที 11 ก.ค. 60 3. ความสูงของต้นไม้ในทุกกลุ่มการทดลองวัดได้จากการหาค่าเฉลียระหว่าง 2 ยอดทีมีความสูงทีสุดในต้นนันๆ 4. กลุ่มการทดลอง Control ได้รับแสงน้อยกว่ากลุ่มการทดลองอืนในบางช่วงเวลาเนืองจากมีเงาร่มไม้บัง
  • 18. กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 0 5 10 15 20 25 19 มิ.ย. 60 26 มิ.ย ความสูงทีเพิมขึนจากวันแรกทีทการทดลอง(ซม.) กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้นไม้ทีเพิมขึนโดยเฉลียในแต่ละกลุ่มการ กลุ่ม ย. 60 3 ก.ค. 60 11 ก.ค. 60 17 ก.ค. 60 24 ก.ค. วันที กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้นไม้ทีเพิมขึนโดยเฉลียในแต่ละกลุ่มการ ทดลองกับเวลา กลุ่ม Control กลุ่ม Low Dose กลุ่ม High Dose 15 . 60 31 ก.ค. 60 กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้นไม้ทีเพิมขึนโดยเฉลียในแต่ละกลุ่มการ
  • 19. 16 วิเคราะห์ผลการทดลอง จากการทดลอง ต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนกลุ่ม control มีความสูงของต้นเพิมขึนโดยเฉลีย 15.05 เซนติเมตร ต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนกลุ่ม low dose มีความสูงของต้นเพิมขึนเฉลีย 15.43 เซนติเมตร ต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนกลุ่ม high dose มีความสูงของต้นเพิมขึน 22.13 เซนติเมตร โดยต้นโมกกลุ่มทีได้รับฮอร์โมนทีมีความเข้มข้นมากทีสุด มีอัตราการเพิมความสูงมากทีสุด
  • 20. 17 บทที 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิมเติม สรุปผลการทดลอง จากบทความเกียวกับบทบาทของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินทีมีต่อพืชของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทีกล่าวว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทังต้นโดยทําให้ เกิดการยืดของเซลล์ แต่พืชบางชนิดไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เพราะมีปริมาณจิบเบอเรลลิน ในต้นเพียงพอแล้ว และจากการทดลองทีกลุ่มต้นโมกทีได้รับฮอร์โมนความเข้มข้นมากทีสุด มีการ เปลียนแปลงส่วนสูงมากทีสุด จึงสันนิษฐานได้ว่า ต้นโมก เป็นต้นทีมีการตอบสนองต่อฮอร์โมนจิบเบอร์ เรลลิน โดยอัตราการยืดของเซลล์ หรือ อัตราการเพิมส่วนสูงลําต้น แปรผันตรงกับปริมาณจิบเบอเรลลิน แต่ จากการทดลองนีอาจเห็นความแตกต่างระหว่างกลุ่มการทดลอง Control และ Low Dose ไม่ชัดเจนเนืองจาก ความเข้มข้นของฮอร์โมนทีใช้อาจน้อยเกินไปหรือมีปัจจัยอืนๆทีส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ ข้อเสนอแนะเพิมเติม -สถานทีในการวางต้นโมกทัง 9 ต้น แม้จะเป็นบริเวณทีใกล้กัน แต่ได้รับแสงสว่างไม่เท่ากัน เนืองจากมีเงา ต้นไม้ใหญ่บังอยู่ ซึงต้นโมกเป็นต้นไม้ทีมีอัตราการเจริญเติบโตแปรผันกับแสงมาก ดังนันการทดลองอาจ คลาดเคลือนได้ -ยอดทีวัดบางยอดหัก ทําให้การทดลองคลาดเคลือน -ฉีดจิบเบอเรลลินความเข้มข้นตํากับสูงสลับกัน
  • 21. 18 บรรณานุกรม โครงงาน เรือง เปลือกไข่ไล่มด.2556. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา :https://www.slideshare.net/Songsak1 (10 มิถุนายน 2560). โมก สรรพคุณและประโยชน์ของต้นโมกบ้าน 10 ข้อ !.2560. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา : https://medthai.com(10 มิถุนายน 2560). การทําฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเร่งการเจริญเติบโต. 2555. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา : http://www.amnuaykaset.com(10 มิถุนายน 2560) ต้นโมก ดอกไม้สีขาวกลินหอมบริสุทธิ. 2555. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา : https://home.kapook.com/view44470.html(10 มิถุนายน 2560) วิธีทําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า. 2553. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา : http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=1426(10 มิถุนายน 2560) วิธีทําสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้า. 2556. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา : https://www.gotoknow.org/posts/257566 (10 มิถุนายน 2560) บทที 10 ฮอร์โมนพืช.2547.[ระบบออนไลน์].แหล่งทีมา : http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm
  • 22. ภาคผนวก รูปแสดง ต้นโมก 9 ต้นและฟ็อกกี 3 อัน รูปแสดง วิธีวัดความสูงต้นโมก 19