SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการ
                   รักษา

ส่งศรี ดีศรีแก้ว
        ในขณะที่การบริโภคข้อมูลข่าวสาร กลายมาเป็น
ความจำาเป็นในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของคนยุคใหม่
โดยเฉพาะในวงการแพทย์ด้วยแล้ว นอกจากประสบการณ์
ส่วนตัว ที่หาความรู้จากการเล่าเรียนมาอย่างหนักหน่วง
ผนวกกับทักษะในการรักษาโรค นับได้ว่าเป็นตัวอย่างของ
นิยามแห่งการศึกษาตลอดชีวิตเลยทีเดียว แต่อย่างไร
ก็ตาม ในปัจจุบันแพทย์ยังต้องเกาะติดข่าวสารข้อมูล
สารสนเทศในการรักษาโรคอย่างใกล้ชิด เพื่อคุณภาพของ
การรักษาโรคต่างๆทั้งในด้านความก้าวหน้าทางการรักษา
พยาบาล และนวัตกรรมใหม่ๆ ทางการแพทย์อีกด้วย
           แหล่งสารสนเทศต่างๆ ทีแพทย์จะแสวงหานั้นมี
                                   ่
มากมาย ทั้งที่เป็นแหล่งสารสนเทศเฉพาะทางและแหล่ง
สาธารณะ แหล่งสารสนเทศต่างๆ เหล่านี้ ก็มีคณภาพแตก
                                              ุ
ต่างกัน ตลอดจนมีความหลากหลายในเรื่องของสาระ รูป
แบบที่แต่ละแห่งนำาเสนอ ซึ่งผู้ใช้จะต้องใช้วิจารณญาณใน
การเลือกหยิบมาใช้ให้ตรงกับความต้องการและมีความน่า
เชื่อถือเอาเอง
             สมัยก่อนโน้นผู้ใช้จะเคยชินกับการค้นที่
โปรแกรมของแต่ละแหล่งออกแบบมาให้ เพื่ออำานวยความ
สะดวก ทีเห็นกันอยู่บ่อยๆ ก็จะมีอยู่ สองประเภทคือ การ
           ่
สืบค้นแบบง่าย (Basic search) และค้นแบบ ซับซ้อน
(Advanced search) ตลอดจนการค้นตามแบบฉบับของ
บัตรรายการ ซึ่งอาจมีทางเลือกในการเข้าค้นฐานข้อมูลที่
คุ้นเคยเท่านั้น อันได้แก่ การค้นจากชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัว
เรื่อง หรือปัจจุบันนี้ได้เพิ่มช่องทางในการสืบค้นมากขึ้น
อาทิ ค้นจาก คำาสำาคัญ ISBN/ ISSN หรืออื่นๆ เช่นการเพิ่ม
เทคนิคการใช้ Boolean operators (And Or Not) เข้ามา
ช่วยในการกำาหนดคำาค้นตามเงื่อนไข เพื่อให้ได้ผลของการ
สืบค้น สารสนเทศได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้
มากขึ้น
            แต่เมื่อกระแสของ EBM (Evidence-Based
Medicine) หรือเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ และความ จำาเป็น
ในการทำาวิจัยที่เกี่ยวกับการรักษา หรือแม้กระทั่งการทำา
Systematic Review เข้ามา แพทย์ก็ต้องหันกลับมามอง
ว่าค้นแบบเดิมอาจจะช่วยตอบคำาถามในการรักษาได้ไม่ลุ่ม
ลึกเท่าที่ควร
            เทคนิคในการค้นสารสนเทศเพื่อสนับสนุน
ความก้าวหน้า ทางด้านการแพทย์ต่างๆ เหล่านี้ แพทย์อาจ
จะต้องคำานึงถึงประเด็นให้ชัดเจนก่อนทำาการสืบค้น เรียก
ว่าต้องสามารถตั้งประเด็นปัญหา ข้อคำาถามที่ชัดเจนอย่าง
เป็นกิจจะลักษณะเสียก่อน ซึงก็คือการทำาให้เรื่องนั้นๆ เป็น
                               ่
เชิงประจักษ์ก่อนนั่นเอง เช่น แพทย์จะต้องมีโจทย์อยู่ก่อน
แล้วว่ากำาลังจะรักษาโรคอะไร ด้วยวิธีการใด กลุมคนกลุ่ม
                                               ่
ใด และมีผลอย่างไร เหล่านี้เป็นต้น เมื่อแพทย์มีโจทย์แล้ว
จึงแยกประเด็น (Keyword) ที่จะค้นออกมาเป็นการตั้ง
คำาถาม ซึงคำาถามที่เกิดขึ้นนี้เราเรียกว่า PICO
          ่
PICO คืออะไร
          PICO คือ ประเภทของคำาถามที่จะนำาไปสู่ซึ่งคำา
ตอบที่ต้องการจากการสืบค้นหาข้อมูล ก่อนอื่นเรามารู้จัก
กับคำาเต็มของ PICO กันก่อน PICO นี้เรียกว่าเป็นสูตรของ
การตอบคำาถามเพื่อการรักษานั้น (Formulation and
Answerable Questions)
          P ย่อมาจากคำาว่า People, หรือ Patient หรือ
Problem นั่นคือโจทย์ทแพทย์จะนำาไปสืบค้นนั้นเป็นโรคที่
                      ี่
เกิดขึ้นกับคนกลุ่มไหน หรือเป็นปัญหา (Problem)
ประเภทไหน
           I ย่อมาจากคำาว่า Intervention นั่นคือจาก
ปัญหาดังกล่าวได้รับการรักษาอย่างไรหรือได้รับการ
วินิจฉัยโรคอย่างไร ด้วยวิธีการใด
           C ย่อมาจาก Comparator หมายถึง มีเหตุการณ์
หรือสถานการณ์ใดบ้างที่จะสามารถนำามาเปรียบเทียบกัน
ได้ในการรักษาเรื่องนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นโจทย์ที่แพทย์
ต้องการ ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับสิ่งที่แพทย์นั้นๆ กำาลัง
กระทำาอยู่ก็ได้
           O ย่อมาจากคำาว่า Outcome หรือผลการรักษา
ในโรคนั้นๆ หรือการแสวงหาผลตามคำาถามที่ต้องการคำา
ตอบว่ามีหรือไม่
การตั้งคำาถามนี้ แพทย์จะต้องเป็นผู้ที่ตั้งคำาถามไว้เพื่อการ
สืบค้นหรือแสวงหาคำาตอบ นั่นคือ อาจจะต้องใช้เทคนิคใน
การแสวงหาข้อมูลแบบพื้นฐานช่วยด้วยก็ได้
ขั้นตอนในการสืบค้น
           ในการค้นนั้นแพทย์รู้เนื้อหาหรือประเด็นที่จะค้น
แล้วจึงมาดูวิธีการสืบค้นบ้างว่าควรจะทำาอย่างไรจึงจะดี
ที่สุด ซึงอาจใช้วิธีการสืบค้นดังนี้
         ่
           1. จะต้องตั้งคำาถามทางด้านการรักษา ให้ถูกต้อง
ตาม PICO ซึ่งในเรื่องนี้แพทย์จะต้องตีประเด็นให้ถูกต้อง
ที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อการนำาไปทำา Systematic
Review ด้วยแล้ว PICO จะช่วยในการค้นหาสารสนเทศที่
ต้องการได้ใกล้เคียงมากกว่า
           2. วิเคราะห์วิธีการสืบค้นจากคำาถามนั้น นั่นคือเมื่อ
สามารถการนำาโจทย์จาก PICO มาใช้ค้นตาม Functions
นั่นเอง
           3. แสวงหาแหล่งที่เหมาะสม ซึงสำาคัญมากถ้า
                                          ่
หากได้แหล่งสารสนเทศ อาทิ ฐานข้อมูลที่สอดคล้องกับ
เนื้อหาที่ต้องการย่อมตอบสนองความต้องการได้ทั้งเชิง
คุณภาพและปริมาณ
          4. ใช้เทคนิคในการจับคู่คำาค้นกับแหล่งต่างๆ ใน
คำาค้นหนึ่งๆ อาจจะต้องใช้ค้นในหลายๆ แหล่งได้เช่นกัน
ว่ากันว่านักแสวงหาคือผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ในการ
แสวงหา สิ่งที่ตนต้องการทุกลู่ทาง
           5. หากข้อมูลที่ได้ยังกว้างอยู่ อาจจะต้องทำาการ
ค้น แบบ Combine Set ร่วมด้วย ในการสืบค้นเพื่อให้ได้
ผลการสืบค้นที่ได้ตรงประเด็นมากขึ้น
            6. บางครั้งอาจจะต้องทำาการกลั่นกรองผลการ
สืบค้นร่วมด้วยก็ได้ โดยการกำาหนดขอบเขตข้อมูลร่วมด้วย
ก็สามารถทำาได้
           ผลการสืบค้นในปัจจุบันนี้ นับได้ว่าอำานวยความ
สะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมหาศาล ผู้ใช้สามารถที่จะเลือกได้
ตามความต้องการ นับตั้งแต่ฐานข้อมูล แหล่งสารสนเทศ
หรือแม้กระทัง รูปแบบของสารสนเทศ จะเลือกประเภท
            ่
เฉพาะบรรณานุกรม หรือสาระสังเขป ตลอดจนเอกสาร
ฉบับเต็มก็สามารถจะทำาได้โดยง่าย
แหล่งสารสนเทศทางการแพทย์ที่ดี
             แหล่งสารสนเทศที่สนับสนุนการรักษาโรคแบบ
EBM นั้น ปัจจุบันนี้มีมากมาย แพทย์จะต้องเลือกให้เหมาะ
สม หากมีเวลามากพอก็ควรจะต้องศึกษาวิธีการใช้ฐาน
ข้อมูลให้ถ่องแท้ ฐานข้อมูลสมัยใหม่มักจะทำา Functions
ไว้เผื่อคุณลักษณะของการค้น หรือเผื่อพฤติกรรมส่วน
บุคคลไว้ด้วย เช่น หากมีเวลาไม่มาก ก็ทำา Quick search
ไว้ให้ ซึงแน่นอนที่สุด Quick search ก็คือการประมวลผล
         ่
หยาบๆ เท่านั้น ได้ข้อมูลที่กว้างๆ อาจตรงบ้างไม่ตรงบ้าง
บางทีอาจทำาให้เสียเวลาในการคัดเลือกสิ่งมี่ต้องการ
มากกว่า ดังนั้นตามประสบการณ์มักจะพบว่าแพทย์ส่วน
ใหญ่จะมีการค้นที่ละเอียดลอออย่างไม่น่าเชื่อ
แหล่งสารสนเทศที่ควรรู้จัก สำาหรับแพทย์
นั้นมีอยู่มากมาย นอกจากห้องสมุดแล้ว แหล่งสารสนเทศ
ที่สนับสนุน การค้นคว้าวิจัย หรือ EBM หรือ การทำา
Systematic Review นั้น อาจจะเริ่มต้นที่ Website ทีเป็น ่
Search Engine ก่อน เช่น Google, Yahoo, Hotbot,
Lycose, Guru ต่างๆ ก่อนก็ได้ ฐานข้อมูลทางด้านการ
แพทย์ และ วิทยาศาสตร์สุขภาพนั้นมีมากมายทั้งที่ให้
บริการฟรี และเป็นฐานข้อมูลที่ ห้องสมุดต้องเสียค่าใช้จ่าย
เพื่อเช่าลิขสิทธิ์การใช้ ฐานข้อมูลเหล่านี้จะมีความแตกต่าง
กันในเรื่อง
เนื้อหา และรูปแบบการนำาเสนอ ที่แพทย์จะต้องเป็นผู้เลือก
ใช้เอง บางครั้งการที่จะตัดสินว่าฐานไหนดีกว่าฐานไหน
เป็นเรื่องที่ยาก ด้วยความจำาเป็นในการใช้สอยไม่เหมือน
กัน และที่สำาคัญก็คือในขณะนี้ยังไม่มีฐานไหนที่สามารถ
รวบรวมข้อมูลได้ครบทุกเรื่องครบทุกสาขา ซึงถือว่าเป็น
                                                ่
เรื่องลำาบากใจของห้องสมุดในการจัดหามาไว้บริการ
เพราะอาจต้องจัดหามาหลายฐานเพื่อให้มีข้อมูลในการให้
บริการสมบูรณ์ขึ้น ทังๆ ที่ฐานข้อมูลเหล่านั้นมี่ข้อมูลบาง
                         ้
ส่วนที่ซำ้าซ้อนกัน แต่ก็ต้องเลือกเนื่องจากต้องการ ข้อมูล
ในส่วนที่ฐานอื่นๆ ไม่มี เป็นต้น นี่ก็เป็นเหตุผลความจำาเป็น
อย่างหนึ่งทีแพทย์จะต้องไม่ยึดเอาฐานใดฐานหนึ่งเป็น
              ่
หลักในการค้นข้อมูล แน่นอนที่สุด ท่านจะต้อง ทำาตัวเป็น
นักแสวงหาที่ดีที่สุดเท่าที่จะทำาได้ ฐานข้อมูลที่แพทย์ควร
รู้จักในปัจจุบันนี้ที่นิยมใช้เพื่อสนับสนุนการวิจัย EBM
,Systematic Review ในปัจจุบันพบในหลายฐาน แต่ที่
นิยมใช้กันก็จะได้แก่ The Cochrane library , Ovid ,
PubMed , UpToDate, CINAHL และคาดว่าในอนาคตก็
คงจะมีเข้ามา ให้เลือกใช้ อย่างมากมายตามพัฒนาการ
แห่งยุค อย่างไรก็ตามหรือหากท่านมีข้อสงสัยในการสืบค้น
ประการใด ก็สามารถติดต่อบรรณารักษ์ที่ห้องสมุดได้
ตลอดเวลาทำาการ

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลPreeyanush Rodthongyoo
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังChutchavarn Wongsaree
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 

Viewers also liked

PICO exercise
PICO exercise PICO exercise
PICO exercise IAU Dent
 
PICO question
PICO questionPICO question
PICO questionIAU Dent
 
What is PICO?
What is PICO?What is PICO?
What is PICO?Library
 
Evidence-Based Medicine for Obstetrics & Gynecology
Evidence-Based Medicine for Obstetrics & GynecologyEvidence-Based Medicine for Obstetrics & Gynecology
Evidence-Based Medicine for Obstetrics & GynecologyRobin Featherstone
 
Problem (how to form good research question)
Problem (how to form good research question)Problem (how to form good research question)
Problem (how to form good research question)metalkid132
 
Best tools for ebm
Best tools for ebmBest tools for ebm
Best tools for ebmsongsri
 
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writingการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writingsongsri
 
Acs0620 Lower Extremity Amputation For Ischemia
Acs0620 Lower Extremity Amputation For IschemiaAcs0620 Lower Extremity Amputation For Ischemia
Acs0620 Lower Extremity Amputation For Ischemiamedbookonline
 
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์DMS Library
 
Question formulation(pico)(2)
Question formulation(pico)(2)Question formulation(pico)(2)
Question formulation(pico)(2)BarryCRNA
 
Excellent team work.
Excellent team work.Excellent team work.
Excellent team work.songsri
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
Strategies For Answering Research Questions
Strategies For Answering Research QuestionsStrategies For Answering Research Questions
Strategies For Answering Research QuestionsRobin Featherstone
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 

Viewers also liked (20)

PICO exercise
PICO exercise PICO exercise
PICO exercise
 
PICO Research Question
PICO Research QuestionPICO Research Question
PICO Research Question
 
PICO question
PICO questionPICO question
PICO question
 
What is PICO?
What is PICO?What is PICO?
What is PICO?
 
Evidence-Based Medicine for Obstetrics & Gynecology
Evidence-Based Medicine for Obstetrics & GynecologyEvidence-Based Medicine for Obstetrics & Gynecology
Evidence-Based Medicine for Obstetrics & Gynecology
 
Problem (how to form good research question)
Problem (how to form good research question)Problem (how to form good research question)
Problem (how to form good research question)
 
Best tools for ebm
Best tools for ebmBest tools for ebm
Best tools for ebm
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writingการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
 
Acs0620 Lower Extremity Amputation For Ischemia
Acs0620 Lower Extremity Amputation For IschemiaAcs0620 Lower Extremity Amputation For Ischemia
Acs0620 Lower Extremity Amputation For Ischemia
 
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
 
Question formulation(pico)(2)
Question formulation(pico)(2)Question formulation(pico)(2)
Question formulation(pico)(2)
 
Evidence Based Medicine (Leonardo J. Sipahelut)
Evidence Based Medicine (Leonardo J. Sipahelut)Evidence Based Medicine (Leonardo J. Sipahelut)
Evidence Based Medicine (Leonardo J. Sipahelut)
 
Excellent team work.
Excellent team work.Excellent team work.
Excellent team work.
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
Research Question
Research QuestionResearch Question
Research Question
 
Evidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: PrognosisEvidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: Prognosis
 
Strategies For Answering Research Questions
Strategies For Answering Research QuestionsStrategies For Answering Research Questions
Strategies For Answering Research Questions
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 

Similar to PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา

เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...
วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...
วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...pitsanu duangkartok
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009DMS Library
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canadasoftganz
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 

Similar to PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา (20)

เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...
วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...
วิธีการพื้นฐานของระบบและการค้นหาทางเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ( Basic Systema...
 
SN203 Unit8
SN203 Unit8SN203 Unit8
SN203 Unit8
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
Literature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency MedicineLiterature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency Medicine
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 

More from songsri

Work&goal
Work&goalWork&goal
Work&goalsongsri
 
การบริการเหนือความคาดหวัง
การบริการเหนือความคาดหวังการบริการเหนือความคาดหวัง
การบริการเหนือความคาดหวังsongsri
 
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่songsri
 
งานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศงานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศsongsri
 
บุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงานบุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงานsongsri
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศsongsri
 
LC Classification system
LC Classification systemLC Classification system
LC Classification systemsongsri
 
Training review
Training reviewTraining review
Training reviewsongsri
 
Evidence based medicine
Evidence based medicineEvidence based medicine
Evidence based medicinesongsri
 
แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...songsri
 
มารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกมารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกsongsri
 
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศเทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศsongsri
 
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพการจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพsongsri
 
บริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebmบริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebmsongsri
 
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU ThailandPerformance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailandsongsri
 
USA study tour
USA study tourUSA study tour
USA study toursongsri
 
Positive thinking in the library
 Positive thinking in the library Positive thinking in the library
Positive thinking in the librarysongsri
 
Friendship on speech
Friendship on speechFriendship on speech
Friendship on speechsongsri
 
Searching Annaul Review
Searching Annaul ReviewSearching Annaul Review
Searching Annaul Reviewsongsri
 

More from songsri (20)

Lean
LeanLean
Lean
 
Work&goal
Work&goalWork&goal
Work&goal
 
การบริการเหนือความคาดหวัง
การบริการเหนือความคาดหวังการบริการเหนือความคาดหวัง
การบริการเหนือความคาดหวัง
 
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
 
งานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศงานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศ
 
บุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงานบุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงาน
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
 
LC Classification system
LC Classification systemLC Classification system
LC Classification system
 
Training review
Training reviewTraining review
Training review
 
Evidence based medicine
Evidence based medicineEvidence based medicine
Evidence based medicine
 
แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...
 
มารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกมารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขก
 
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศเทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
 
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพการจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
 
บริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebmบริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebm
 
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU ThailandPerformance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
 
USA study tour
USA study tourUSA study tour
USA study tour
 
Positive thinking in the library
 Positive thinking in the library Positive thinking in the library
Positive thinking in the library
 
Friendship on speech
Friendship on speechFriendship on speech
Friendship on speech
 
Searching Annaul Review
Searching Annaul ReviewSearching Annaul Review
Searching Annaul Review
 

PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา

  • 1. PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการ รักษา ส่งศรี ดีศรีแก้ว ในขณะที่การบริโภคข้อมูลข่าวสาร กลายมาเป็น ความจำาเป็นในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของคนยุคใหม่ โดยเฉพาะในวงการแพทย์ด้วยแล้ว นอกจากประสบการณ์ ส่วนตัว ที่หาความรู้จากการเล่าเรียนมาอย่างหนักหน่วง ผนวกกับทักษะในการรักษาโรค นับได้ว่าเป็นตัวอย่างของ นิยามแห่งการศึกษาตลอดชีวิตเลยทีเดียว แต่อย่างไร ก็ตาม ในปัจจุบันแพทย์ยังต้องเกาะติดข่าวสารข้อมูล สารสนเทศในการรักษาโรคอย่างใกล้ชิด เพื่อคุณภาพของ การรักษาโรคต่างๆทั้งในด้านความก้าวหน้าทางการรักษา พยาบาล และนวัตกรรมใหม่ๆ ทางการแพทย์อีกด้วย แหล่งสารสนเทศต่างๆ ทีแพทย์จะแสวงหานั้นมี ่ มากมาย ทั้งที่เป็นแหล่งสารสนเทศเฉพาะทางและแหล่ง สาธารณะ แหล่งสารสนเทศต่างๆ เหล่านี้ ก็มีคณภาพแตก ุ ต่างกัน ตลอดจนมีความหลากหลายในเรื่องของสาระ รูป แบบที่แต่ละแห่งนำาเสนอ ซึ่งผู้ใช้จะต้องใช้วิจารณญาณใน การเลือกหยิบมาใช้ให้ตรงกับความต้องการและมีความน่า เชื่อถือเอาเอง สมัยก่อนโน้นผู้ใช้จะเคยชินกับการค้นที่ โปรแกรมของแต่ละแหล่งออกแบบมาให้ เพื่ออำานวยความ สะดวก ทีเห็นกันอยู่บ่อยๆ ก็จะมีอยู่ สองประเภทคือ การ ่ สืบค้นแบบง่าย (Basic search) และค้นแบบ ซับซ้อน (Advanced search) ตลอดจนการค้นตามแบบฉบับของ บัตรรายการ ซึ่งอาจมีทางเลือกในการเข้าค้นฐานข้อมูลที่ คุ้นเคยเท่านั้น อันได้แก่ การค้นจากชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัว เรื่อง หรือปัจจุบันนี้ได้เพิ่มช่องทางในการสืบค้นมากขึ้น
  • 2. อาทิ ค้นจาก คำาสำาคัญ ISBN/ ISSN หรืออื่นๆ เช่นการเพิ่ม เทคนิคการใช้ Boolean operators (And Or Not) เข้ามา ช่วยในการกำาหนดคำาค้นตามเงื่อนไข เพื่อให้ได้ผลของการ สืบค้น สารสนเทศได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้ มากขึ้น แต่เมื่อกระแสของ EBM (Evidence-Based Medicine) หรือเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ และความ จำาเป็น ในการทำาวิจัยที่เกี่ยวกับการรักษา หรือแม้กระทั่งการทำา Systematic Review เข้ามา แพทย์ก็ต้องหันกลับมามอง ว่าค้นแบบเดิมอาจจะช่วยตอบคำาถามในการรักษาได้ไม่ลุ่ม ลึกเท่าที่ควร เทคนิคในการค้นสารสนเทศเพื่อสนับสนุน ความก้าวหน้า ทางด้านการแพทย์ต่างๆ เหล่านี้ แพทย์อาจ จะต้องคำานึงถึงประเด็นให้ชัดเจนก่อนทำาการสืบค้น เรียก ว่าต้องสามารถตั้งประเด็นปัญหา ข้อคำาถามที่ชัดเจนอย่าง เป็นกิจจะลักษณะเสียก่อน ซึงก็คือการทำาให้เรื่องนั้นๆ เป็น ่ เชิงประจักษ์ก่อนนั่นเอง เช่น แพทย์จะต้องมีโจทย์อยู่ก่อน แล้วว่ากำาลังจะรักษาโรคอะไร ด้วยวิธีการใด กลุมคนกลุ่ม ่ ใด และมีผลอย่างไร เหล่านี้เป็นต้น เมื่อแพทย์มีโจทย์แล้ว จึงแยกประเด็น (Keyword) ที่จะค้นออกมาเป็นการตั้ง คำาถาม ซึงคำาถามที่เกิดขึ้นนี้เราเรียกว่า PICO ่ PICO คืออะไร PICO คือ ประเภทของคำาถามที่จะนำาไปสู่ซึ่งคำา ตอบที่ต้องการจากการสืบค้นหาข้อมูล ก่อนอื่นเรามารู้จัก กับคำาเต็มของ PICO กันก่อน PICO นี้เรียกว่าเป็นสูตรของ การตอบคำาถามเพื่อการรักษานั้น (Formulation and Answerable Questions) P ย่อมาจากคำาว่า People, หรือ Patient หรือ Problem นั่นคือโจทย์ทแพทย์จะนำาไปสืบค้นนั้นเป็นโรคที่ ี่
  • 3. เกิดขึ้นกับคนกลุ่มไหน หรือเป็นปัญหา (Problem) ประเภทไหน I ย่อมาจากคำาว่า Intervention นั่นคือจาก ปัญหาดังกล่าวได้รับการรักษาอย่างไรหรือได้รับการ วินิจฉัยโรคอย่างไร ด้วยวิธีการใด C ย่อมาจาก Comparator หมายถึง มีเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ใดบ้างที่จะสามารถนำามาเปรียบเทียบกัน ได้ในการรักษาเรื่องนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นโจทย์ที่แพทย์ ต้องการ ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับสิ่งที่แพทย์นั้นๆ กำาลัง กระทำาอยู่ก็ได้ O ย่อมาจากคำาว่า Outcome หรือผลการรักษา ในโรคนั้นๆ หรือการแสวงหาผลตามคำาถามที่ต้องการคำา ตอบว่ามีหรือไม่ การตั้งคำาถามนี้ แพทย์จะต้องเป็นผู้ที่ตั้งคำาถามไว้เพื่อการ สืบค้นหรือแสวงหาคำาตอบ นั่นคือ อาจจะต้องใช้เทคนิคใน การแสวงหาข้อมูลแบบพื้นฐานช่วยด้วยก็ได้ ขั้นตอนในการสืบค้น ในการค้นนั้นแพทย์รู้เนื้อหาหรือประเด็นที่จะค้น แล้วจึงมาดูวิธีการสืบค้นบ้างว่าควรจะทำาอย่างไรจึงจะดี ที่สุด ซึงอาจใช้วิธีการสืบค้นดังนี้ ่ 1. จะต้องตั้งคำาถามทางด้านการรักษา ให้ถูกต้อง ตาม PICO ซึ่งในเรื่องนี้แพทย์จะต้องตีประเด็นให้ถูกต้อง ที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อการนำาไปทำา Systematic Review ด้วยแล้ว PICO จะช่วยในการค้นหาสารสนเทศที่ ต้องการได้ใกล้เคียงมากกว่า 2. วิเคราะห์วิธีการสืบค้นจากคำาถามนั้น นั่นคือเมื่อ สามารถการนำาโจทย์จาก PICO มาใช้ค้นตาม Functions นั่นเอง 3. แสวงหาแหล่งที่เหมาะสม ซึงสำาคัญมากถ้า ่ หากได้แหล่งสารสนเทศ อาทิ ฐานข้อมูลที่สอดคล้องกับ
  • 4. เนื้อหาที่ต้องการย่อมตอบสนองความต้องการได้ทั้งเชิง คุณภาพและปริมาณ 4. ใช้เทคนิคในการจับคู่คำาค้นกับแหล่งต่างๆ ใน คำาค้นหนึ่งๆ อาจจะต้องใช้ค้นในหลายๆ แหล่งได้เช่นกัน ว่ากันว่านักแสวงหาคือผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ในการ แสวงหา สิ่งที่ตนต้องการทุกลู่ทาง 5. หากข้อมูลที่ได้ยังกว้างอยู่ อาจจะต้องทำาการ ค้น แบบ Combine Set ร่วมด้วย ในการสืบค้นเพื่อให้ได้ ผลการสืบค้นที่ได้ตรงประเด็นมากขึ้น 6. บางครั้งอาจจะต้องทำาการกลั่นกรองผลการ สืบค้นร่วมด้วยก็ได้ โดยการกำาหนดขอบเขตข้อมูลร่วมด้วย ก็สามารถทำาได้ ผลการสืบค้นในปัจจุบันนี้ นับได้ว่าอำานวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมหาศาล ผู้ใช้สามารถที่จะเลือกได้ ตามความต้องการ นับตั้งแต่ฐานข้อมูล แหล่งสารสนเทศ หรือแม้กระทัง รูปแบบของสารสนเทศ จะเลือกประเภท ่ เฉพาะบรรณานุกรม หรือสาระสังเขป ตลอดจนเอกสาร ฉบับเต็มก็สามารถจะทำาได้โดยง่าย แหล่งสารสนเทศทางการแพทย์ที่ดี แหล่งสารสนเทศที่สนับสนุนการรักษาโรคแบบ EBM นั้น ปัจจุบันนี้มีมากมาย แพทย์จะต้องเลือกให้เหมาะ สม หากมีเวลามากพอก็ควรจะต้องศึกษาวิธีการใช้ฐาน ข้อมูลให้ถ่องแท้ ฐานข้อมูลสมัยใหม่มักจะทำา Functions ไว้เผื่อคุณลักษณะของการค้น หรือเผื่อพฤติกรรมส่วน บุคคลไว้ด้วย เช่น หากมีเวลาไม่มาก ก็ทำา Quick search ไว้ให้ ซึงแน่นอนที่สุด Quick search ก็คือการประมวลผล ่ หยาบๆ เท่านั้น ได้ข้อมูลที่กว้างๆ อาจตรงบ้างไม่ตรงบ้าง บางทีอาจทำาให้เสียเวลาในการคัดเลือกสิ่งมี่ต้องการ มากกว่า ดังนั้นตามประสบการณ์มักจะพบว่าแพทย์ส่วน ใหญ่จะมีการค้นที่ละเอียดลอออย่างไม่น่าเชื่อ
  • 5. แหล่งสารสนเทศที่ควรรู้จัก สำาหรับแพทย์ นั้นมีอยู่มากมาย นอกจากห้องสมุดแล้ว แหล่งสารสนเทศ ที่สนับสนุน การค้นคว้าวิจัย หรือ EBM หรือ การทำา Systematic Review นั้น อาจจะเริ่มต้นที่ Website ทีเป็น ่ Search Engine ก่อน เช่น Google, Yahoo, Hotbot, Lycose, Guru ต่างๆ ก่อนก็ได้ ฐานข้อมูลทางด้านการ แพทย์ และ วิทยาศาสตร์สุขภาพนั้นมีมากมายทั้งที่ให้ บริการฟรี และเป็นฐานข้อมูลที่ ห้องสมุดต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อเช่าลิขสิทธิ์การใช้ ฐานข้อมูลเหล่านี้จะมีความแตกต่าง กันในเรื่อง เนื้อหา และรูปแบบการนำาเสนอ ที่แพทย์จะต้องเป็นผู้เลือก ใช้เอง บางครั้งการที่จะตัดสินว่าฐานไหนดีกว่าฐานไหน เป็นเรื่องที่ยาก ด้วยความจำาเป็นในการใช้สอยไม่เหมือน กัน และที่สำาคัญก็คือในขณะนี้ยังไม่มีฐานไหนที่สามารถ รวบรวมข้อมูลได้ครบทุกเรื่องครบทุกสาขา ซึงถือว่าเป็น ่ เรื่องลำาบากใจของห้องสมุดในการจัดหามาไว้บริการ เพราะอาจต้องจัดหามาหลายฐานเพื่อให้มีข้อมูลในการให้ บริการสมบูรณ์ขึ้น ทังๆ ที่ฐานข้อมูลเหล่านั้นมี่ข้อมูลบาง ้ ส่วนที่ซำ้าซ้อนกัน แต่ก็ต้องเลือกเนื่องจากต้องการ ข้อมูล ในส่วนที่ฐานอื่นๆ ไม่มี เป็นต้น นี่ก็เป็นเหตุผลความจำาเป็น อย่างหนึ่งทีแพทย์จะต้องไม่ยึดเอาฐานใดฐานหนึ่งเป็น ่ หลักในการค้นข้อมูล แน่นอนที่สุด ท่านจะต้อง ทำาตัวเป็น นักแสวงหาที่ดีที่สุดเท่าที่จะทำาได้ ฐานข้อมูลที่แพทย์ควร รู้จักในปัจจุบันนี้ที่นิยมใช้เพื่อสนับสนุนการวิจัย EBM ,Systematic Review ในปัจจุบันพบในหลายฐาน แต่ที่ นิยมใช้กันก็จะได้แก่ The Cochrane library , Ovid , PubMed , UpToDate, CINAHL และคาดว่าในอนาคตก็ คงจะมีเข้ามา ให้เลือกใช้ อย่างมากมายตามพัฒนาการ แห่งยุค อย่างไรก็ตามหรือหากท่านมีข้อสงสัยในการสืบค้น ประการใด ก็สามารถติดต่อบรรณารักษ์ที่ห้องสมุดได้ ตลอดเวลาทำาการ