SlideShare a Scribd company logo
63 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
ขวัญชนก แก้วสี
1
รุจโรจน์ แก้วอุไร 2
บทคัดย่อ
การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลสําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการ
ให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล
ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนและเพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนภายหลังที่เข้าร่วมกิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนองค์การ
อุตสาหกรรมป่าไม้ 2 ที่กําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน 30คน โดยใช้วิธีการเลือก
แบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรมที่ผู้วิจัย
สร้างขึ้นฉบับละ 20 ข้อแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ จํานวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent และผลการวิจัยสรุปได้ว่า
1. ผลการสร้างและประเมินแผนการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี 4 กิจกรรม ซึ่งประกอบไปด้วยกิจกรรมที่ 1 คณิต
คิดเพลิน กิจกรรมที่ 2 แก้ปัญหาตามสถานการณ์ กิจกรรมที่3เส้นทางนักคิดกิจกรรมที่ 4 สามัคคีคือพลัง ใช้
เวลาในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ รวม8 ชั่วโมง โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.52 สําหรับแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลก่อนการทดลองและหลัง
การทดลอง
2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลของนักเรียนก่อนการ
ทดลองและหลังการทดลอง พบว่าความสามารถในการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลของนักเรียนหลังการ
ทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
3. ผลการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน โดยใช้แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
พบว่านักเรียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับมากที่สุดเป็นส่วนใหญ่
MATH CAMP ACTIVITY FOR DEVELOPMENT SOLVING
AND REASONING SKILLS FOR MATTAYOMSUKSA 3 STUDENTS
KwanchanokKaewseeRujaroadKaewurai
1
นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร, ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 64
ABSTRACT
Math Camp activity for development solving and reasoning skills for Mattayomsuksa3
students have objective were 1) to development solving and reasoning skills for
Matthayomsuksa 3 students 2) to study solving ability and reasoning skills for Matthayomsuksa 3
students and 3) to study attitude for mathematics of students after Math Camp activity.
Samples were 30 Matthayomsuksa 3 students of ongkanusahakampamai 2 school who
were studying in second semester in academic year 2012. They were selected by
purposive sampling. Research instrument are Math Camp activities for development
solving and reasoning skills for Mattayomsuksa 3 students by researcher, solving and
reasoning skills test (pre-test and post-test) and 20 item for attitude to mathematics test.
Data were analysis by mean, standard deviation and t-test dependent.Theresult shown
as follow;
1) Creation and evaluation plan for camp math skills to solve problems and
reasoning for Mattayomsuksa 3 students have four activities are basic mathematic ideas,
solve follow situation, routes thinkers and unity is power. Take on math camp activities
include 8 hours with mean values equal to 4.60 and standard deviation of 0.52. A test of
problem-solving skills and reasoning pretest and posttest.
2) The result of compared problem solving and reasoning for students pretest
and posttest found posttest higher pretest statistically significant at .05 level, which is
based on the assumptions set.
3) The result ofstudy attitude to mathematic of students by attitude math test
found most of students have attitude to mathematic at highest level.
ความเป็นมาของปัญหา
ในปัจจุบันคณิตศาสตร์ได้เข้ามามี
บทบาทต่อชีวิตประจําวันมากขึ้นไม่ว่าจะเป็น
งานทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เศรษฐกิจ
และสังคมศาสตร์ ตลอดจนเป็นพื้นฐานของการ
ค้นคว้าวิจัยทุกประเภทและยังมีบทบาทสําคัญ
ต่อวงการศึกษา ดังนั้นในหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551จึงได้กําหนด
ความสําคัญของคณิตศาสตร์ไว้ว่าคณิตศาสตร์
มีบทบาทสําคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์
ทําให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมี
เหตุผลเป็นระบบระเบียบ มีแบบแผนสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน
รอบคอบ ช่วยให้สามารถคาดการณ์วางแผน
ตัดสินใจแก้ปัญหาและนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จากรายงานผลการ
ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ปีการศึกษา 2554 พบว่า
ระดับชาติได้คะแนนเฉลี่ย 32.08 และระดับเขต
พื้นที่ได้คะแนนเฉลี่ย29.66ซึ่งเป็นผลสืบ
เนื่องมาจากนักเรียนส่วนใหญ่มีข้อบกพร่องใน
เรื่องการแก้ปัญหามากที่สุด(สํานักทดสอบทาง
การศึกษา, 2554) สาเหตุหนึ่งที่ทําให้การจัดการ
63 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
เรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมาไม่ประสบ
ผลสําเร็จก็คือ การเลือกใช้วิธีสอนที่ไม่เหมาะสม
และขาดประสิทธิภาพ เพราะวิชาคณิตศาสตร์
เป็นวิชาที่ค่อนข้างยากการที่จะจัดการเรียนการ
สอนให้ผู้เรียนเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด
ในสาระเนื้อหาวิชาจําเป็นที่ครูผู้สอนจะต้องใช้วิธี
สอนที่หลากหลายเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและ
เนื้อหาสาระเพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียนและ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างเต็ม
ศักยภาพและฝึกฝนความรับผิดชอบในหน้าที่
ตลอดจนพัฒนาทักษะทางสังคมอันจะทําให้
ผู้เรียนสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
(จักรี วัฒนะ, 2548, น. 2)
การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีอายุอยู่
ในช่วงอายุ11–15 ปี ซึ่งเด็กวัยนี้จะมีพัฒนาการ
ทางด้านความรู้ ความเข้าใจถึงระดับสูงสุดและมี
ความสามารถที่จะคิดอย่างมีเหตุผลกับปัญหา
ทุกชนิด สามารถแก้ปัญหาอย่างมีระบบระเบียบ
สามารถคิดถึงตัวแปรต่างๆ ได้ในเวลาเดียวกัน
สามารถนําหลักการไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ
ได้เริ่มมีความคิดแบบผู้ใหญ่ สามารถคิดหา
เหตุผลนอกเหนือจากข้อมูลที่มีอยู่ และสามารถ
พัฒนาจากความคิดรูปธรรมสู่ความคิด
กึ่งรูปธรรมจนกระทั่งสามารถใช้ความคิด
นามธรรมได้(พรรณี ช.เจนจิต, 2538,น.137-147)
นอกจากนั้นการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
ยังช่วยทําให้ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของ
ผู้เรียนดีขึ้น(เยาวเรศ จตุรพรสวัสดิ์, 2543,น.47)
จากปัญหาและความเป็นมาในข้างต้น
เพื่อจะส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 6 มาตรฐาน 6.1
ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนากิจกรรมประเภทต่างๆ
ประกอบการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ และ
นําผลการวิจัยนี้มาเป็นแนวทางในการพัฒนา
ทักษะ/กระบวนการการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
ทางคณิตศาสตร์และเจตคติที่ดีของผู้เรียนที่มีต่อ
วิชาคณิตศาสตร์
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อสร้างและประเมินกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3
2. เพื่อศึกษาความสามารถในการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของ
นักเรียน
3. เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนภายหลังที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์
ความสําคัญของการวิจัย
ผลการวิจัยครั้งนี้มีความสําคัญดังนี้
1. เป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์
2. ได้แผนกระบวนการจัดค่าย
คณิตศาสตร์
3. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล
4. ส่งเสริมให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ
วิชาคณิตศาสตร์
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน
1.สร้างและประเมินแผนกิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล โดยผู้วิจัยได้
กําหนดขอบเขตของการวิจัยประกอบด้วย
ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล เนื้อหาดังนี้
ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูลในการประเมิน
กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ครั้งนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญ
จํานวน 5 คน ศึกษานิเทศก์และครูชํานาญการ
ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 64
พิเศษจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 2
ขอบเขตด้านเนื้อหา
เนื้อหาที่นํามาใช้เป็นเนื้อหาใน
การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ได้แก่เนื้อหา
คณิตศาสตร์ไม่เกินระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ขั้นนํากิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อ
ศึกษาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลไป
ทดลอง และศึกษาเจตคติ โดยผู้วิจัยได้กําหนด
ขอบเขตของการวิจัยประกอบด้วย ขอบเขตด้าน
ประชากร เนื้อหาและตัวแปรที่จะศึกษาดังนี้
ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 2ที่กําลังศึกษาใน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน30 คน
ขอบเขตด้านเนื้อหา
เนื้อหาที่นํามาใช้เป็นเนื้อหาใน
การสร้างแบบทดสอบทักษะการแก้ปัญหาและ
การให้เหตุผล ได้แก่ เนื้อหาคณิตศาสตร์ไม่เกิน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ขอบเขตด้านตัวแปร
ตัวแปรต้น คือ
1.กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
ตัวแปรตาม คือ
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผล
2. เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ของนักเรียน
วิธีดําเนินการวิจัย
1.สร้างและประเมินกิจกรรมของค่าย
คณิตศาสตร์
1.1 ศึกษากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
ศึกษารายละเอียดวิธีการสร้างกิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์จากเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
1.2 วิเคราะห์
1.2.1 เนื้อหา เป็นเนื้อคณิตศาสตร์ ระดับ
มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จากหนังสือแบบเรียนของ
สสวท.หนังสืออ่านประกอบเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ในด้านทักษะการแก้ปัญหาการให้เหตุผล
หนังสือเกี่ยวกับเกมคณิตศาสตร์คณิตคิดสนุก
วารสารคณิตศาสตร์เอกสารต่างๆ
1.2.2 กิจกรรมเป็นกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล กิจกรรม
นันทนาการกิจกรรมเวียนตามฐานให้นักเรียนทุกคน
มีส่วนร่วมแต่ละกิจกรรมจะเน้นให้นักเรียน สังเกต
รวบรวม การให้เหตุผล สนับสนุนหรือคัดค้าน
รวมถึงฝึกการแก้ปัญหาการให้เหตุผล
1.2.3 สื่อในการจัดกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาและการให้
เหตุผลได้แก่
- สื่อใช้ในกิจกรรมนันทนาการ
เช่น กลอง ลูกบอลเครื่องขยายเสียงหนังสือและ
เพลงคณิตศาสตร์
- สื่อใช้ในกิจกรรมแต่ละฐาน
ใบกิจกรรม เชือก ฝาน้ําอัดลม
1.2.4 การวัดและประเมินผล
- วัดและประเมินผลจากคะแนน
ในการทําแบบทดสอบก่อนและหลังการเข้าร่วม
กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผล
-วัดและประเมินผลจากการ
สังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรมแต่ละกิจกรรม
ของนักเรียน
-วัดและประเมินผลจากการ
บันทึกวิธีการคิด การแก้ปัญหา และการให้
เหตุผลในแต่ละกิจกรรมที่นักเรียนบันทึกลงในใบ
กิจกรรม
65 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
1.3 ออกแบบค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
1.3.1 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลการสร้าง
กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์โดยยึดเนื้อหาวิชา
คณิตศาสตร์ไม่เกินระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3
1.3.2 แบบทดสอบการแก้ปัญหาและ
การให้เหตุผล สร้างแบบทดสอบการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผลแบบอัตนัย20 ข้อและแบบ
ปรนัย20 ข้อรวม40 ข้อจํานวน2 ฉบับคือก่อนการ
จัดกิจกรรมค่ายและหลังการจัดกิจกรรมค่ายโดย
แบบทดสอบทั้งสองฉบับเป็นแบบทดสอบแบบ
คู่ขนาน
1.3.3 แ บ บ วั ด เ จ ต ค ติ ต่ อ วิ ช า
คณิตศาสตร์สร้างแบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้สึก
และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อวิชา
คณิตศาสตร์ศึกษาแบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ที่ออกแบบและพัฒนาโดยเยาวเรศจตุ
รพรสวัสดิ์ (2543, น.81)แล้วนํามาปรับให้เหมาะสม
กับการวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ในกิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์
1.4. ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
1.4.1 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
1.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและภาษาที่ใช้
นําไปปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
2.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ใน
ข้อที่1ให้ผู้เชี่ยวชาญจํานวน5คนเพื่อตรวจสอบความ
ถูกต้องและความเหมาะสมพร้อมประเมินความ
เหมาะสมของชุดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
1.4.2 แบบทดสอบการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผล
1.นําแบบทดสอบวัดทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล เสนออาจารย์ที่
ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา
ภาษาที่ใช้ และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
2. นําแบบทดสอบวัดทักษะ
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผลในข้อ1 ไปให้
ผู้เชี่ยวชาญจํานวน5คนเพื่อประเมินความเหมาะสม
พร้อมทั้งให้ข้อคิดเห็นและเสนอข้อแนะนําไป
ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
1.4.3 แบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์
1.นําแบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ที่ปรับแล้วเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาภาษาที่ใช้
และนําไปปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
2. นําแบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์จากข้อ1 ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ5คน
พิจารณาเชิงโครงสร้าง แล้วปรับปรุงแก้ไขแบบ
วัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ตามคําแนะนําของ
ผู้เชี่ยวชาญ
1.5 ปรับปรุง
1.5.1กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
1.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่ผ่าน
ตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ มาปรับปรุงแก้ไข
และนําไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ซึ่งไม่ใช่กลุ่มทดลอง แล้วนําผลจากการ
ทดลองใช้มาปรับปรุงแก้ไข
2.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่ผ่านการ
ปรับปรุงและแก้ไขแล้วมาจัดทําเป็นฉบับสมบูรณ์เพื่อ
นําไปใช้ในการวิจัยต่อไป
ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 66
1.5.2แบบทดสอบการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผล
1.นําแบบทดสอบวัดทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่ได้รับการประเมิน
จากผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความ
สอดคล้อง (IOC)
2.นําแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผลในข้อ1นําไปทดลองใช้กับ
นักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเคยเรียนเนื้อหา
เรื่องนี้มาแล้วเพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบวัด
ทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
3. นําแบบทดสอบวัดทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่นักเรียนทํามาแล้ว
มาวิเคราะห์เป็นรายข้อเพื่อหาค่าความยากง่าย
และค่าอํานาจจําแนกของข้อสอบแต่ละข้อแล้ว
เลือกแบบทดสอบที่มีค่าอํานาจจําแนก(B) ตั้งแต่
0.2ขึ้นไป และค่าความยากง่าย(P)ระหว่าง 0.2-
0.8 คัดเลือกแบบทดสอบไว้ฉบับละ20 ข้อ แยก
เป็นปรนัย10 ข้อ และอัตนัย 10 ข้อ
4. นําแบบทดสอบวัดทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล มาจัดพิมพ์เพื่อ
นําไปทดลองทําการวิจัยต่อไป
1.5.3แบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์
นําแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ที่แก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
(α - Coefficient)ของครอนบัค(Cronbach)ค่าความเชื่อมั่น
เท่ากับ0.72
2. ดําเนินการทดลอง
การดําเนินการทดลองกับนักเรียน
กลุ่มตัวอย่าง มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
2.1 ศึกษาความสามารถในการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล
1. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
ทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
2.หลังเข้าร่วมกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทดสอบวัด
ทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
การวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยดําเนินการ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทาง
คอมพิวเตอร์เปรียบเทียบความแตกต่างของ
คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาและการ
ให้เหตุผลก่อนการทดลองกับหลังการทดลอง
โดยใช้ t-test แบบdependent samples
2.2 ศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบ
แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์การวิเคราะห์
ข้อมูลผู้วิจัยดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
โปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ประเมินผล
เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการเข้าร่วมกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1.สถิติพื้นฐาน
1.1 ค่าเฉลี่ย (X )คํานวณจากสูตร
(ล้วน สายยศ,2538, น. 210-211)
1.2 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) คํานวณจากสูตร(ล้วน สายยศ,2538,
น. 210-211)
2.สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ
ของเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
2.1สถิติเพื่อตรวจสอบความตรงเชิง
เนื้อหาโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
แบบทดสอบกับจุดประสงค์(ล้วน สายยศ,2538,
น. 210-211)
2.2การหาค่าความยากง่าย(P) ของ
แบบทดสอบ(ล้วน สายยศ, 2538,
น. 210-211)
2.3การหาค่าอํานาจจําแนก(B)
ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
(ล้วน สายยศ, 2538, น. 210 - 211)
67 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
2.4 หาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัด
เจตคติทั้งฉบับใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา
(Alpha Corffectient)ของครอนบาค
(สมนึกภัททิยธนี, 2546, น. 88)
3. สถิติในการทดสอบสมมุติฐานคือ
ใช้ t - test แบบ dependent samples (ล้วน
สายยศ,2538, น.165)
สรุปผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.ผลการสร้างและประเมินแผนกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และ
การให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 มี 4 กิจกรรม ซึ่งประกอบไปด้วยกิจกรรมที่1คณิต
คิดเพลินกิจกรรมที่2แก้ปัญหาตามสถานการณ์
กิจกรรมที่3เส้นทางนักคิดกิจกรรมที่ 4สามัคคี
คือพลังใช้เวลาในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์รวม
8ชั่วโมงผู้เชี่ยวชาญจํานวน5ท่านได้ประเมินความ
เหมาะสมของกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์กับ
วัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรมผลปรากฏว่า
ความเหมาะสมของกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กิจกรรมต่างๆ
มีความเหมาะสมมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52
2.ผลการเปรียบเทียบความสามารถใน
การแก้ปัญหา และการให้เหตุผลของนักเรียน
ก่อนการทดลองและหลังการทดลองพบว่า
ความสามารถในการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
ของนักเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ
ทดลอง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
3.ผลการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนโดยใช้แบบวัดเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนมีเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับมากที่สุดต่อส่วนใหญ่
ของคําถามในเชิงนิมานและมีเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์อยู่ในระดับน้อยต่อส่วนใหญ่ของ
คําถามในเชิงนิเสธ ในภาพรวมแล้วนักเรียนมีเจตคติ
ต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย
รวมเท่ากับ3.72 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.59
อภิปรายผล
จากการทดลองการใช้กิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 นํามาอภิปรายผลได้ดังนี้
1.กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนา
ทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลสําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี
ความเหมาะสมในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย
เลขคณิตเท่ากับ 4.60และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ0.52มีความเหมาะสมที่จะ
นําไปใช้จัดค่ายคณิตศาสตร์ทั้งนี้อาจมีผลมาจาก
กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
ออกแบบเนื้อหาเหมาะสมกับวัยของผู้เรียนมี
กิจกรรมที่หลากหลายอาทิเช่น กิจกรรมนันทนาการ
มีการฝึกสมองซีกซ้ายและซีกขวา กิจกรรมปรบมือ
จํานวนคู่จํานวนคี่ การคิดท่าประกอบเพลงคณิตศาสตร์
ประจํากลุ่ม และให้นักเรียนได้ฝึกแก้ปัญหาและ
ฝึกการให้เหตุผลโดยใช้สื่อและอุปกรณ์ในชุด
กิจกรรมที่จัดเตรียมไว้ให้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด
ของชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล(2540,น.6)กล่าวว่ากิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์เป็นการศึกษาคณิตศาสตร์
นอกห้องเรียนโดยจัดให้นักเรียนได้เข้ามาร่วม
กิจกรรม ณ ที่ใดที่หนึ่ง ในช่วงเวลาที่กําหนดให้
พร้อมทั้งมีการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการและ
นันทนาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางคณิตศาสตร์
ทักษะกระบวนการประสบการณ์ตรงทางด้าน
คณิตศาสตร์ในสภาพแวดล้อมที่จัดให้และ
ส่งเสริมให้มีความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
2. ผลการศึกษาความสามารถในการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล ก่อนการทดลอง
และหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน
ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 68
ที่ตั้งไว้ โดยนักเรียนที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์ที่พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและ
การให้เหตุผลสําหรับที่ฝึกกระบวนการแก้ปัญหา
โดยใช้กิจกรรมต่างๆมีความสามารถในการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผลหลังการทดลองสูงกว่าก่อน
การทดลองทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก
2.1 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3เปิดโอกาส
ให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ภายในกลุ่มในการแก้ปัญหาของโจทย์
2.2 นักเรียนส่วนใหญ่มีความสนใจใน
การทํากิจกรรม เพราะมีอุปกรณ์ที่หลากหลายใน
แต่ละกิจกรรม อาทิเช่น ลูกบอล เชือก ฝาน้ําอัดลม
กลอง เครื่องเสียง หนังสือ เพลงคณิตศาสตร์
ใบกิจกรรม รูปภาพที่จะช่วยกระตุ้นให้นักเรียน
ได้คิดแก้ปัญหาและให้เหตุผล
3.ผลการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
โดยการวัดและประเมินผลจากการทําแบบวัด
เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนปรากฏว่า
นักเรียน 30คน มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ดีขึ้น
โดยมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับดี
โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ3.72และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.59 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก
3.1กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ได้ฝึกให้
นักเรียนได้ทํางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อ
ฝึกการแก้ปัญหา นักเรียนได้แสดงออกและได้
ปฏิบัติจริง สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้โดยเห็น
เป็นรูปธรรมซึ่งมีส่วนทําให้นักเรียนคลายความ
กังวลต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และมีเจตคติที่
ดีต่อการเรียนมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา
ของพนมลิ้มอารีย์ (2529,น.56)พบว่ากลุ่มแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์และความคิดเห็นจะช่วยปรับปรุง
เจตคติและนิสัยใจคอของสมาชิก รวมทั้งสมาชิก
ในกลุ่มเป็นกําลังใจให้แก่กันและกัน
3.2 การจัดค่ายคณิตศาสตร์โดยใช้
กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นการจัดกิจกรรมภายนอก
ห้องเรียน ดังนั้นบรรยากาศการทํากิจกรรม
สนุกสนานและเร้าใจทําให้ได้รับความสนใจจาก
นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมีส่วนทําให้
นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อการเรียน
ได้ส่วนหนึ่ง หลังจากเข้าร่วมค่ายคณิตศาสตร์
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.1.การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
ในการออกแบบกิจกรรม ควรเป็นกิจกรรมที่มี
เนื้อหาเหมาะสมกับระดับชั้นของผู้เรียน
มีกิจกรรมนันทนาการมาสอดแทรกเพื่อความ
สนุกสนาน
1.2.การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ
พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
ในการออกแบบกิจกรรมควรเป็นกิจกรรมที่ให้
นักเรียนได้เสนอความคิดเห็นวิธีการในการ
แก้ปัญหาและการให้เหตุผลของตัวเองอย่างอิสระ
ในแต่ละกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม
โดยฝึกการวางแผน การทํางานเป็นทีม และ
สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
1.3.การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
นั้นผู้จัดจะต้อง จัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาเหมาะสม
กับวัยของผู้เรียน
1.4.นําเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ
คณิตศาสตร์ที่สร้างความสนุกสนานในเนื้อร้อง
และจังหวะเพลงมาสอดแทรกในการให้ความรู้
เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ลงไป เพราะเพลงจะทําให้
นักเรียนรู้สึกสนุกกับการเรียนและช่วยในการ
จดจําเนื้อหาและสูตรทางคณิตศาสตร์ได้ดี
1.5. ให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วม
และใช้ความคิดเสนอความคิดเห็น ซึ่งถ้านักเรียน
ได้ใช้ความคิด ได้ร่วมกิจกรรมก็จะเกิดความ
ภูมิใจในตนเอง และทําให้ตัวนักเรียนมีกําลังใจ
69 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
เกิดความพยายามที่จะคิด ทั้งนี้ตัวครูผู้สอนเอง
ก็จะต้องคอยกระตุ้นและให้กําลังใจอยู่เสมอ
2. ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป
2.1. ควรมีการวิจัยและพัฒนาทักษะ
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผลแยกตาม
มาตรฐานในสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการของ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2.2.ควรมีการวิจัยและพัฒนากิจกรรมค่าย
คณิตศาสตร์บูรณาการ
2.3. ควรมีการวิจัยและพัฒนากิจกรรม
ค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา
และการให้เหตุผลในระดับชั้นอื่นต่อไป
บรรณานุกรม
จุรีรัตน์ พิชัยภาพ. (2532). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้บทเรียนโมดูลกับการสอนตามคู่มือครู
ของ สสวท. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
จักรี วัฒนะ. (2548).ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ที่สอนโดยกิจกรรมการเรียน
แบบร่วมมือเป็นกลุ่มย่อยโดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกลุ่มการสอนโดยใช้กิจกรรมการ
เรียนแบบร่วมมือ. วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.คณิตศาสตร์).มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล. (2540).ชุดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พนม ลิ้มอารีย์. (2529). กลุ่มสัมพันธ์.กาฬสินธุ์ :จินตภัณฑ์การพิมพ์.
พรรณีช. เจนจิต. (2538).จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ แกรมมี่.
เยาวเรศจตุรพรสวัสดิ์. (2543). การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ล้วน สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.
สมเดช บุญประจักษ์. (2540). การพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่1
โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร.
สมวงษ์แปลงประสพโชคและคณะ. (2543). ค่ายคณิตศาสตร์.กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฎพระนคร
สํานักงานทดสอบทางการศึกษา.
สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 4. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์.
Adam, Sam., Leslie Ellis and B.F.Beeson.(1977). Teaching Mathematics with Emphasis
on theDiagnotic Approach. New York : Harper & Row, Publishers.
Good, Carter victor. (1963). Dictionary of Education. 2nd
. New York : Prepared Under the
Auspices of Phi Delta Kappa. McGraw – Hill Book Company, Inc.
ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 72
บรรณานุกรม
Hilgard, Emest R. (1967). Introduction to Psychology. New York : Harcourt,
Brace and Worle.
Kaur, Berinderject. (1993). “mathematical Problem Solving in the Classroom.The Why
and How, “Journal of Science and Mathematics Education in Southeast
Asia SeameoRecsam.xvi(1) : 70 – 78 ; January.
O’Daffer, Phares G. (1990,May). “Inductive and deductive Reasoning,”
The Mathematics teacher. 93(6) : 379 – 380.
Zellman, G.L. and D.O. Sears.(1971). Childhood Origins of Tolerance for Dissent.
Journal of Social Issue 27 : 109 – 136.

More Related Content

What's hot

1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษานางมยุรี เซนักค้า
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
KruManthana
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
8752584
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
คน ผ่านทาง
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละชายชรา ริมทะเลสาบ
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
Anima หนูรุ้ง
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์krophut
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
Jutarat Bussadee
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
Jirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 

What's hot (20)

1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
111111
111111111111
111111
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 

Similar to Math camp activity for development solving

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
pattiya sanjumsarn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
บทความ10
บทความ10บทความ10
บทความ10Tom Jarernsak
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติพงษ์ วงเฟือง
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
Parinyappt
ParinyapptParinyappt
Parinyappt
Pattie Pattie
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
apiwat97
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
apiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
kruwaeo
 
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
keeree samerpark
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)Apichaya Savetvijit
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 

Similar to Math camp activity for development solving (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทความ10
บทความ10บทความ10
บทความ10
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
B math2
B math2B math2
B math2
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
Parinyappt
ParinyapptParinyappt
Parinyappt
 
962
962962
962
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 

More from Rujroad Kaewurai

รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Rujroad Kaewurai
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดลบทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
Rujroad Kaewurai
 
Ways of living in digital age
Ways of living in digital age Ways of living in digital age
Ways of living in digital age
Rujroad Kaewurai
 
Experience based learning
Experience based learningExperience based learning
Experience based learning
Rujroad Kaewurai
 
2 educationaltechnology
2 educationaltechnology2 educationaltechnology
2 educationaltechnology
Rujroad Kaewurai
 
1 355511 advance-techno
1 355511 advance-techno1 355511 advance-techno
1 355511 advance-techno
Rujroad Kaewurai
 
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
Rujroad Kaewurai
 
1digitalphotographynew1
1digitalphotographynew11digitalphotographynew1
1digitalphotographynew1
Rujroad Kaewurai
 

More from Rujroad Kaewurai (11)

รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดลบทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
 
Ways of living in digital age
Ways of living in digital age Ways of living in digital age
Ways of living in digital age
 
Experience based learning
Experience based learningExperience based learning
Experience based learning
 
2 educationaltechnology
2 educationaltechnology2 educationaltechnology
2 educationaltechnology
 
1 355511 advance-techno
1 355511 advance-techno1 355511 advance-techno
1 355511 advance-techno
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
2 ขอบข่ายเทคโน โดย รุจโรจน์
 
1digitalphotographynew1
1digitalphotographynew11digitalphotographynew1
1digitalphotographynew1
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

Math camp activity for development solving

  • 1. 63 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์ กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ขวัญชนก แก้วสี 1 รุจโรจน์ แก้วอุไร 2 บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลสําหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการ ให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนและเพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนภายหลังที่เข้าร่วมกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนองค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ 2 ที่กําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน 30คน โดยใช้วิธีการเลือก แบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรมที่ผู้วิจัย สร้างขึ้นฉบับละ 20 ข้อแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ จํานวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent และผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ผลการสร้างและประเมินแผนการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี 4 กิจกรรม ซึ่งประกอบไปด้วยกิจกรรมที่ 1 คณิต คิดเพลิน กิจกรรมที่ 2 แก้ปัญหาตามสถานการณ์ กิจกรรมที่3เส้นทางนักคิดกิจกรรมที่ 4 สามัคคีคือพลัง ใช้ เวลาในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ รวม8 ชั่วโมง โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.52 สําหรับแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลก่อนการทดลองและหลัง การทดลอง 2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลของนักเรียนก่อนการ ทดลองและหลังการทดลอง พบว่าความสามารถในการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลของนักเรียนหลังการ ทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ผลการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน โดยใช้แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับมากที่สุดเป็นส่วนใหญ่ MATH CAMP ACTIVITY FOR DEVELOPMENT SOLVING AND REASONING SKILLS FOR MATTAYOMSUKSA 3 STUDENTS KwanchanokKaewseeRujaroadKaewurai 1 นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร, ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 64 ABSTRACT Math Camp activity for development solving and reasoning skills for Mattayomsuksa3 students have objective were 1) to development solving and reasoning skills for Matthayomsuksa 3 students 2) to study solving ability and reasoning skills for Matthayomsuksa 3 students and 3) to study attitude for mathematics of students after Math Camp activity. Samples were 30 Matthayomsuksa 3 students of ongkanusahakampamai 2 school who were studying in second semester in academic year 2012. They were selected by purposive sampling. Research instrument are Math Camp activities for development solving and reasoning skills for Mattayomsuksa 3 students by researcher, solving and reasoning skills test (pre-test and post-test) and 20 item for attitude to mathematics test. Data were analysis by mean, standard deviation and t-test dependent.Theresult shown as follow; 1) Creation and evaluation plan for camp math skills to solve problems and reasoning for Mattayomsuksa 3 students have four activities are basic mathematic ideas, solve follow situation, routes thinkers and unity is power. Take on math camp activities include 8 hours with mean values equal to 4.60 and standard deviation of 0.52. A test of problem-solving skills and reasoning pretest and posttest. 2) The result of compared problem solving and reasoning for students pretest and posttest found posttest higher pretest statistically significant at .05 level, which is based on the assumptions set. 3) The result ofstudy attitude to mathematic of students by attitude math test found most of students have attitude to mathematic at highest level. ความเป็นมาของปัญหา ในปัจจุบันคณิตศาสตร์ได้เข้ามามี บทบาทต่อชีวิตประจําวันมากขึ้นไม่ว่าจะเป็น งานทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมศาสตร์ ตลอดจนเป็นพื้นฐานของการ ค้นคว้าวิจัยทุกประเภทและยังมีบทบาทสําคัญ ต่อวงการศึกษา ดังนั้นในหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551จึงได้กําหนด ความสําคัญของคณิตศาสตร์ไว้ว่าคณิตศาสตร์ มีบทบาทสําคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทําให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมี เหตุผลเป็นระบบระเบียบ มีแบบแผนสามารถ วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ ช่วยให้สามารถคาดการณ์วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาและนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จากรายงานผลการ ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ปีการศึกษา 2554 พบว่า ระดับชาติได้คะแนนเฉลี่ย 32.08 และระดับเขต พื้นที่ได้คะแนนเฉลี่ย29.66ซึ่งเป็นผลสืบ เนื่องมาจากนักเรียนส่วนใหญ่มีข้อบกพร่องใน เรื่องการแก้ปัญหามากที่สุด(สํานักทดสอบทาง การศึกษา, 2554) สาเหตุหนึ่งที่ทําให้การจัดการ
  • 3. 63 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์ เรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมาไม่ประสบ ผลสําเร็จก็คือ การเลือกใช้วิธีสอนที่ไม่เหมาะสม และขาดประสิทธิภาพ เพราะวิชาคณิตศาสตร์ เป็นวิชาที่ค่อนข้างยากการที่จะจัดการเรียนการ สอนให้ผู้เรียนเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด ในสาระเนื้อหาวิชาจําเป็นที่ครูผู้สอนจะต้องใช้วิธี สอนที่หลากหลายเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและ เนื้อหาสาระเพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียนและ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างเต็ม ศักยภาพและฝึกฝนความรับผิดชอบในหน้าที่ ตลอดจนพัฒนาทักษะทางสังคมอันจะทําให้ ผู้เรียนสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข (จักรี วัฒนะ, 2548, น. 2) การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีอายุอยู่ ในช่วงอายุ11–15 ปี ซึ่งเด็กวัยนี้จะมีพัฒนาการ ทางด้านความรู้ ความเข้าใจถึงระดับสูงสุดและมี ความสามารถที่จะคิดอย่างมีเหตุผลกับปัญหา ทุกชนิด สามารถแก้ปัญหาอย่างมีระบบระเบียบ สามารถคิดถึงตัวแปรต่างๆ ได้ในเวลาเดียวกัน สามารถนําหลักการไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้เริ่มมีความคิดแบบผู้ใหญ่ สามารถคิดหา เหตุผลนอกเหนือจากข้อมูลที่มีอยู่ และสามารถ พัฒนาจากความคิดรูปธรรมสู่ความคิด กึ่งรูปธรรมจนกระทั่งสามารถใช้ความคิด นามธรรมได้(พรรณี ช.เจนจิต, 2538,น.137-147) นอกจากนั้นการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ ยังช่วยทําให้ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของ ผู้เรียนดีขึ้น(เยาวเรศ จตุรพรสวัสดิ์, 2543,น.47) จากปัญหาและความเป็นมาในข้างต้น เพื่อจะส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 6 มาตรฐาน 6.1 ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนากิจกรรมประเภทต่างๆ ประกอบการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ และ นําผลการวิจัยนี้มาเป็นแนวทางในการพัฒนา ทักษะ/กระบวนการการแก้ปัญหา การให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์และเจตคติที่ดีของผู้เรียนที่มีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ จุดมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อสร้างและประเมินกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 2. เพื่อศึกษาความสามารถในการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียน 3. เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนภายหลังที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์ ความสําคัญของการวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้มีความสําคัญดังนี้ 1. เป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์ 2. ได้แผนกระบวนการจัดค่าย คณิตศาสตร์ 3. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล 4. ส่งเสริมให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน 1.สร้างและประเมินแผนกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล โดยผู้วิจัยได้ กําหนดขอบเขตของการวิจัยประกอบด้วย ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล เนื้อหาดังนี้ ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลในการประเมิน กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ครั้งนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน ศึกษานิเทศก์และครูชํานาญการ
  • 4. ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 64 พิเศษจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 2 ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่นํามาใช้เป็นเนื้อหาใน การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ได้แก่เนื้อหา คณิตศาสตร์ไม่เกินระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ขั้นนํากิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อ ศึกษาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลไป ทดลอง และศึกษาเจตคติ โดยผู้วิจัยได้กําหนด ขอบเขตของการวิจัยประกอบด้วย ขอบเขตด้าน ประชากร เนื้อหาและตัวแปรที่จะศึกษาดังนี้ ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 2ที่กําลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน30 คน ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่นํามาใช้เป็นเนื้อหาใน การสร้างแบบทดสอบทักษะการแก้ปัญหาและ การให้เหตุผล ได้แก่ เนื้อหาคณิตศาสตร์ไม่เกิน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรต้น คือ 1.กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ตัวแปรตาม คือ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล 2. เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียน วิธีดําเนินการวิจัย 1.สร้างและประเมินกิจกรรมของค่าย คณิตศาสตร์ 1.1 ศึกษากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ ศึกษารายละเอียดวิธีการสร้างกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์จากเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง 1.2 วิเคราะห์ 1.2.1 เนื้อหา เป็นเนื้อคณิตศาสตร์ ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จากหนังสือแบบเรียนของ สสวท.หนังสืออ่านประกอบเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ในด้านทักษะการแก้ปัญหาการให้เหตุผล หนังสือเกี่ยวกับเกมคณิตศาสตร์คณิตคิดสนุก วารสารคณิตศาสตร์เอกสารต่างๆ 1.2.2 กิจกรรมเป็นกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล กิจกรรม นันทนาการกิจกรรมเวียนตามฐานให้นักเรียนทุกคน มีส่วนร่วมแต่ละกิจกรรมจะเน้นให้นักเรียน สังเกต รวบรวม การให้เหตุผล สนับสนุนหรือคัดค้าน รวมถึงฝึกการแก้ปัญหาการให้เหตุผล 1.2.3 สื่อในการจัดกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาและการให้ เหตุผลได้แก่ - สื่อใช้ในกิจกรรมนันทนาการ เช่น กลอง ลูกบอลเครื่องขยายเสียงหนังสือและ เพลงคณิตศาสตร์ - สื่อใช้ในกิจกรรมแต่ละฐาน ใบกิจกรรม เชือก ฝาน้ําอัดลม 1.2.4 การวัดและประเมินผล - วัดและประเมินผลจากคะแนน ในการทําแบบทดสอบก่อนและหลังการเข้าร่วม กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล -วัดและประเมินผลจากการ สังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ของนักเรียน -วัดและประเมินผลจากการ บันทึกวิธีการคิด การแก้ปัญหา และการให้ เหตุผลในแต่ละกิจกรรมที่นักเรียนบันทึกลงในใบ กิจกรรม
  • 5. 65 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์ 1.3 ออกแบบค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล 1.3.1 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลการสร้าง กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์โดยยึดเนื้อหาวิชา คณิตศาสตร์ไม่เกินระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 1.3.2 แบบทดสอบการแก้ปัญหาและ การให้เหตุผล สร้างแบบทดสอบการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลแบบอัตนัย20 ข้อและแบบ ปรนัย20 ข้อรวม40 ข้อจํานวน2 ฉบับคือก่อนการ จัดกิจกรรมค่ายและหลังการจัดกิจกรรมค่ายโดย แบบทดสอบทั้งสองฉบับเป็นแบบทดสอบแบบ คู่ขนาน 1.3.3 แ บ บ วั ด เ จ ต ค ติ ต่ อ วิ ช า คณิตศาสตร์สร้างแบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้สึก และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อวิชา คณิตศาสตร์ศึกษาแบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ที่ออกแบบและพัฒนาโดยเยาวเรศจตุ รพรสวัสดิ์ (2543, น.81)แล้วนํามาปรับให้เหมาะสม กับการวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ในกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์ 1.4. ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 1.4.1 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล 1.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและภาษาที่ใช้ นําไปปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 2.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ใน ข้อที่1ให้ผู้เชี่ยวชาญจํานวน5คนเพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องและความเหมาะสมพร้อมประเมินความ เหมาะสมของชุดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 1.4.2 แบบทดสอบการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล 1.นําแบบทดสอบวัดทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล เสนออาจารย์ที่ ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา ภาษาที่ใช้ และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 2. นําแบบทดสอบวัดทักษะ การแก้ปัญหาและการให้เหตุผลในข้อ1 ไปให้ ผู้เชี่ยวชาญจํานวน5คนเพื่อประเมินความเหมาะสม พร้อมทั้งให้ข้อคิดเห็นและเสนอข้อแนะนําไป ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 1.4.3 แบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ 1.นําแบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ที่ปรับแล้วเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาภาษาที่ใช้ และนําไปปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 2. นําแบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์จากข้อ1 ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ5คน พิจารณาเชิงโครงสร้าง แล้วปรับปรุงแก้ไขแบบ วัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ตามคําแนะนําของ ผู้เชี่ยวชาญ 1.5 ปรับปรุง 1.5.1กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล 1.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่ผ่าน ตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ มาปรับปรุงแก้ไข และนําไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ซึ่งไม่ใช่กลุ่มทดลอง แล้วนําผลจากการ ทดลองใช้มาปรับปรุงแก้ไข 2.นํากิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่ผ่านการ ปรับปรุงและแก้ไขแล้วมาจัดทําเป็นฉบับสมบูรณ์เพื่อ นําไปใช้ในการวิจัยต่อไป
  • 6. ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 66 1.5.2แบบทดสอบการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล 1.นําแบบทดสอบวัดทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่ได้รับการประเมิน จากผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC) 2.นําแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลในข้อ1นําไปทดลองใช้กับ นักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเคยเรียนเนื้อหา เรื่องนี้มาแล้วเพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบวัด ทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล 3. นําแบบทดสอบวัดทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผลที่นักเรียนทํามาแล้ว มาวิเคราะห์เป็นรายข้อเพื่อหาค่าความยากง่าย และค่าอํานาจจําแนกของข้อสอบแต่ละข้อแล้ว เลือกแบบทดสอบที่มีค่าอํานาจจําแนก(B) ตั้งแต่ 0.2ขึ้นไป และค่าความยากง่าย(P)ระหว่าง 0.2- 0.8 คัดเลือกแบบทดสอบไว้ฉบับละ20 ข้อ แยก เป็นปรนัย10 ข้อ และอัตนัย 10 ข้อ 4. นําแบบทดสอบวัดทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล มาจัดพิมพ์เพื่อ นําไปทดลองทําการวิจัยต่อไป 1.5.3แบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ นําแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ที่แก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α - Coefficient)ของครอนบัค(Cronbach)ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ0.72 2. ดําเนินการทดลอง การดําเนินการทดลองกับนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 2.1 ศึกษาความสามารถในการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล 1. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 2.หลังเข้าร่วมกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทดสอบวัด ทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล การวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยดําเนินการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทาง คอมพิวเตอร์เปรียบเทียบความแตกต่างของ คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาและการ ให้เหตุผลก่อนการทดลองกับหลังการทดลอง โดยใช้ t-test แบบdependent samples 2.2 ศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบ แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์การวิเคราะห์ ข้อมูลผู้วิจัยดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ประเมินผล เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการเข้าร่วมกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1.สถิติพื้นฐาน 1.1 ค่าเฉลี่ย (X )คํานวณจากสูตร (ล้วน สายยศ,2538, น. 210-211) 1.2 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คํานวณจากสูตร(ล้วน สายยศ,2538, น. 210-211) 2.สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 2.1สถิติเพื่อตรวจสอบความตรงเชิง เนื้อหาโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง แบบทดสอบกับจุดประสงค์(ล้วน สายยศ,2538, น. 210-211) 2.2การหาค่าความยากง่าย(P) ของ แบบทดสอบ(ล้วน สายยศ, 2538, น. 210-211) 2.3การหาค่าอํานาจจําแนก(B) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ล้วน สายยศ, 2538, น. 210 - 211)
  • 7. 67 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์ 2.4 หาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัด เจตคติทั้งฉบับใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Corffectient)ของครอนบาค (สมนึกภัททิยธนี, 2546, น. 88) 3. สถิติในการทดสอบสมมุติฐานคือ ใช้ t - test แบบ dependent samples (ล้วน สายยศ,2538, น.165) สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ผลการสร้างและประเมินแผนกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และ การให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี 4 กิจกรรม ซึ่งประกอบไปด้วยกิจกรรมที่1คณิต คิดเพลินกิจกรรมที่2แก้ปัญหาตามสถานการณ์ กิจกรรมที่3เส้นทางนักคิดกิจกรรมที่ 4สามัคคี คือพลังใช้เวลาในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์รวม 8ชั่วโมงผู้เชี่ยวชาญจํานวน5ท่านได้ประเมินความ เหมาะสมของกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์กับ วัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรมผลปรากฏว่า ความเหมาะสมของกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กิจกรรมต่างๆ มีความเหมาะสมมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 2.ผลการเปรียบเทียบความสามารถใน การแก้ปัญหา และการให้เหตุผลของนักเรียน ก่อนการทดลองและหลังการทดลองพบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ของนักเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3.ผลการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนโดยใช้แบบวัดเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนมีเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับมากที่สุดต่อส่วนใหญ่ ของคําถามในเชิงนิมานและมีเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์อยู่ในระดับน้อยต่อส่วนใหญ่ของ คําถามในเชิงนิเสธ ในภาพรวมแล้วนักเรียนมีเจตคติ ต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย รวมเท่ากับ3.72 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.59 อภิปรายผล จากการทดลองการใช้กิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 นํามาอภิปรายผลได้ดังนี้ 1.กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนา ทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลสําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี ความเหมาะสมในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย เลขคณิตเท่ากับ 4.60และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ0.52มีความเหมาะสมที่จะ นําไปใช้จัดค่ายคณิตศาสตร์ทั้งนี้อาจมีผลมาจาก กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ออกแบบเนื้อหาเหมาะสมกับวัยของผู้เรียนมี กิจกรรมที่หลากหลายอาทิเช่น กิจกรรมนันทนาการ มีการฝึกสมองซีกซ้ายและซีกขวา กิจกรรมปรบมือ จํานวนคู่จํานวนคี่ การคิดท่าประกอบเพลงคณิตศาสตร์ ประจํากลุ่ม และให้นักเรียนได้ฝึกแก้ปัญหาและ ฝึกการให้เหตุผลโดยใช้สื่อและอุปกรณ์ในชุด กิจกรรมที่จัดเตรียมไว้ให้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ของชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล(2540,น.6)กล่าวว่ากิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์เป็นการศึกษาคณิตศาสตร์ นอกห้องเรียนโดยจัดให้นักเรียนได้เข้ามาร่วม กิจกรรม ณ ที่ใดที่หนึ่ง ในช่วงเวลาที่กําหนดให้ พร้อมทั้งมีการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการและ นันทนาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะกระบวนการประสบการณ์ตรงทางด้าน คณิตศาสตร์ในสภาพแวดล้อมที่จัดให้และ ส่งเสริมให้มีความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ 2. ผลการศึกษาความสามารถในการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล ก่อนการทดลอง และหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน
  • 8. ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 68 ที่ตั้งไว้ โดยนักเรียนที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์ที่พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและ การให้เหตุผลสําหรับที่ฝึกกระบวนการแก้ปัญหา โดยใช้กิจกรรมต่างๆมีความสามารถในการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลหลังการทดลองสูงกว่าก่อน การทดลองทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก 2.1 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ภายในกลุ่มในการแก้ปัญหาของโจทย์ 2.2 นักเรียนส่วนใหญ่มีความสนใจใน การทํากิจกรรม เพราะมีอุปกรณ์ที่หลากหลายใน แต่ละกิจกรรม อาทิเช่น ลูกบอล เชือก ฝาน้ําอัดลม กลอง เครื่องเสียง หนังสือ เพลงคณิตศาสตร์ ใบกิจกรรม รูปภาพที่จะช่วยกระตุ้นให้นักเรียน ได้คิดแก้ปัญหาและให้เหตุผล 3.ผลการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยการวัดและประเมินผลจากการทําแบบวัด เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนปรากฏว่า นักเรียน 30คน มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ดีขึ้น โดยมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ3.72และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.59 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก 3.1กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ได้ฝึกให้ นักเรียนได้ทํางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อ ฝึกการแก้ปัญหา นักเรียนได้แสดงออกและได้ ปฏิบัติจริง สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้โดยเห็น เป็นรูปธรรมซึ่งมีส่วนทําให้นักเรียนคลายความ กังวลต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และมีเจตคติที่ ดีต่อการเรียนมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา ของพนมลิ้มอารีย์ (2529,น.56)พบว่ากลุ่มแลกเปลี่ยน ประสบการณ์และความคิดเห็นจะช่วยปรับปรุง เจตคติและนิสัยใจคอของสมาชิก รวมทั้งสมาชิก ในกลุ่มเป็นกําลังใจให้แก่กันและกัน 3.2 การจัดค่ายคณิตศาสตร์โดยใช้ กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผล สําหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นการจัดกิจกรรมภายนอก ห้องเรียน ดังนั้นบรรยากาศการทํากิจกรรม สนุกสนานและเร้าใจทําให้ได้รับความสนใจจาก นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมีส่วนทําให้ นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อการเรียน ได้ส่วนหนึ่ง หลังจากเข้าร่วมค่ายคณิตศาสตร์ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1.การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ในการออกแบบกิจกรรม ควรเป็นกิจกรรมที่มี เนื้อหาเหมาะสมกับระดับชั้นของผู้เรียน มีกิจกรรมนันทนาการมาสอดแทรกเพื่อความ สนุกสนาน 1.2.การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อ พัฒนาการแก้ปัญหาและการให้เหตุผล ในการออกแบบกิจกรรมควรเป็นกิจกรรมที่ให้ นักเรียนได้เสนอความคิดเห็นวิธีการในการ แก้ปัญหาและการให้เหตุผลของตัวเองอย่างอิสระ ในแต่ละกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม โดยฝึกการวางแผน การทํางานเป็นทีม และ สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ 1.3.การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ นั้นผู้จัดจะต้อง จัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาเหมาะสม กับวัยของผู้เรียน 1.4.นําเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์ที่สร้างความสนุกสนานในเนื้อร้อง และจังหวะเพลงมาสอดแทรกในการให้ความรู้ เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ลงไป เพราะเพลงจะทําให้ นักเรียนรู้สึกสนุกกับการเรียนและช่วยในการ จดจําเนื้อหาและสูตรทางคณิตศาสตร์ได้ดี 1.5. ให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วม และใช้ความคิดเสนอความคิดเห็น ซึ่งถ้านักเรียน ได้ใช้ความคิด ได้ร่วมกิจกรรมก็จะเกิดความ ภูมิใจในตนเอง และทําให้ตัวนักเรียนมีกําลังใจ
  • 9. 69 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์ เกิดความพยายามที่จะคิด ทั้งนี้ตัวครูผู้สอนเอง ก็จะต้องคอยกระตุ้นและให้กําลังใจอยู่เสมอ 2. ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป 2.1. ควรมีการวิจัยและพัฒนาทักษะ การแก้ปัญหาและการให้เหตุผลแยกตาม มาตรฐานในสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการของ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2.2.ควรมีการวิจัยและพัฒนากิจกรรมค่าย คณิตศาสตร์บูรณาการ 2.3. ควรมีการวิจัยและพัฒนากิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการให้เหตุผลในระดับชั้นอื่นต่อไป บรรณานุกรม จุรีรัตน์ พิชัยภาพ. (2532). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้บทเรียนโมดูลกับการสอนตามคู่มือครู ของ สสวท. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. จักรี วัฒนะ. (2548).ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ที่สอนโดยกิจกรรมการเรียน แบบร่วมมือเป็นกลุ่มย่อยโดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกลุ่มการสอนโดยใช้กิจกรรมการ เรียนแบบร่วมมือ. วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.คณิตศาสตร์).มหาวิทยาลัยทักษิณ. ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล. (2540).ชุดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พนม ลิ้มอารีย์. (2529). กลุ่มสัมพันธ์.กาฬสินธุ์ :จินตภัณฑ์การพิมพ์. พรรณีช. เจนจิต. (2538).จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ แกรมมี่. เยาวเรศจตุรพรสวัสดิ์. (2543). การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. ล้วน สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น. สมเดช บุญประจักษ์. (2540). การพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่1 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร. สมวงษ์แปลงประสพโชคและคณะ. (2543). ค่ายคณิตศาสตร์.กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฎพระนคร สํานักงานทดสอบทางการศึกษา. สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 4. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. Adam, Sam., Leslie Ellis and B.F.Beeson.(1977). Teaching Mathematics with Emphasis on theDiagnotic Approach. New York : Harper & Row, Publishers. Good, Carter victor. (1963). Dictionary of Education. 2nd . New York : Prepared Under the Auspices of Phi Delta Kappa. McGraw – Hill Book Company, Inc.
  • 10. ปีที่1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 72 บรรณานุกรม Hilgard, Emest R. (1967). Introduction to Psychology. New York : Harcourt, Brace and Worle. Kaur, Berinderject. (1993). “mathematical Problem Solving in the Classroom.The Why and How, “Journal of Science and Mathematics Education in Southeast Asia SeameoRecsam.xvi(1) : 70 – 78 ; January. O’Daffer, Phares G. (1990,May). “Inductive and deductive Reasoning,” The Mathematics teacher. 93(6) : 379 – 380. Zellman, G.L. and D.O. Sears.(1971). Childhood Origins of Tolerance for Dissent. Journal of Social Issue 27 : 109 – 136.