SlideShare a Scribd company logo
BEST PRACTICE
     บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน
          สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5




                      โดย
         นางสาวอธัญญา พลขาง
                   ครูผู้ช่วย

               โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
          อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต 2
คานา

          คณิตศาสตร์เป็นวิชาพื้นฐาน และเป็นเครื่องมือในการเรียนวิชาอื่นๆ และจาเป็นต่อชีวิตประจาวัน โดยคณิตศาสตร์
เป็นสาระที่ต้องใช้การฝึกทักษะกระบวนการ ซึ่ง ขึ้นอยู่กับความรู้พื้นฐานและศักยภาพและ ความแตกต่างระหว่างบุคคลของ
ผู้เรียน โดยมีผู้เรียนมากมายที่ต้องแก้ไขและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น การพัฒนารูปแบบการสอน ใช้แบบฝึกทักษะและเกมส์
คณิตศาสตร์มาเป็นตัวเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น และเป็นความหลากหลายของกิจกรรมการเรียนรู้และ
รูปแบบการสอนที่จะให้ผู้เรียนสนใจในเนื้อหานั้นได้ดียิ่งขึ้น
          ดังนั้น การจัดทา BEST PRACTICE บทเรียนการ์ตูนช่วยสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดความสนใจในการ
เรียน มีทักษะการคิด มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนเพิ่มขึ้น ใช้เวลาสว่างให้เป็นประโยชน์ ฝึกคิดแก้ปัญหา เพื่อมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันและเป็นการสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ต่อไป




                                                                                     นางสาวอธัญญา พลขาง
                                                                                            ผู้จัดทา
Best Practice
                                         บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน

                    รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน           รหัสวิชา ค 15101           ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
                                 ชื่อ นางสาวอธัญญา พลขาง                 ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
                                              กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
                                                         >>>>>>


1. ชื่อนวัตกรรม : บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
2. ตอบสนองกลยุทธ : การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3. จุดประสงค์ :        เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน
4. ความเป็นมาและแนวคิดในการออกแบบ
            จากสภาพปัจจุบันในการจัดการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ในภาพรวมระดับประเทศยังไม่บรรลุจุดมุ่งหมายของ
หลักสูตร โดยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ค่อนข้างต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งจากผลการประเมิน
คุณภาพนักเรียนระดับประเทศพบว่า ความรู้ความสามารถในวิชาคณิตศาสตร์ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องปรับปรุงและจากที่ผู้ศึกษา
ค้นคว้าได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียนให้ทาหน้าที่จัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 15101) ระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านซับสนุ่น พบว่าคะแนนเฉลี่ยภายหลังเรียน เรื่องเศษส่วนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี
การศึกษา 2554 มีค่าร้อยละ 49 ซึ่งระดับผลการเรียนของนักเรียนอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพึงพอใจ
          จากความสาคัญและปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความเห็นว่าควรจะมีการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ และความสนใจในการเรียน เพราะผลการเรียนรู้และความสนใจในการเรียน จะ
ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืนของนักเรียนอันเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
          ผู้ศึกษาค้นคว้าในฐานะเป็นครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ได้ตระหนักและเห็นความสาคัญของปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นกับ
นักเรียนจึงได้สร้างบทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5
5. วิธีการ/วิธีปฏิบัติจนทาให้เป็นผลสาเร็จ



                                        ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหา



                                            ศึกษาข้อมูลรายบุคคล



                               แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน



                                            จัดทาแผนการดาเนินงาน


                                              ดาเนินงานตามแผน



                                             บรรลุวัตถุประสงค์         ไม่
                                                                             พัฒนาแก้ไขปรับปรุง
                                                          ใช่



                                            ประเมินผลการเรียน



                                                 สรุปรายงาน
ขั้นตอนการดาเนินงาน
        จากการที่ผู้สอนได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2555 โดยมีจานวนนักเรียนดังนี้
                             ชั้น                     จานวน
                      นักเรียน ป. 5/1                  20 คน
                      นักเรียน ป. 5/2                  20 คน
                            รวม                        40 คน

และมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้
         1. ขั้นวางแผน
         วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน โดยใช้เกรดของผลการ
เรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของภาคเรียนที่ผ่านมา ได้ดังนี้
                          ชั้น            กลุ่มเก่ง         ปานกลาง             อ่อน
                  นักเรียน ป. 5/1             7                  9                4
                  นักเรียน ป. 5/2             6                 11                3
                          รวม                13                 20                7
          จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
         2. ขั้นปฏิบัติการ นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน บันทึกหลังแผนการ
จัดการเรียนรู้ และนาปัญหาข้อบกพร่องมาปรับปรุงในการจัดกิจกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ต่อไป
         3. ขั้นสังเกตการณ์ สังเกตกระบวนการปฏิบัติและผลของการปฏิบัติโดยใช้เครื่องมือและเทคนิค
การรวบรวมข้อมูล เช่น บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
         4. ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ วิเคราะห์ ประเมิน อภิปราย สรุปผล เสนอแนะและปรับปรุงการจัด
กิจกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
         5. สรุปผล
         ผลการดาเนินงาน / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
               การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอนเป็นกิจกรรมที่มี
ความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการร่วม
กิจกรรม นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงทาให้เกิดการสร้างองค์ความรู้และแก้ ปัญหาได้จริงด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากที่ได้ดาเนินการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนการ์ตูนช่วยสอนแล้วพบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 81.6
ภาคผนวก
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน        ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน                              เวลา 4 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………….
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
          มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์
                          ระหว่างการดาเนินการต่างๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด
          มฐ. ค 1.2 ป.5/1 บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของเศษส่วน พร้อมทั้งตระหนักถึง
                          ความสมเหตุสมผลของคาตอบ
มาตรฐานการเรียนรู้
          มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
                          การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ
                          ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่ม
                          สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
          มฐ. ค 6.1 ป.4-6/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
          มฐ. ค 6.1 ป.4-6/2 ใช้ความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีในการ
                             แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
          มฐ. ค 6.1 ป.4-6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
          มฐ. ค 6.1 ป.4-6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสารการสื่อความหมาย และ
                             นาเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
          มฐ. ค 6.1 ป.4-6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
       1. อธิบายเกี่ยวกับเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน (K)
       2. แสดงวิธีการบวกและการลบเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง (P)
       3. มีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน (A)
สาระสาคัญ
         การบวกและการลบเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง ให้ทาเศษส่วนให้มีตัวส่วน
เท่ากันก่อน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบเหมือนกับการบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
         การคูณเศษส่วน ใช้วิธีนาตัวเศษคูณกับตัวเศษและตัวส่วนคูณกับตัวส่วน
         เศษส่วนสองจานวนคูณกันเท่ากับ 1 เรียกเศษส่วนแต่ละจานวนนั้นว่า ส่วนกลับของเศษส่วน
อีกจานวนหนึ่ง
         การหารเศษส่วน อาจคิดได้จากการคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งกับส่วนกลับของตัวหาร

สาระการเรียนรู้
       1. ความรู้
          การบวกเศษส่วน
          การลบเศษส่วน
          การคูณเศษส่วน
          การหารเศษส่วน
       2. ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
          การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ
       3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
          มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

ความเข้าใจที่คงทน
         นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า การบวกและการลบเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัว
หนึ่ง ให้ทาเศษส่วนให้มีตัวส่วนเท่ากันก่อน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบเหมือนกับการบวกหรือการลบ
เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
         การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน ใช้วิธีนาตัวเศษคูณกับตัวเศษและตัวส่วนคูณกับตัวส่วน เศษส่วนสอง
จานวนคูณกันเท่ากับ 1 เรียกเศษส่วนแต่ละจานวนนั้นว่า ส่วนกลับของเศษส่วน
อีกจานวนหนึ่ง
         การหาผลหารของการหารเศษส่วน สามารถทาได้โดยการคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งกับส่วนกลับของ
เศษส่วนที่เป็นตัวหาร
ชิ้นงานหรือภาระงาน
        1. ผลงานจากกิจกรรมข้อ 2 - 3
        2. แบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน
        3. แบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน
        4. แบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน
        5. แบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน

คาถามท้าทาย
        นักเรียนมีวิธีการอย่างไร เพื่อให้สามารถหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหารของเศษส่วนได้
รวดเร็วที่สุด

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
        1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม โดยมีเด็กเก่ง ปานกลาง อ่อน ตามคะแนนที่ได้จากการทดสอบ
ก่อนเรียน โดยเรียงคะแนนจากลาดับที่ 1 - 20 ดังนี้

                   กลุ่มที่ 1         กลุ่มที่ 2        กลุ่มที่ 3         กลุ่มที่ 4
                        1                  2                 3                  4
                        8                  7                 6                  5
                        9                 10                11                 12
                       16                 15                14                 13
                       17                 18                19                 20

       2. นักเรียนศึกษาภาพเรื่องราวการ์ตูนที่ครูให้ โดยเรียนตามศูนย์การเรียนรู้ดังนี้
แผนผังการเรียนรู้


                              ศูนย์การเรียนรู้ที่ 1
                               การบวกเศษส่วน




ศูนย์การเรียนรู้ที่ 4                                              ศูนย์การเรียนรู้ที่ 2
 การหารเศษส่วน                                                      การลบเศษส่วน




                               ศูนย์การเรียนรู้ที่ 3
                                 การคูณเศษส่วน



                        กลุ่มที่ 1 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 1
                        กลุ่มที่ 2 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 2
                        กลุ่มที่ 3 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 3
                        กลุ่มที่ 4 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 4
3. นักเรียนช่วยกันคิดและเล่นโดมิโนการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนตามบทเรียน
          การ์ตูนที่ได้ศึกษา โดยมีเวลาจากัด 15 นาทีให้ต่อโดมิโนให้ได้มากที่สุดตามความสามารถ
          ของแต่ละกลุ่ม
       4. ครูตรวจสอบความถูกต้อง และให้คะแนนตามลาดับ
       5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะประจาศูนย์การเรียนรู้
       6. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้และสิ่งที่ได้รับ
       7. นักเรียนเขียนอนุทินการเรียนรู้

การจัดบรรยากาศเชิงบวก
        ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมเดี่ยวและกิจกรรมกลุ่ม ครูเน้นให้
นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนด้วยวิธีการของตนเองได้อย่างอิสระ ไม่ต้องกลัวผิด

สื่อการเรียน
     1. ภาพบทเรียนการ์ตูนเนื้อหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
     2. โดมิโนการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
     3. แบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน
     4. แบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน
     5. แบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน
     6. แบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
         1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
         1.2 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน
         1.3 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน
         1.4 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน
         1.5 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน
2. เครื่องมือ
           2.1 แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
           2.2 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน
           2.3 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน
           2.4 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน
           2.5 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน

  3. เกณฑ์การประเมิน
         3.1 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
                คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก
                คะแนน 7-8 ระดับ ดี
                คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
                คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง

         3.2 ประเมินแบบฝึกทักษะการบวกเศษส่วน

                                                   ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน            4                    3                   2                     1
                     (10 คะแนน)           (9 คะแนน)         (7-8 คะแนน)             (5-6 คะแนน)
การแสดงวิธีทา     แสดงวิธีทาหา        แสดงวิธีทาหาคาตอบ แสดงวิธีทาหา            แสดงวิธีทาหา
หาคาตอบของ        คาตอบของการบวก      ของการบวกเศษส่วน คาตอบของการบวก           คาตอบของการบวก
การบวกเศษส่วน     เศษส่วนได้ถูกต้อง   ได้ถูกต้องมีบางข้อ เศษส่วนได้ถูกต้อง      เศษส่วนได้ถูกต้อง
                  ทุกข้อด้วยตนเอง     ผิดแต่สามารถแก้ไข ด้วยตนเองมีบางข้อ       แต่ต้องมีผู้แนะนาทุก
                                      ได้ด้วยตนเอง       ผิดเมื่อมีผู้แนะนาก็   ข้อ
                                                         สามารถแก้ไขได้
3.3 ประเมินแบบฝึกทักษะการลบเศษส่วน

                                                    ระดับคะแนน
 เกณฑ์การประเมิน            4                    3                   2                     1
                      (10 คะแนน)           (9 คะแนน)         (7-8 คะแนน)             (5-6 คะแนน)
การแสดงวิธีทา      แสดงวิธีทาหา        แสดงวิธีทาหาคาตอบ แสดงวิธีทาหา            แสดงวิธีทาหา
หาคาตอบของ         คาตอบของการลบ       ของการลบเศษส่วน คาตอบของการลบ             คาตอบของการลบ
การลบเศษส่วน       เศษส่วนได้ถูกต้อง   ได้ถูกต้องมีบางข้อ เศษส่วนได้ถูกต้อง      เศษส่วนได้ถูกต้อง
                   ทุกข้อด้วยตนเอง     ผิดแต่สามารถแก้ไข ด้วยตนเองมีบางข้อ       แต่ต้องมีผู้แนะนาทุก
                                       ได้ด้วยตนเอง       ผิดเมื่อมีผู้แนะนาก็   ข้อ
                                                          สามารถแก้ไขได้

          3.4 ประเมินแบบฝึกทักษะการคูณเศษส่วน

                                                    ระดับคะแนน
 เกณฑ์การประเมิน         4                      3                      2                   1
                   (10 คะแนน)              (9 คะแนน)           (7-8 คะแนน)          (5-6 คะแนน)
การแสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา           แสดงวิธีทาหา        แสดงวิธีทาหา          แสดงวิธีทาหา
คาตอบของการคูณ คาตอบของการคูณ          คาตอบของการคูณ      คาตอบของการคูณ        คาตอบของการคูณ
เศษส่วน         เศษส่วนได้ถูกต้อง      เศษส่วนได้ถูกต้อง   เศษส่วนได้ถูกต้อง     เศษส่วนได้ถูกต้อง
                ทุกข้อด้วยตนเอง        มีบางข้อผิดแต่      ด้วยตนเอง มีบางข้อ    แต่ต้องมีผู้แนะนา
                                       สามารถแก้ไขได้      ผิด เมื่อมีผู้แนะนา   ทุกข้อ
                                       ด้วยตนเอง           ก็สามารถแก้ไขได้
3.5 ประเมินแบบฝึกทักษะการหารเศษส่วน

                                                   ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน             4                  3                     2                        1
                     (10 คะแนน)           (9 คะแนน)           (7-8 คะแนน)              (5-6 คะแนน)
การแสดงวิธีทา     แสดงวิธีทาหา        แสดงวิธีทาหา         แสดงวิธีทา               แสดงวิธีทาหา
หาคาตอบของ        คาตอบของการหาร      คาตอบของการหาร       หาคาตอบของ               คาตอบของการหาร
การหารเศษส่วน     เศษส่วนได้ถูกต้อง   เศษส่วน ได้ถูกต้อง   การหารเศษส่วน            เศษส่วนได้ถูกต้อง
                  ทุกข้อด้วยตนเอง     มีบางข้อผิดแต่       ได้ถูกต้องด้วยตนเอง      แต่ต้องมีผู้แนะนา
                                      สามารถแก้ไขได้       มีบางข้อผิด เมื่อมีผู้   ทุกข้อ
                                      ด้วยตนเอง            แนะนาก็สามารถ
                                                           แก้ไขได้
แบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน
                                                                                                                                                  ได้คะแนน
                                                                                                                                         ..................................
                                              วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ......................        คะแนนเต็ม 10 คะแนน
   ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่.........................

คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า)


1. 1 + 4 =                                                                            2. 18 + 2 = 
                                                                                          13
                                                                                                 9
   4 8
   วิธีทา______________________                                                           วิธีทา______________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
   __________________________                                                             __________________________


         5 
3. 1 + 6 =                                                                              4. 1 + 2 =
                                                                                                 7
   4
   วิธีทา______________________                                                             วิธีทา______________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
   __________________________                                                               __________________________
แบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน                                                                                   ได้คะแนน
                                                                                                                                         ..................................
                                              วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ......................        คะแนนเต็ม 10 คะแนน
   ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่.........................

คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า)


1. 5 - 4 =                                                                            2. 18 - 2 = 
                                                                                          13
                                                                                                9
   6 8
   วิธีทา______________________                                                           วิธีทา______________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
   __________________________                                                             __________________________


3. 8 - 2 =
                                                                                       4. 4 - 2 = 
                                                                                                7
   10 4
   วิธีทา______________________                                                             วิธีทา______________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
   __________________________                                                               __________________________
แบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน

                                              วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ......................                  ได้คะแนน
   ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่.........................    ..................................
                                                                                                                                        คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า)


         3
1. 2 × 4 =                                                                            2. 5 × 3 = 
   5                                                                                      6 5
   วิธีทา______________________                                                           วิธีทา______________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
   __________________________                                                             __________________________


3. 7 × 4 = 
   3
         5                                                                              4. 2 × 6 = 
                                                                                           3
                                                                                                 5

   วิธีทา______________________                                                            วิธีทา______________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
   __________________________                                                               __________________________
แบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน
                                              วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ......................                  ได้คะแนน
   ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่.........................    ..................................
                                                                                                                                        คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า)


1. 1 ÷ 4 =                                                                            2. 2 ÷ 3 = 
   3 5                                                                                    5 4
   วิธีทา______________________                                                           วิธีทา______________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
    __________________________                                                             __________________________
   __________________________                                                             __________________________


3. 4 ÷ 1 = 
   7 4
                                                                                            7 7
                                                                                        4. 10 ÷ 10 = 
   วิธีทา______________________                                                            วิธีทา______________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
    __________________________                                                              __________________________
   __________________________                                                               __________________________
ข้อสอบพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์

                                    กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน                                                                     จานวน 20 ข้อ

จงกา  ทับตัวอักษรตรงกับตัวเลือกที่ต้องการลงในกระดาษคาตอบ

 1.   2    +   1       =                                            4. 3  8 กับ
                                                                            2              1
                                                                                                   
                                                                                                        3   มีค่าต่างกันเท่าไร
      3        9                                                                           2            4
    จะต้องดาเนินการตามข้อใดเป็นอันดับแรก                                  ก. 1                                   ข.       1
     ก. นาเศษมาบวกกัน                                                                                                     8

     ข. ทาเศษให้เท่ากัน                                                   ค.       2                             ง.       3
                                                                                   3                                      8
     ค. ทาส่วนให้เท่ากัน                                             5. ข้อใดถูกต้อง
     ง. ทาเศษและส่วนให้เท่ากัน
                                                                          ก.       5
                                                                                           –       2
                                                                                                            =    7
                                                                                                                      –       11
 2. ข้อใดมีผลลัพธ์เท่ากับ 4 + 6                                                    6               3             9            18
                                       9           18
                                                                          ข.       4       –       8        =   2     –   30

      ก.       1       +    11        ข.       1    +        4                     9               27           3         54
               2            18                 3             9
                                                                          ค.       1       +       4        =   11    +       1
      ค.       2       +     10       ง.       3    +       21                     3               6            12            6
               6             12                9            27
                                                                          ง.       21
                                                                                               +   2
                                                                                                            =   5
                                                                                                                      +       1
 3.   1
          ของ      3       มีค่าเท่ากับข้อใด                                       36              6            6             3
      3            5
                                                                     6.   2
                                                                              1
                                                                                  + 1 3 =  ผลลัพธ์มีค่าเท่าไร
      ก.       1       –     3        ข.       1
                                                    +       3                 2        10
               3             5                 3            5
                                                                          ก.      3
                                                                                       1
                                                                                                                 ข.       3
                                                                                                                            7
      ค.       1            3        ง.       1
                                                        ÷   3                          2                                    8
               3             5                 3            5             ค.      3
                                                                                       2
                                                                                                                 ง.       3
                                                                                                                            4
                                                                                                                            5
                                                                                       5
7.   1      5 กับ 1 ÷ 2                                             12. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
      6                   3
      นาผลลัพธ์มาบวกกันจะเท่ากับข้อใด                                     1. 3 ของระยะทาง 36 กิโลเมตร
                                                                                4
       ก. 2             ข. 3
              6                                  6                         2.   2    ของระยะทาง 27 กิโลเมตร
                                                                                3
       ค.     5
              6
                                        ง. 1
 8. ข้อใดมีค่ามากกว่า              2
                                         ÷   5                            ข้อใดถูกต้อง
                                   3         6
                                                                           ก. ข้อ 1 มีระยะทางสั้นกว่าข้อ 2
       ก.     3              2         ข.        7   +   3
              5               3                  15       5                     7 กิโลเมตร
       ค.     1       ของ     2         ง.       1           4
                                                                           ข. ข้อ 1 มีระยะทางยาวกว่าข้อ 2
              2               5                  3            5
 9.   8
             ( 10 –       4
                             )     =  มีค่ามากกว่า 1                           7 กิโลเมตร
      9           8       16                                      3
                                                                           ค. ข้อ 1 มีระยะทางสั้นกว่าข้อ 2
      อยู่เท่าไร
                                                                                9 กิโลเมตร
       ก. 3                             ข. 4                               ง. ข้อ 1 มีระยะทางยาวกว่าข้อ 2
          9                                9
                                                                                9 กิโลเมตร
       ค. 5                             ง. 6                          13. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
          9                                9
                                                                          1. ( 1 + 3 ) ÷ 3 = 1 1
10. ข้อใดมีผลลัพธ์เท่ากับ 1                                                     2      8       7      24
                                         2
       ก. ( 7 – 2 ) +               7
                                                                           2.   17   + ( 10  3 ) =   6
                                                                                                          3
               9          3        18                                            4         3   4          4
       ข. ( 3  6 ) + ( 1 –                      7)
               5          5             5        5                         3. ( 1  32 ) ÷ 1 = 11
       ค.     3
                   (         3   – 5)                                           8             3
              6               4     8
       ง.     (2      ÷   5
                            ) 1                                           ข้อใดถูกต้อง
               3          3    2
                                                                            ก. ข้อ 2 เท่านั้น ข. ข้อ 1, 3
11.   2 ของสมุดหนึ่งโหล เท่ากับสมุดกี่เล่ม
      3                                                                     ค. ข้อ 2, 3       ง. ข้อ 1, 2, 3
       ก. 4 เล่ม                        ข. 6 เล่ม
       ค. 8 เล่ม                        ง. 10 เล่ม
14. เชือก 8 เส้นยาวเส้นละ   5    เมตร นามาต่อกัน   17. แม่มีเงินอยู่ 900 บาท ซื้อชุดนักเรียนให้
                            8
    จะยาวเท่าไร                                        ลูก 2 ของเงินที่มีอยู่ และซื้อรองเท้าอีก
                                                              5
     ก. 4 เมตร              ข. 5 เมตร                    1   ของเงินที่มีอยู่เดิม แม่เหลือเงินกี่บาท
                                                         4
     ค. 6 เมตร              ง. 7 เมตร                   ก. 312 บาท
15. “นิดมีเงิน 120 บาท นาไปซื้อผ้าเช็ดหน้า
                                                        ข. 315 บาท
     1 ของเงินที่มีอยู่” จากข้อความข้อใดถูกต้อง
      5                                                 ค. 321 บาท
      ก. เงินที่เหลือจากการซื้อผ้าเช็ดหน้า              ง. 327 บาท
         มากกว่า 100 บาท                           18. กระดาษ 1 รีม มี 480 แผ่น ใช้กระดาษ
      ข. นาเงินไปซื้อขนม 1 ของเงินที่                  ครั้งแรก 1 ของรีม ใช้ครั้งที่สอง 4
                             3                                        3                      5
         เหลือ จะเหลือเงินอีก 65 บาท                   ของกระดาษที่เหลือ อยากทราบว่า
      ค. นาเงินไปซื้อดินสอสี 1 ของเงิน                 เหลือกระดาษกี่แผ่น
                                 2
          ที่เหลือ จะเหลือเงินอีก 48 บาท                ก. 61 แผ่น            ข. 62 แผ่น
     ง. เงินที่เหลือจากการซื้อผ้าเช็ดหน้า               ค. 63 แผ่น            ง. 64 แผ่น
                                                   19. “นิคมมีที่ดิน 8 แปลง แต่ละแปลงมี
          น้อยกว่า 50 บาท
16. “ป้ามีกุ้งแห้ง 17 กิโลกรัม แบ่งใส่ถุงถุงละ         พื้นที่ 1 ไร่” จากข้อมูลข้อใดถูกต้อง
                                                                  2
                   5
      1   กิโลกรัม” จากข้อความข้อใดถูกต้อง               ก. นิคมมีที่ดินทั้งหมด 3 ไร่
      5
                                                         ข. หากนิคมขายที่ดินไร่ละ 28,500
      ก. หากขายกุ้งแห้งถุงละ 50 บาท
                                                            บาท นิคมจะได้เงินแปลงละ
         จะได้เงิน 850 บาท
                                                            14,200 บาท
      ข. หากขายกุ้งแห้งถุงละ 40 บาท
                                                         ค. หากนิคมแบ่งที่ดินให้น้องสาว 2
         จะได้เงิน 660 บาท
                                                            แปลง นิคมจะเหลือที่ดิน 3 ไร่
      ค. หากป้าให้กุ้งแห้งแก่เพื่อนบ้าน
                                                         ง. หากนิคมขายที่ดินไร่ละ 30,000
         ไป 3 ถุง ป้าจะเหลือกุ้งแห้ง15 ถุง
                                                            บาท นิคมจะได้เงินทั้งหมด
      ง. หากป้านากุ้งแห้งไปขาย 11 ถุง
                                                            125,000 บาท
         ป้าจะเหลือกุ้งแห้ง 5 ถุง
20. “กมลมีเงิน 500 บาท” จากข้อมูลข้อใดถูกต้อง
      ก. กมลนาเงินไปซื้อรองเท้า 3 ของเงินที่มีอยู่ กมลจะเหลือเงิน 250 บาท
                                   6
      ข. กมลนาเงินไปบริจาค     3
                                   ของเงินที่มีอยู่ เท่ากับกมลบริจาคเงินไป 100 บาท
                              10
      ค. กมลนาเงินไปซื้อกระเป๋า    3
                                       ของเงินที่มีอยู่ กมลจะเหลือเงิน 115 บาท
                                   4
      ง. กมลนาเงินไปซื้อของใช้ 5 ของเงินที่มีอยู่ เท่ากับกมลใช้เงินไป 315.50 บาท
                                   8

More Related Content

What's hot

แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
จตุรพล ชานันโท
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
สุภาพร สิทธิการ
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
khemmarat
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
Wichai Likitponrak
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2Yoon Yoon
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
Fern Monwalee
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
Itt Bandhudhara
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
Thanawut Rattanadon
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
เล็ก น่ารัก
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 

What's hot (20)

แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 

Similar to Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น

ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการVachii Ra
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการRatchada Kaewwongta
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการRsmay Saengkaew
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการTaii Wasana
 
4mat
4mat4mat
Plan 4
Plan 4Plan 4
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 

Similar to Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น (20)

ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 

Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น

  • 1. BEST PRACTICE บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดย นางสาวอธัญญา พลขาง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านซับสนุ่น อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต 2
  • 2. คานา คณิตศาสตร์เป็นวิชาพื้นฐาน และเป็นเครื่องมือในการเรียนวิชาอื่นๆ และจาเป็นต่อชีวิตประจาวัน โดยคณิตศาสตร์ เป็นสาระที่ต้องใช้การฝึกทักษะกระบวนการ ซึ่ง ขึ้นอยู่กับความรู้พื้นฐานและศักยภาพและ ความแตกต่างระหว่างบุคคลของ ผู้เรียน โดยมีผู้เรียนมากมายที่ต้องแก้ไขและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น การพัฒนารูปแบบการสอน ใช้แบบฝึกทักษะและเกมส์ คณิตศาสตร์มาเป็นตัวเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น และเป็นความหลากหลายของกิจกรรมการเรียนรู้และ รูปแบบการสอนที่จะให้ผู้เรียนสนใจในเนื้อหานั้นได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น การจัดทา BEST PRACTICE บทเรียนการ์ตูนช่วยสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดความสนใจในการ เรียน มีทักษะการคิด มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนเพิ่มขึ้น ใช้เวลาสว่างให้เป็นประโยชน์ ฝึกคิดแก้ปัญหา เพื่อมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันและเป็นการสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ต่อไป นางสาวอธัญญา พลขาง ผู้จัดทา
  • 3. Best Practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 15101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ชื่อ นางสาวอธัญญา พลขาง ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ >>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>> >>>>>> 1. ชื่อนวัตกรรม : บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2. ตอบสนองกลยุทธ : การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3. จุดประสงค์ : เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน 4. ความเป็นมาและแนวคิดในการออกแบบ จากสภาพปัจจุบันในการจัดการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ในภาพรวมระดับประเทศยังไม่บรรลุจุดมุ่งหมายของ หลักสูตร โดยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ค่อนข้างต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งจากผลการประเมิน คุณภาพนักเรียนระดับประเทศพบว่า ความรู้ความสามารถในวิชาคณิตศาสตร์ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องปรับปรุงและจากที่ผู้ศึกษา ค้นคว้าได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียนให้ทาหน้าที่จัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 15101) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านซับสนุ่น พบว่าคะแนนเฉลี่ยภายหลังเรียน เรื่องเศษส่วนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี การศึกษา 2554 มีค่าร้อยละ 49 ซึ่งระดับผลการเรียนของนักเรียนอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพึงพอใจ จากความสาคัญและปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความเห็นว่าควรจะมีการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ และความสนใจในการเรียน เพราะผลการเรียนรู้และความสนใจในการเรียน จะ ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืนของนักเรียนอันเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้ศึกษาค้นคว้าในฐานะเป็นครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ได้ตระหนักและเห็นความสาคัญของปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นกับ นักเรียนจึงได้สร้างบทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
  • 4. 5. วิธีการ/วิธีปฏิบัติจนทาให้เป็นผลสาเร็จ ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหา ศึกษาข้อมูลรายบุคคล แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน จัดทาแผนการดาเนินงาน ดาเนินงานตามแผน บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่ พัฒนาแก้ไขปรับปรุง ใช่ ประเมินผลการเรียน สรุปรายงาน
  • 5. ขั้นตอนการดาเนินงาน จากการที่ผู้สอนได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 โดยมีจานวนนักเรียนดังนี้ ชั้น จานวน นักเรียน ป. 5/1 20 คน นักเรียน ป. 5/2 20 คน รวม 40 คน และมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้ 1. ขั้นวางแผน วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน โดยใช้เกรดของผลการ เรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของภาคเรียนที่ผ่านมา ได้ดังนี้ ชั้น กลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน นักเรียน ป. 5/1 7 9 4 นักเรียน ป. 5/2 6 11 3 รวม 13 20 7 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ขั้นปฏิบัติการ นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน บันทึกหลังแผนการ จัดการเรียนรู้ และนาปัญหาข้อบกพร่องมาปรับปรุงในการจัดกิจกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ต่อไป 3. ขั้นสังเกตการณ์ สังเกตกระบวนการปฏิบัติและผลของการปฏิบัติโดยใช้เครื่องมือและเทคนิค การรวบรวมข้อมูล เช่น บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน 4. ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ วิเคราะห์ ประเมิน อภิปราย สรุปผล เสนอแนะและปรับปรุงการจัด กิจกรรมในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ 5. สรุปผล ผลการดาเนินงาน / ผลที่คาดว่าจะได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอนเป็นกิจกรรมที่มี ความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการร่วม กิจกรรม นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงทาให้เกิดการสร้างองค์ความรู้และแก้ ปัญหาได้จริงด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากที่ได้ดาเนินการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนการ์ตูนช่วยสอนแล้วพบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 81.6
  • 7. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน เวลา 4 ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ ระหว่างการดาเนินการต่างๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด มฐ. ค 1.2 ป.5/1 บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของเศษส่วน พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคาตอบ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ตัวชี้วัด มฐ. ค 6.1 ป.4-6/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา มฐ. ค 6.1 ป.4-6/2 ใช้ความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มฐ. ค 6.1 ป.4-6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม มฐ. ค 6.1 ป.4-6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสารการสื่อความหมาย และ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มฐ. ค 6.1 ป.4-6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายเกี่ยวกับเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน (K) 2. แสดงวิธีการบวกและการลบเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง (P) 3. มีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน (A)
  • 8. สาระสาคัญ การบวกและการลบเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง ให้ทาเศษส่วนให้มีตัวส่วน เท่ากันก่อน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบเหมือนกับการบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การคูณเศษส่วน ใช้วิธีนาตัวเศษคูณกับตัวเศษและตัวส่วนคูณกับตัวส่วน เศษส่วนสองจานวนคูณกันเท่ากับ 1 เรียกเศษส่วนแต่ละจานวนนั้นว่า ส่วนกลับของเศษส่วน อีกจานวนหนึ่ง การหารเศษส่วน อาจคิดได้จากการคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งกับส่วนกลับของตัวหาร สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ การบวกเศษส่วน การลบเศษส่วน การคูณเศษส่วน การหารเศษส่วน 2. ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า การบวกและการลบเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัว หนึ่ง ให้ทาเศษส่วนให้มีตัวส่วนเท่ากันก่อน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบเหมือนกับการบวกหรือการลบ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน ใช้วิธีนาตัวเศษคูณกับตัวเศษและตัวส่วนคูณกับตัวส่วน เศษส่วนสอง จานวนคูณกันเท่ากับ 1 เรียกเศษส่วนแต่ละจานวนนั้นว่า ส่วนกลับของเศษส่วน อีกจานวนหนึ่ง การหาผลหารของการหารเศษส่วน สามารถทาได้โดยการคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งกับส่วนกลับของ เศษส่วนที่เป็นตัวหาร
  • 9. ชิ้นงานหรือภาระงาน 1. ผลงานจากกิจกรรมข้อ 2 - 3 2. แบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน 3. แบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน 4. แบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน 5. แบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน คาถามท้าทาย นักเรียนมีวิธีการอย่างไร เพื่อให้สามารถหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหารของเศษส่วนได้ รวดเร็วที่สุด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม โดยมีเด็กเก่ง ปานกลาง อ่อน ตามคะแนนที่ได้จากการทดสอบ ก่อนเรียน โดยเรียงคะแนนจากลาดับที่ 1 - 20 ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 1 2 3 4 8 7 6 5 9 10 11 12 16 15 14 13 17 18 19 20 2. นักเรียนศึกษาภาพเรื่องราวการ์ตูนที่ครูให้ โดยเรียนตามศูนย์การเรียนรู้ดังนี้
  • 10. แผนผังการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้ที่ 1 การบวกเศษส่วน ศูนย์การเรียนรู้ที่ 4 ศูนย์การเรียนรู้ที่ 2 การหารเศษส่วน การลบเศษส่วน ศูนย์การเรียนรู้ที่ 3 การคูณเศษส่วน กลุ่มที่ 1 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มที่ 2 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มที่ 3 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มที่ 4 เริ่มที่ศูนย์การเรียนรู้ที่ 4
  • 11. 3. นักเรียนช่วยกันคิดและเล่นโดมิโนการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนตามบทเรียน การ์ตูนที่ได้ศึกษา โดยมีเวลาจากัด 15 นาทีให้ต่อโดมิโนให้ได้มากที่สุดตามความสามารถ ของแต่ละกลุ่ม 4. ครูตรวจสอบความถูกต้อง และให้คะแนนตามลาดับ 5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะประจาศูนย์การเรียนรู้ 6. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้และสิ่งที่ได้รับ 7. นักเรียนเขียนอนุทินการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศเชิงบวก ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมเดี่ยวและกิจกรรมกลุ่ม ครูเน้นให้ นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนด้วยวิธีการของตนเองได้อย่างอิสระ ไม่ต้องกลัวผิด สื่อการเรียน 1. ภาพบทเรียนการ์ตูนเนื้อหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 2. โดมิโนการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 3. แบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน 4. แบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน 5. แบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน 6. แบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 1.2 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน 1.3 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน 1.4 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน 1.5 ตรวจแบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน
  • 12. 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2.2 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน 2.3 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน 2.4 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน 2.5 แบบประเมินแบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง 3.2 ประเมินแบบฝึกทักษะการบวกเศษส่วน ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1 (10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน) การแสดงวิธีทา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหาคาตอบ แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา หาคาตอบของ คาตอบของการบวก ของการบวกเศษส่วน คาตอบของการบวก คาตอบของการบวก การบวกเศษส่วน เศษส่วนได้ถูกต้อง ได้ถูกต้องมีบางข้อ เศษส่วนได้ถูกต้อง เศษส่วนได้ถูกต้อง ทุกข้อด้วยตนเอง ผิดแต่สามารถแก้ไข ด้วยตนเองมีบางข้อ แต่ต้องมีผู้แนะนาทุก ได้ด้วยตนเอง ผิดเมื่อมีผู้แนะนาก็ ข้อ สามารถแก้ไขได้
  • 13. 3.3 ประเมินแบบฝึกทักษะการลบเศษส่วน ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1 (10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน) การแสดงวิธีทา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหาคาตอบ แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา หาคาตอบของ คาตอบของการลบ ของการลบเศษส่วน คาตอบของการลบ คาตอบของการลบ การลบเศษส่วน เศษส่วนได้ถูกต้อง ได้ถูกต้องมีบางข้อ เศษส่วนได้ถูกต้อง เศษส่วนได้ถูกต้อง ทุกข้อด้วยตนเอง ผิดแต่สามารถแก้ไข ด้วยตนเองมีบางข้อ แต่ต้องมีผู้แนะนาทุก ได้ด้วยตนเอง ผิดเมื่อมีผู้แนะนาก็ ข้อ สามารถแก้ไขได้ 3.4 ประเมินแบบฝึกทักษะการคูณเศษส่วน ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1 (10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน) การแสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา คาตอบของการคูณ คาตอบของการคูณ คาตอบของการคูณ คาตอบของการคูณ คาตอบของการคูณ เศษส่วน เศษส่วนได้ถูกต้อง เศษส่วนได้ถูกต้อง เศษส่วนได้ถูกต้อง เศษส่วนได้ถูกต้อง ทุกข้อด้วยตนเอง มีบางข้อผิดแต่ ด้วยตนเอง มีบางข้อ แต่ต้องมีผู้แนะนา สามารถแก้ไขได้ ผิด เมื่อมีผู้แนะนา ทุกข้อ ด้วยตนเอง ก็สามารถแก้ไขได้
  • 14. 3.5 ประเมินแบบฝึกทักษะการหารเศษส่วน ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1 (10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน) การแสดงวิธีทา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทาหา แสดงวิธีทา แสดงวิธีทาหา หาคาตอบของ คาตอบของการหาร คาตอบของการหาร หาคาตอบของ คาตอบของการหาร การหารเศษส่วน เศษส่วนได้ถูกต้อง เศษส่วน ได้ถูกต้อง การหารเศษส่วน เศษส่วนได้ถูกต้อง ทุกข้อด้วยตนเอง มีบางข้อผิดแต่ ได้ถูกต้องด้วยตนเอง แต่ต้องมีผู้แนะนา สามารถแก้ไขได้ มีบางข้อผิด เมื่อมีผู้ ทุกข้อ ด้วยตนเอง แนะนาก็สามารถ แก้ไขได้
  • 15. แบบฝึกทักษะเรื่อง การบวกเศษส่วน ได้คะแนน .................................. วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ...................... คะแนนเต็ม 10 คะแนน ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่......................... คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า) 1. 1 + 4 =  2. 18 + 2 =  13 9 4 8 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ 5  3. 1 + 6 = 4. 1 + 2 = 7 4 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________
  • 16. แบบฝึกทักษะเรื่อง การลบเศษส่วน ได้คะแนน .................................. วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ...................... คะแนนเต็ม 10 คะแนน ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่......................... คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า) 1. 5 - 4 =  2. 18 - 2 =  13 9 6 8 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ 3. 8 - 2 =  4. 4 - 2 =  7 10 4 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________
  • 17. แบบฝึกทักษะเรื่อง การคูณเศษส่วน วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ...................... ได้คะแนน ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่......................... .................................. คะแนนเต็ม 10 คะแนน คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า) 3 1. 2 × 4 =  2. 5 × 3 =  5 6 5 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ 3. 7 × 4 =  3 5 4. 2 × 6 =  3 5 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________
  • 18. แบบฝึกทักษะเรื่อง การหารเศษส่วน วันที่.................เดือน...........................พ.ศ. ...................... ได้คะแนน ชื่อ.................................................................. ชั้น........................เลขที่......................... .................................. คะแนนเต็ม 10 คะแนน คาชี้แจง จงแสดงวิธีการหาคาตอบ (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า) 1. 1 ÷ 4 =  2. 2 ÷ 3 =  3 5 5 4 วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ 3. 4 ÷ 1 =  7 4 7 7 4. 10 ÷ 10 =  วิธีทา______________________ วิธีทา______________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________ __________________________
  • 19. ข้อสอบพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน จานวน 20 ข้อ จงกา  ทับตัวอักษรตรงกับตัวเลือกที่ต้องการลงในกระดาษคาตอบ 1. 2 + 1 = 4. 3  8 กับ 2 1  3 มีค่าต่างกันเท่าไร 3 9 2 4 จะต้องดาเนินการตามข้อใดเป็นอันดับแรก ก. 1 ข. 1 ก. นาเศษมาบวกกัน 8 ข. ทาเศษให้เท่ากัน ค. 2 ง. 3 3 8 ค. ทาส่วนให้เท่ากัน 5. ข้อใดถูกต้อง ง. ทาเศษและส่วนให้เท่ากัน ก. 5 – 2 = 7 – 11 2. ข้อใดมีผลลัพธ์เท่ากับ 4 + 6 6 3 9 18 9 18 ข. 4 – 8 = 2 – 30 ก. 1 + 11 ข. 1 + 4 9 27 3 54 2 18 3 9 ค. 1 + 4 = 11 + 1 ค. 2 + 10 ง. 3 + 21 3 6 12 6 6 12 9 27 ง. 21 + 2 = 5 + 1 3. 1 ของ 3 มีค่าเท่ากับข้อใด 36 6 6 3 3 5 6. 2 1 + 1 3 =  ผลลัพธ์มีค่าเท่าไร ก. 1 – 3 ข. 1 + 3 2 10 3 5 3 5 ก. 3 1 ข. 3 7 ค. 1  3 ง. 1 ÷ 3 2 8 3 5 3 5 ค. 3 2 ง. 3 4 5 5
  • 20. 7. 1  5 กับ 1 ÷ 2 12. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 6 3 นาผลลัพธ์มาบวกกันจะเท่ากับข้อใด 1. 3 ของระยะทาง 36 กิโลเมตร 4 ก. 2 ข. 3 6 6 2. 2 ของระยะทาง 27 กิโลเมตร 3 ค. 5 6 ง. 1 8. ข้อใดมีค่ามากกว่า 2 ÷ 5 ข้อใดถูกต้อง 3 6 ก. ข้อ 1 มีระยะทางสั้นกว่าข้อ 2 ก. 3  2 ข. 7 + 3 5 3 15 5 7 กิโลเมตร ค. 1 ของ 2 ง. 1  4 ข. ข้อ 1 มีระยะทางยาวกว่าข้อ 2 2 5 3 5 9. 8  ( 10 – 4 ) =  มีค่ามากกว่า 1 7 กิโลเมตร 9 8 16 3 ค. ข้อ 1 มีระยะทางสั้นกว่าข้อ 2 อยู่เท่าไร 9 กิโลเมตร ก. 3 ข. 4 ง. ข้อ 1 มีระยะทางยาวกว่าข้อ 2 9 9 9 กิโลเมตร ค. 5 ง. 6 13. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 9 9 1. ( 1 + 3 ) ÷ 3 = 1 1 10. ข้อใดมีผลลัพธ์เท่ากับ 1 2 8 7 24 2 ก. ( 7 – 2 ) + 7 2. 17 + ( 10  3 ) = 6 3 9 3 18 4 3 4 4 ข. ( 3  6 ) + ( 1 – 7) 5 5 5 5 3. ( 1  32 ) ÷ 1 = 11 ค. 3 ( 3 – 5) 8 3 6 4 8 ง. (2 ÷ 5 ) 1 ข้อใดถูกต้อง 3 3 2 ก. ข้อ 2 เท่านั้น ข. ข้อ 1, 3 11. 2 ของสมุดหนึ่งโหล เท่ากับสมุดกี่เล่ม 3 ค. ข้อ 2, 3 ง. ข้อ 1, 2, 3 ก. 4 เล่ม ข. 6 เล่ม ค. 8 เล่ม ง. 10 เล่ม
  • 21. 14. เชือก 8 เส้นยาวเส้นละ 5 เมตร นามาต่อกัน 17. แม่มีเงินอยู่ 900 บาท ซื้อชุดนักเรียนให้ 8 จะยาวเท่าไร ลูก 2 ของเงินที่มีอยู่ และซื้อรองเท้าอีก 5 ก. 4 เมตร ข. 5 เมตร 1 ของเงินที่มีอยู่เดิม แม่เหลือเงินกี่บาท 4 ค. 6 เมตร ง. 7 เมตร ก. 312 บาท 15. “นิดมีเงิน 120 บาท นาไปซื้อผ้าเช็ดหน้า ข. 315 บาท 1 ของเงินที่มีอยู่” จากข้อความข้อใดถูกต้อง 5 ค. 321 บาท ก. เงินที่เหลือจากการซื้อผ้าเช็ดหน้า ง. 327 บาท มากกว่า 100 บาท 18. กระดาษ 1 รีม มี 480 แผ่น ใช้กระดาษ ข. นาเงินไปซื้อขนม 1 ของเงินที่ ครั้งแรก 1 ของรีม ใช้ครั้งที่สอง 4 3 3 5 เหลือ จะเหลือเงินอีก 65 บาท ของกระดาษที่เหลือ อยากทราบว่า ค. นาเงินไปซื้อดินสอสี 1 ของเงิน เหลือกระดาษกี่แผ่น 2 ที่เหลือ จะเหลือเงินอีก 48 บาท ก. 61 แผ่น ข. 62 แผ่น ง. เงินที่เหลือจากการซื้อผ้าเช็ดหน้า ค. 63 แผ่น ง. 64 แผ่น 19. “นิคมมีที่ดิน 8 แปลง แต่ละแปลงมี น้อยกว่า 50 บาท 16. “ป้ามีกุ้งแห้ง 17 กิโลกรัม แบ่งใส่ถุงถุงละ พื้นที่ 1 ไร่” จากข้อมูลข้อใดถูกต้อง 2 5 1 กิโลกรัม” จากข้อความข้อใดถูกต้อง ก. นิคมมีที่ดินทั้งหมด 3 ไร่ 5 ข. หากนิคมขายที่ดินไร่ละ 28,500 ก. หากขายกุ้งแห้งถุงละ 50 บาท บาท นิคมจะได้เงินแปลงละ จะได้เงิน 850 บาท 14,200 บาท ข. หากขายกุ้งแห้งถุงละ 40 บาท ค. หากนิคมแบ่งที่ดินให้น้องสาว 2 จะได้เงิน 660 บาท แปลง นิคมจะเหลือที่ดิน 3 ไร่ ค. หากป้าให้กุ้งแห้งแก่เพื่อนบ้าน ง. หากนิคมขายที่ดินไร่ละ 30,000 ไป 3 ถุง ป้าจะเหลือกุ้งแห้ง15 ถุง บาท นิคมจะได้เงินทั้งหมด ง. หากป้านากุ้งแห้งไปขาย 11 ถุง 125,000 บาท ป้าจะเหลือกุ้งแห้ง 5 ถุง
  • 22. 20. “กมลมีเงิน 500 บาท” จากข้อมูลข้อใดถูกต้อง ก. กมลนาเงินไปซื้อรองเท้า 3 ของเงินที่มีอยู่ กมลจะเหลือเงิน 250 บาท 6 ข. กมลนาเงินไปบริจาค 3 ของเงินที่มีอยู่ เท่ากับกมลบริจาคเงินไป 100 บาท 10 ค. กมลนาเงินไปซื้อกระเป๋า 3 ของเงินที่มีอยู่ กมลจะเหลือเงิน 115 บาท 4 ง. กมลนาเงินไปซื้อของใช้ 5 ของเงินที่มีอยู่ เท่ากับกมลใช้เงินไป 315.50 บาท 8