SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ตวงพลอย โชติมงคลวาร ม.6/6 เลขที่ 3
ใบงาน
เรื่อง การปลูกพืชสมุนไพร
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้มาตรฐานที่ 91.1
คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลการปลูกพืชสมุนไพร 1 ชนิด
โหระพา
ลักษณะพืช
พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 0.3-0.9 เมตร ลาต้นกิ่งก้านเป็นเหลี่ยม สีม่วงหรือแดงเข้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือวงรี
ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอกสีขาว ออกที่ปลายยอดลาต้น ผลแห้ง มี 4 ผลย่อย เมล็ดเล็กเท่าเมล็ดงา สีน้าตาลเข้ม
การขยายพันธุ์
การปักชากิ่ง เพราะเพียงเรานาเอากิ่งที่ซื้อมาจากตลาดและเด็ดใบไปประกอบอาหารหมดแล้วมาทา การปักชาในกระบะทราย
หรือแกลบดาชื้น ๆ และวางไว้ในที่ร่ม เพียงแค่ 7 วัน กิ่งที่ปักไว้ก็จะออกรากให้เราสามารถย้ายไปปลูกได้แล้ว ส่วนการ
เพาะเมล็ดนั้นก็ไม่ได้ยุ่งยากแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องเตรียมดินปลูกให้ละเอียดมากขึ้น เพื่อให้การปลูกเมล็ดโหระพาซึ่งมีเมล็ด
ที่เล็กมากได้ผลดี โรยเมล็ดลงในดินปลูกอย่าให้ถี่เกินไปนัก รอจนกว่าเมล็ดจะงอกต้น แล้วนากระบะปลูกไปรับแสงแดดบ้าง
เพื่อให้ต้นกล้าแข็งแรง เพียงเท่านี้เมื่อต้นกล้าโตได้ราว 10-15 เซนติเมตร เราก็สามารถย้ายไปปลูกในที่ที่ต้องการได้
วัสดุ – อุปกรณ์ในการปลูกและดูแลรักษา
1.จอบ 2.เสียม 3.ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต (21-0-0) 4.แปลงปลูก 5.ดิน 6.กระบะทราย 7.กระบะเพาะชา 8.
การปลูก
- การเตรียมดิน ไถดินให้ลึก 30-40 ซม. ตากดิน 2 อาทิตย์ ย่อยดินให้ละเอียดใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ให้มี
อินทรียวัตถุสูง ดินร่วน มีความชื้นในดินสูง และแสงแดดปานกลาง การปลูกใช้ระยะปลูก ระยะระหว่างต้น 25 ซม.
ระหว่างแถว 50 ซม. ให้น้าสม่าเสมอ
- ใช้กิ่งปักชาในกระบะทราย หรือแกลบดาชื้นในที่ ประมาณ 1 สัปดาห์ ก็ย้ายปลูกได้ หรือเพาะด้วยเมล็ด อาจใช้วิธีหว่าน
เมล็ดให้ทั่วแปลง ใช้ฟางกลบ หรือปุ๋ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้วโรยทับบางๆ รดน้าตามทันทีด้วยบัวรดน้าตาถี่ในกระบะเพาะชา
กล้าเจริญเติบโดสูงประมาณ 10-15 ซม. จึงย้ายปลูก
- การเก็บเกี่ยว ใช้มีดคมๆ ตัดกิ่งที่เจริญเติบโตเต็มที่ อายุเก็บเกี่ยว 50 วัน หลังหยอดเมล็ดสามารถเก็บเกี่ยวได้หลายครั้ง
ผลผลิต 4-6 ตัน/
การให้น้า
ควรรดน้าให้ชุ่มทุกวัน และใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูงในปริมาณเล็กน้อยเป็นครั้งคราว โดยระวังอย่าใส่ปุ๋ยให้ถูกใบเนื่องจากจะทา
ให้ใบโหระพาไหม้ได้
การให้ปุ๋ย
ใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0)ในอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ละลายน้ารดหลังปลูกประมาณ 15-20 วัน จะทาให้การ
เจริญเติบโตของโหระพาดียิ่งขึ้น และ มียอดอวบงามและใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ทุกครั้งหลังจากการ
เก็บเกี่ยวสาหรับการป้องกันกาจัดโรคและแมลงนั้น เนื่องจากโหระพาเป็นพืชไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและแมลงมากนัก การ
แก้ปัญหาจึงไม่ควรใช้สารเคมี เพราะอาจไม่คุ้มค่า
การป้องกันโรค
การเพาะปลูกเป็นแปลงย่อมประสบปัญหาแมลงศัตรูกะเพราะคือ เพลี้ยไฟฝ้ายต้องระวังอย่าปล่อยให้มีการท่วมขังของน้าใน
แปลง ในระยะแรกควรทาการพรวนดินและกาจัดพืชทุกๆ 1-2 สัปดาห์ โดยการใช้มือถอนจอบหรือเสียมดายหญ้าออก
ประโยชน์
- ใบสด มีน้ามันหอมระเหย เช่น methyl chavicol และ linalool ฯลฯ ขับลมแก้ท้องอืดเฟ้อ ใช้เป็นอาหาร แต่ง
กลิ่นอาหาร แต่งกลิ่นสาอางบางชนิด เมล็ดเมื่อแช่น้าจะพองเป็นเมือก เป็นยาระบาย เนื่องจากไปเพิ่มจานวนกาก
อาหาร
- ใช้เป็นยาได้หลายชนิด เช่น ปรุงร่วมกับน้านมราชสีห์เพื่อกินเพิ่มน้านม ตารวมกับแมงดาตัวผู้ใช้แก้พิษแมลงกัด
ต่อย นิยมรับประทานร่วมกับอาหารประเภทหลน ลาบ ยา ส้มตา ใส่ในแกงเขียวหวาน แกงเผ็ด
แหล่งที่มา : th.wikipedia.org/wiki/โหระพา

More Related Content

What's hot

25510901 Ivy Gourd
25510901 Ivy Gourd25510901 Ivy Gourd
25510901 Ivy Gourd
narongptt
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
Wichai Likitponrak
 
นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์
garenaza8900
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
guestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
guestd908c1
 
ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้
pukesasin
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
Wichai Likitponrak
 

What's hot (17)

Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
25510901 Ivy Gourd
25510901 Ivy Gourd25510901 Ivy Gourd
25510901 Ivy Gourd
 
Pttschool
PttschoolPttschool
Pttschool
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Coccinia grandis
Coccinia grandisCoccinia grandis
Coccinia grandis
 
นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
ชงโค
ชงโคชงโค
ชงโค
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 

Similar to Test Upload

Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
Wichai Likitponrak
 

Similar to Test Upload (20)

Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
โครงงาน333
โครงงาน333โครงงาน333
โครงงาน333
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 

Test Upload

  • 1. ตวงพลอย โชติมงคลวาร ม.6/6 เลขที่ 3 ใบงาน เรื่อง การปลูกพืชสมุนไพร ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้มาตรฐานที่ 91.1 คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลการปลูกพืชสมุนไพร 1 ชนิด โหระพา ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 0.3-0.9 เมตร ลาต้นกิ่งก้านเป็นเหลี่ยม สีม่วงหรือแดงเข้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือวงรี ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอกสีขาว ออกที่ปลายยอดลาต้น ผลแห้ง มี 4 ผลย่อย เมล็ดเล็กเท่าเมล็ดงา สีน้าตาลเข้ม การขยายพันธุ์ การปักชากิ่ง เพราะเพียงเรานาเอากิ่งที่ซื้อมาจากตลาดและเด็ดใบไปประกอบอาหารหมดแล้วมาทา การปักชาในกระบะทราย หรือแกลบดาชื้น ๆ และวางไว้ในที่ร่ม เพียงแค่ 7 วัน กิ่งที่ปักไว้ก็จะออกรากให้เราสามารถย้ายไปปลูกได้แล้ว ส่วนการ เพาะเมล็ดนั้นก็ไม่ได้ยุ่งยากแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องเตรียมดินปลูกให้ละเอียดมากขึ้น เพื่อให้การปลูกเมล็ดโหระพาซึ่งมีเมล็ด ที่เล็กมากได้ผลดี โรยเมล็ดลงในดินปลูกอย่าให้ถี่เกินไปนัก รอจนกว่าเมล็ดจะงอกต้น แล้วนากระบะปลูกไปรับแสงแดดบ้าง เพื่อให้ต้นกล้าแข็งแรง เพียงเท่านี้เมื่อต้นกล้าโตได้ราว 10-15 เซนติเมตร เราก็สามารถย้ายไปปลูกในที่ที่ต้องการได้ วัสดุ – อุปกรณ์ในการปลูกและดูแลรักษา 1.จอบ 2.เสียม 3.ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต (21-0-0) 4.แปลงปลูก 5.ดิน 6.กระบะทราย 7.กระบะเพาะชา 8. การปลูก - การเตรียมดิน ไถดินให้ลึก 30-40 ซม. ตากดิน 2 อาทิตย์ ย่อยดินให้ละเอียดใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ให้มี อินทรียวัตถุสูง ดินร่วน มีความชื้นในดินสูง และแสงแดดปานกลาง การปลูกใช้ระยะปลูก ระยะระหว่างต้น 25 ซม.
  • 2. ระหว่างแถว 50 ซม. ให้น้าสม่าเสมอ - ใช้กิ่งปักชาในกระบะทราย หรือแกลบดาชื้นในที่ ประมาณ 1 สัปดาห์ ก็ย้ายปลูกได้ หรือเพาะด้วยเมล็ด อาจใช้วิธีหว่าน เมล็ดให้ทั่วแปลง ใช้ฟางกลบ หรือปุ๋ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้วโรยทับบางๆ รดน้าตามทันทีด้วยบัวรดน้าตาถี่ในกระบะเพาะชา กล้าเจริญเติบโดสูงประมาณ 10-15 ซม. จึงย้ายปลูก - การเก็บเกี่ยว ใช้มีดคมๆ ตัดกิ่งที่เจริญเติบโตเต็มที่ อายุเก็บเกี่ยว 50 วัน หลังหยอดเมล็ดสามารถเก็บเกี่ยวได้หลายครั้ง ผลผลิต 4-6 ตัน/ การให้น้า ควรรดน้าให้ชุ่มทุกวัน และใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูงในปริมาณเล็กน้อยเป็นครั้งคราว โดยระวังอย่าใส่ปุ๋ยให้ถูกใบเนื่องจากจะทา ให้ใบโหระพาไหม้ได้ การให้ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0)ในอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ละลายน้ารดหลังปลูกประมาณ 15-20 วัน จะทาให้การ เจริญเติบโตของโหระพาดียิ่งขึ้น และ มียอดอวบงามและใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ทุกครั้งหลังจากการ เก็บเกี่ยวสาหรับการป้องกันกาจัดโรคและแมลงนั้น เนื่องจากโหระพาเป็นพืชไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและแมลงมากนัก การ แก้ปัญหาจึงไม่ควรใช้สารเคมี เพราะอาจไม่คุ้มค่า การป้องกันโรค การเพาะปลูกเป็นแปลงย่อมประสบปัญหาแมลงศัตรูกะเพราะคือ เพลี้ยไฟฝ้ายต้องระวังอย่าปล่อยให้มีการท่วมขังของน้าใน แปลง ในระยะแรกควรทาการพรวนดินและกาจัดพืชทุกๆ 1-2 สัปดาห์ โดยการใช้มือถอนจอบหรือเสียมดายหญ้าออก ประโยชน์ - ใบสด มีน้ามันหอมระเหย เช่น methyl chavicol และ linalool ฯลฯ ขับลมแก้ท้องอืดเฟ้อ ใช้เป็นอาหาร แต่ง กลิ่นอาหาร แต่งกลิ่นสาอางบางชนิด เมล็ดเมื่อแช่น้าจะพองเป็นเมือก เป็นยาระบาย เนื่องจากไปเพิ่มจานวนกาก อาหาร - ใช้เป็นยาได้หลายชนิด เช่น ปรุงร่วมกับน้านมราชสีห์เพื่อกินเพิ่มน้านม ตารวมกับแมงดาตัวผู้ใช้แก้พิษแมลงกัด ต่อย นิยมรับประทานร่วมกับอาหารประเภทหลน ลาบ ยา ส้มตา ใส่ในแกงเขียวหวาน แกงเผ็ด แหล่งที่มา : th.wikipedia.org/wiki/โหระพา