SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบความรูเรื่องแรงลอยตัว

1. แรงลอยตัว(buoyant force)
   “เมื่อวัตถุอยูในของไหล จะมีแรงลอยตัวกระทําตอวัตถุ แรงลอยตัวดังกลาวเกิดจากความแตกตางของความดัน
   ของวัตถุ ณ ตําแหนงที่มีความลึกแตกตางกัน แรงลอยตัวดังกลาวจะพยายามยกวัตถุขนสูผิวหนาของของไหล”
                                                                                ึ้
                                                                  F1 = P1A =ρgh1A
                                                                  F2 = P2A =ρgh2A
                                                                  ผลตางของแรงดันขึ้นกับแรงดันลงคือแรง
                                                                  ลอยตัว FB
                                                                    FB = F2 – F1 =ρg (h2-h1) A =ρgV

2. เปรียบเทียบการชั่งวัตถุในอากาศกับในของเหลว
F1,F2 = แรงดึงของตาชั่งสปริง (น้ําหนักที่อานไดจากตาชั่งสปริงหรือแรงยกวัตถุ)
     mg = น้ําหนักของวัตถุ , FB = แรงลอยตัวในของเหลว

                                                              2.1 กรณีชั่งในอากาศ
                                                           แรงดึงขึ้นจะเทากับน้ําหนักของวัตถุ
                                                                                 F1 = mg

                                                                2.2 กรณีชั่งในของเหลว
                                                             แรงในทิศขึ้นคือแรงดึงกับแรงลอยตัว เทากับน้ําหนัก
                                                                              F2 + FB = mg
                                                                              F2 = mg - FB
ดังนั้น เมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ยกจะนอยกวา แรงที่ยกในอากาศเสมอ
3. หลักของอารคมีดีส(Archimedes’ Principle)
                    ิ
          “วัตถุท่จมอยูในของเหลวหมดทั้งกอนหรือจมเพียงบางสวน จะถูกแรงลอยตัวกระทํา และแรงลอยตัวจะ
                  ี
เทากับน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่”
                                                       อาจเขียน “ขนาดของแรงลอยตัว” ไดเปน
                                                       แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
                                                       แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ
                                                       วัตถุในสวนทีจม
                                                                    ่
4. สูตรคํานวณน้าหนักของวัตถุและแรงลอยตัว
               ํ
                              น้ําหนักของวัตถุ W = mg = ρ1gV1
                              แรงลอยตัว        FB = ρ2gV2
                              จากหลักของสมดุล
                                                       แรงลง = แรงขึ้น
                                                          mg = FB
                                                       ρ1gV1 = ρ2gV2
                                         ρ1V1 = ρ2V2
หมายเหตุ
      1) แรงลอยตัวในของเหลวที่กระทําตอวัตถุ มีคาแปรผันตรงกับปริมาตรของของเหลวทีถูกแทนที่
                                                                                   ่
      2) ถาทําใหวัตถุแทนที่ในของเหลวโดยมีปริมาตรการแทนที่เพิ่มขึ้น แรงลอยตัวที่กระทําตอวัตถุจะมีคา
         เพิ่มขึ้นดวย    (หลักการนี้ สามารถทําใหวตถุที่มความหนาแนนมากกวาของเหลวสามารถลอยบน
                                                    ั     ี
         ของเหลวไดโดยการออกแบบวัตถุใหมีปริมาตรมากขึ้น โดยการทําวัตถุใหกลวง หรือเวาตรงกลาง เชน
         กรณีเรือที่ลอยบนน้ํา เปนตน)
5. เปรียบเทียบความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของของเหลว
   5.1 วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของของเหลว
                            …..วัตถุจะลอย โดยมีบางสวนจมอยูในของเหลว ….
                            จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว
                                                       ρ1gV1 = ρ2gV2
                                                        ρ1V1 = ρ2V2

                                             5.2 วัตถุมีความหนาแนนเทากับความหนาแนนของของเหลว
                                          …..วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว หรือลอยในของเหลว…..
                                          จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว
                                                               ρ1gV1 = ρ2gV2
                                                                  ρ1 = ρ2

                                   5.3 วัตถุมีความหนาแนนมากกวาความหนาแนนของของเหลว
                                …..วัตถุจะจมอยูในของเหลว…..
                                จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว + แรง N
                                                        ρ1gV1 = ρ2gV2 + N
                                                   แต V1 = V2 ดังนั้น ρ1 > ρ2
6. สมดุลของวัตถุในของเหลว
   6.1 กรณีวตถุลอยอยูบนของเหลว หรือลอยในของเหลว
            ั
                                               จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                                    
                                                                 FB = W




   6.2 กรณีวตถุจมในของเหลว
            ั
                       จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                       N + FB = W




   6.3 กรณีวัตถุลอยอยูในของเหลว โดยมีเชือกดึงไว
                    จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                     T + FB = W




   6.4 กรณีวัตถุลอยทับกันในของเหลว
                           จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                     FB1 + FB2 = W1 + W2




   6.5 กรณีช่งวัตถุในของเหลว
             ั
                                                          พิจารณาทีวัตถุ
                                                                   ่
                                                                           T +FB = W
                                                          พิจารณาที่ตาชัง
                                                                        ่
                                                                      N + T = W + W1
                                                          จะไดวา
                                                                          N = FB + W1

More Related Content

What's hot

06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 

What's hot (20)

06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 

แรงลอยตัว1

  • 1. ใบความรูเรื่องแรงลอยตัว 1. แรงลอยตัว(buoyant force) “เมื่อวัตถุอยูในของไหล จะมีแรงลอยตัวกระทําตอวัตถุ แรงลอยตัวดังกลาวเกิดจากความแตกตางของความดัน ของวัตถุ ณ ตําแหนงที่มีความลึกแตกตางกัน แรงลอยตัวดังกลาวจะพยายามยกวัตถุขนสูผิวหนาของของไหล” ึ้ F1 = P1A =ρgh1A F2 = P2A =ρgh2A ผลตางของแรงดันขึ้นกับแรงดันลงคือแรง ลอยตัว FB FB = F2 – F1 =ρg (h2-h1) A =ρgV 2. เปรียบเทียบการชั่งวัตถุในอากาศกับในของเหลว F1,F2 = แรงดึงของตาชั่งสปริง (น้ําหนักที่อานไดจากตาชั่งสปริงหรือแรงยกวัตถุ) mg = น้ําหนักของวัตถุ , FB = แรงลอยตัวในของเหลว 2.1 กรณีชั่งในอากาศ แรงดึงขึ้นจะเทากับน้ําหนักของวัตถุ F1 = mg 2.2 กรณีชั่งในของเหลว แรงในทิศขึ้นคือแรงดึงกับแรงลอยตัว เทากับน้ําหนัก F2 + FB = mg F2 = mg - FB ดังนั้น เมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ยกจะนอยกวา แรงที่ยกในอากาศเสมอ 3. หลักของอารคมีดีส(Archimedes’ Principle) ิ “วัตถุท่จมอยูในของเหลวหมดทั้งกอนหรือจมเพียงบางสวน จะถูกแรงลอยตัวกระทํา และแรงลอยตัวจะ ี เทากับน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่” อาจเขียน “ขนาดของแรงลอยตัว” ไดเปน แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่ แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ วัตถุในสวนทีจม ่
  • 2. 4. สูตรคํานวณน้าหนักของวัตถุและแรงลอยตัว ํ น้ําหนักของวัตถุ W = mg = ρ1gV1 แรงลอยตัว FB = ρ2gV2 จากหลักของสมดุล แรงลง = แรงขึ้น mg = FB ρ1gV1 = ρ2gV2 ρ1V1 = ρ2V2 หมายเหตุ 1) แรงลอยตัวในของเหลวที่กระทําตอวัตถุ มีคาแปรผันตรงกับปริมาตรของของเหลวทีถูกแทนที่ ่ 2) ถาทําใหวัตถุแทนที่ในของเหลวโดยมีปริมาตรการแทนที่เพิ่มขึ้น แรงลอยตัวที่กระทําตอวัตถุจะมีคา เพิ่มขึ้นดวย (หลักการนี้ สามารถทําใหวตถุที่มความหนาแนนมากกวาของเหลวสามารถลอยบน ั ี ของเหลวไดโดยการออกแบบวัตถุใหมีปริมาตรมากขึ้น โดยการทําวัตถุใหกลวง หรือเวาตรงกลาง เชน กรณีเรือที่ลอยบนน้ํา เปนตน) 5. เปรียบเทียบความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของของเหลว 5.1 วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของของเหลว …..วัตถุจะลอย โดยมีบางสวนจมอยูในของเหลว …. จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว ρ1gV1 = ρ2gV2 ρ1V1 = ρ2V2 5.2 วัตถุมีความหนาแนนเทากับความหนาแนนของของเหลว …..วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว หรือลอยในของเหลว….. จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว ρ1gV1 = ρ2gV2 ρ1 = ρ2 5.3 วัตถุมีความหนาแนนมากกวาความหนาแนนของของเหลว …..วัตถุจะจมอยูในของเหลว….. จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว + แรง N ρ1gV1 = ρ2gV2 + N แต V1 = V2 ดังนั้น ρ1 > ρ2
  • 3. 6. สมดุลของวัตถุในของเหลว 6.1 กรณีวตถุลอยอยูบนของเหลว หรือลอยในของเหลว ั จากหลักของสมดุลจะไดวา  FB = W 6.2 กรณีวตถุจมในของเหลว ั จากหลักของสมดุลจะไดวา N + FB = W 6.3 กรณีวัตถุลอยอยูในของเหลว โดยมีเชือกดึงไว จากหลักของสมดุลจะไดวา T + FB = W 6.4 กรณีวัตถุลอยทับกันในของเหลว จากหลักของสมดุลจะไดวา FB1 + FB2 = W1 + W2 6.5 กรณีช่งวัตถุในของเหลว ั พิจารณาทีวัตถุ ่ T +FB = W พิจารณาที่ตาชัง ่ N + T = W + W1 จะไดวา N = FB + W1