SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้าคืออะไร
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวณัฐชยา ทาบุญตอบ เลขที่ 45 ม.6/13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม นางสาวณัฐชยา ทาบุญตอบ ม.6/13 เลขที่ 45
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคซึมเศร้าคืออะไร
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
What is depression?
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐชยา ทาบุญตอบ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทาง
กายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ
ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง
ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทาง
จิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า สามารถบอกความหมาย สาเหตุ อาการ การรักษา และการป้องกัน
ของโรคซึมเศร้าได้ถูกต้องและสามารถรับมือได้อย่างถูกต้อง
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า สามารถสังเกตถึงพฤติกรรมโรคซึมเศร้าได้ถูกต้อง
3.สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้และปรับตัวเข้ากับผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.อาการของโรคซึมเศร้า
2.พฤติกรรมที่เสี่ยงเป็น “โรคซึมเศร้า”
3.การเตรียมตัวรับมือกับโรคซึมเศร้า
4.การรักษาทางจิตใจ
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคซึมเศร้าคืออะไร
อาการของโรคซึมเศร้า
1.รู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ ไม่สบายใจ
2.ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง หรือสิ่งที่เคยให้ความสนุกสนานในอดีต
3.น้าหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลงไป
4.นอนไม่หลับ หรือนอนมากเกินกว่าปกติ
5.รู้สึกผิด สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า
6.ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถตัดสินใจเองได้ ความจาแย่ลง
7.อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง
8.กระวนกระวาย ไม่อยากทากิจกรรมใดๆ
9.คิดถึงแต่ความตาย และอยากที่จะฆ่าตัวตาย
10.ถ้าหากคุณมีอาการเช่นนี้หลายข้อ เป็นเวลามากกว่า 2 สัปดาห์ คุณอาจจะกาลังเป็นโรคซึมเศร้า
พฤติกรรมที่เสี่ยงเป็น “โรคซึมเศร้า”
ว่ากันว่าโรคซึมเศร้านั้นสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วก็อาจเกิดขึ้นจากความเครียด สังคม
รอบข้าง หรือพฤติกรรมการใช้ชีวิต น้อยมากผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงจะแสดงอาการเหล่านี้ให้คนทั่วไปได้เห็น ฉะนั้น เรา
ลองมาสังเกต 9 พฤติกรรมที่เป็นสัญญาณเตือนของโรคนี้กันดีกว่า เพราะถ้าหากคุณเอง หรือคนใกล้ตัวมีอาการ
เหล่านี้ 5 ข้อติดต่อกันภายใน 2 สัปดาห์ ก็ให้สงสัยไว้ได้เชียวล่ะว่า โรคซึมเศร้า นั้นกาลังมาเยือนแล้ว
1. มีอารมณ์หงุดหงิด ก้าวร้าว
2. ขาดความสนใจต่อสิ่งรอบข้าง
3. เสียสมาธิ ไม่มีสมาธิจดจ่อเวลาที่ทาสิ่งต่างๆ
4
4. รู้สึกร่างกาย สมองอ่อนเพลีย
5. เชื่องช้า ทาอะไรก็เป็นไปอย่างช้าๆ
6. รับประทานอาหารน้อยลงกว่าปกติ หรือรับประทานอาหารมากขึ้นกว่าปกติ
7. นอนน้อย หรือนอนมากขึ้นกว่าที่เคยเป็น
8. ชอบตาหนิตัวเอง ซึ่งอาการเช่นนี้จะพบได้มากในผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า
9. รู้สึกอยากฆ่าตัวตาย หรือสังเกตได้ว่าตัวเองมีความคิด หรือความรู้สึกแบบนี้ ก็ขอให้ตั้งข้อสันนิษฐานได้ว่า
คนๆ นั้นอาจเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า
การเตรียมตัวรับมือกับโรคซึมเศร้า
โดยปกติเท่าที่มีการพบข้อมูลขณะทาการรักษา พบว่า ผู้ที่มีเกณฑ์จะเป็นโรคซึมเศร้ามักจะเริ่มเป็นตอนช่วงอายุ
25 ปี หลังจากนั้นก็จะเกิดอาการซึมเศร้าต่อเนื่องไปเป็นระยะยาว ถึงแม้ว่าจะมีการเข้ารับการรักษาแล้ว แต่ก็ยังต้อง
เฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด การเป็นโรคซึมเศร้าก็จะมีความคล้ายคลึงการเป็นโรคเบาหวาน หรือโรคความดัน ที่
ถึงแม้จะไม่มีอาการให้เห็นแล้ว แต่ก็ต้องทานยาควบคุมไม่อาการกาเริบได้ แต่ข้อดีของการเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ตรงที่
เมื่อเข้ารับการรักษาแล้ว ผู้ป่วยจะสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้เป็นปกติ บางคนมีสติปัญญาที่ดีขึ้น เป็นคนเก่ง ในบางราย
สามารถเรียนได้ถึงในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก บางรายก็เป็นผู้บริหารระดับสูง เป็นคนที่สามารถประสบ
ความสาเร็จในสังคมได้
ฉะนั้น เมื่อพูดถึงการรักษา หากผู้ป่วยรับประทานยาจนครบแล้ว แพทย์ที่ทาการรักษาก็จะให้หยุดยา และยังต้องคอย
เฝ้าสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เนื่องจากว่ามันอาจจะกลับเป็นซ้าอีกได้ อย่าง โรคมะเร็งที่เมื่อได้ฆ่าเชื้อมะเร็งให้หมดไป
แล้ว แต่ก็ต้องเฝ้าดูว่าจะกลับมาเป็นมะเร็งซ้าอีกได้รึเปล่า โรคซึมเศร้าก็เช่นกัน การรับมือกับโรคนี้ก็ให้หมั่นสังเกตจาก
พฤติกรรมทั้ง 9 อย่างข้างต้น อย่าละเลยจนทาให้คนๆ หนึ่งต้องออกจากงาน เกิดการหย่าร้าง หรือทุบตีลูกโดยที่ไม่มี
เหตุผล หากคนที่เป็นพ่อเป็นแม่เกิดเป็นโรคนี้ไปเลี้ยงลูกเข้า ลูกก็จะกลายเป็นเด็กที่มีปัญหา เมื่อเราเจอสัญญาณ
อันตรายก็ต้องรีบพาไปรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ อย่ารอให้ผู้ป่วยมีความคิดที่ไม่ดีต่อตัวเอง อย่าง การฆ่าตัวตาย เราต้องพาเขา
เข้าสู่กระบวนการรักษาและบาบัดให้ได้เร็วที่สุด
5
การรักษาทางจิตใจ
มีวิธีรักษาทางจิตใจอยู่หลายรูปแบบ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ซึ่งอาจเป็นการ”พูดคุย”กับจิตแพทย์ 10
ถึง 20 ครั้ง อันจะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจกับสาเหตุของปัญหา และนาไปสู่การแก้ไขปัญหา โดยการเปลี่ยน
มุมมองกับแพทย์ การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีที่จะได้รับความพอใจ หรือความสุขจากการกระทา
ของเขา และพบวิธีที่จะหยุดพฤติกรรมที่ อาจนาไปสู่ความซึมเศร้าด้วย
การรักษาอีก 2 รูปแบบต่อไปที่มีการศึกษาแล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือ การรักษาแบบปรับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรม โดยการรักษารูปแบบแรกมุ่งไปที่การ
แก้ไขปัญหาระหว่าง ผู้ป่วยกับคนรอบข้างที่อาจ เป็นสาเหตุและกระตุ้นให้เกิดความซึมเศร้า ส่วนการรักษาแบบหลัง
จะช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิด และพฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง
ส่วนการรักษาโดยอาศัยทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ก็นามารักษาโรคนี้ โดยช่วยผู้ป่วยค้นหาปัญหาข้อขัดแย้งภายในจิตใจ
ผู้ป่วย ซึ่งอาจมีรากฐานมาจากประสบการณ์ตั้งแต่เด็ก
โดยทั่วไปสาหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกาเริบซ้าๆ จะต้องการการรักษาด้วยยาร่วมกับการรักษา
ทางจิตใจควบคู่กัน เพื่อผลการรักษาในระยะยาวที่ดีที่สุด
จะช่วยรักษาตนเองได้อย่างไร
การป่วยด้วยโรคซึมเศร้ามักจะทาให้คุณรู้สึกเพลีย รู้สึกไร้ค่า เหมือนช่วยตัวเองไม่ได้ ไม่มีความหวัง ความคิดในแง่ลบ
กับตนเองในแบบนี้ มักจะทาให้ผู้ป่วยบางคนท้อถอยและยอมแพ้ เป็นเรื่องสาคัญที่ต้องทราบว่าความคิดหรือความรู้สึก
เหล่านี้เป็นเพียงแค่อาการของโรค มิได้สะท้อนเรื่องจริงในชีวิตของคุณอย่างถูกต้องแต่อย่างใด ความคิดเหล่านี้จะ
ค่อยๆหมดไปเมื่อเริ่มต้นการรักษาไปสักระยะหนึ่ง
ในระหว่างนี้คุณควรจะ
1.อย่านาตัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน
2.อย่าตั้งเป้าหมายที่บรรลุได้ยาก หรือเข้าไปแบกความรับผิดชอบมากๆ
พยายามย่อยงานใหญ่ให้เป็นงานเล็ก เลือกทาที่สาคัญกว่าก่อน แล้วทาให้เต็มที่เท่าที่จะเป็นไปได้
3.อย่าคาดหวังกับตนเองมากเกินไป เพราะนั่นคือ คุณกาลังสร้างความล้มเหลว
ร่วมกิจกรรมที่คุณอาจเพลินใจ เช่น การออกกาลังกาย ดูหนัง ดูกีฬา เข้ากิจกรรมทางศาสนาหรือสังคม แต่อย่าหักโหม
หรือหงุดหงิด ถ้ามันไม่ช่วยให้คุณรู้สึกสบายใจขึ้นอย่างทันใจ เพราะอาจใช้เวลาบ้าง
6
4.อย่าด่วนตัดสินใจกับเรื่องใหญ่ๆ ในชีวิต เช่น ลาออก เปลี่ยนงาน แต่งงาน หรือหย่า โดยไม่ปรึกษาคนอื่นที่รู้จักคุณดี
และ มีมุมมองที่เป็นกลางต่อปัญหาพอ ไม่ว่าด้วยเหตุใด พยายามเลื่อนการตัดสินใจออกไปก่อนจนกว่าอาการป่วยของ
คุณจะดีขึ้น
5.อย่าหวังว่าจะหายจากอาการซึมเศร้าแบบ “ลัดนิ้วมือเดียว” เพราะเป็นไปได้ยาก จงพยายามช่วยตนเองให้มากที่สุด
โดยไม่โทษตนเองว่า ที่ไม่หายเพราะตนเองไม่พยายามหรือไม่ดีพอ
พึงระลึกว่า จะไม่ยอมรับความคิดในแง่ร้าย บอกตนเองว่ามันเป็นสวนหนึ่งของอาการของโรค และจะหายไปเมื่อ
อาการของโรคดีขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-100 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.เป็นการให้ความรู้กับผู้ที่สนใจ
3.ทาให้ผู้คนรู้จักโรคนี้และทาให้คนไม่มองว่าเป็นเรื่องธรรมดา และสามารถหาวิธีแก้ได้
4.ทาให้ผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถเข้าใจและสามารถรับมือกับปัญหาได้
7
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องสมุดโรงเรียน
2.ที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้แนะแนว
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.sanook.com/health/721/
http://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017

More Related Content

What's hot

2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Arara Noimou
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่Panita Tunpama
 

What's hot (20)

2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
at1
at1at1
at1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Phornpreenan
PhornpreenanPhornpreenan
Phornpreenan
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 

Similar to โรคซึมเศร้า

การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sarita Witesd
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 

Similar to โรคซึมเศร้า (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 

โรคซึมเศร้า

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้าคืออะไร ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐชยา ทาบุญตอบ เลขที่ 45 ม.6/13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม นางสาวณัฐชยา ทาบุญตอบ ม.6/13 เลขที่ 45 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคซึมเศร้าคืออะไร ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) What is depression? ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐชยา ทาบุญตอบ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทาง กายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทาง จิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า สามารถบอกความหมาย สาเหตุ อาการ การรักษา และการป้องกัน ของโรคซึมเศร้าได้ถูกต้องและสามารถรับมือได้อย่างถูกต้อง 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า สามารถสังเกตถึงพฤติกรรมโรคซึมเศร้าได้ถูกต้อง 3.สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้และปรับตัวเข้ากับผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.อาการของโรคซึมเศร้า 2.พฤติกรรมที่เสี่ยงเป็น “โรคซึมเศร้า” 3.การเตรียมตัวรับมือกับโรคซึมเศร้า 4.การรักษาทางจิตใจ
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคซึมเศร้าคืออะไร อาการของโรคซึมเศร้า 1.รู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ ไม่สบายใจ 2.ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง หรือสิ่งที่เคยให้ความสนุกสนานในอดีต 3.น้าหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลงไป 4.นอนไม่หลับ หรือนอนมากเกินกว่าปกติ 5.รู้สึกผิด สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า 6.ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถตัดสินใจเองได้ ความจาแย่ลง 7.อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง 8.กระวนกระวาย ไม่อยากทากิจกรรมใดๆ 9.คิดถึงแต่ความตาย และอยากที่จะฆ่าตัวตาย 10.ถ้าหากคุณมีอาการเช่นนี้หลายข้อ เป็นเวลามากกว่า 2 สัปดาห์ คุณอาจจะกาลังเป็นโรคซึมเศร้า พฤติกรรมที่เสี่ยงเป็น “โรคซึมเศร้า” ว่ากันว่าโรคซึมเศร้านั้นสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วก็อาจเกิดขึ้นจากความเครียด สังคม รอบข้าง หรือพฤติกรรมการใช้ชีวิต น้อยมากผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงจะแสดงอาการเหล่านี้ให้คนทั่วไปได้เห็น ฉะนั้น เรา ลองมาสังเกต 9 พฤติกรรมที่เป็นสัญญาณเตือนของโรคนี้กันดีกว่า เพราะถ้าหากคุณเอง หรือคนใกล้ตัวมีอาการ เหล่านี้ 5 ข้อติดต่อกันภายใน 2 สัปดาห์ ก็ให้สงสัยไว้ได้เชียวล่ะว่า โรคซึมเศร้า นั้นกาลังมาเยือนแล้ว 1. มีอารมณ์หงุดหงิด ก้าวร้าว 2. ขาดความสนใจต่อสิ่งรอบข้าง 3. เสียสมาธิ ไม่มีสมาธิจดจ่อเวลาที่ทาสิ่งต่างๆ
  • 4. 4 4. รู้สึกร่างกาย สมองอ่อนเพลีย 5. เชื่องช้า ทาอะไรก็เป็นไปอย่างช้าๆ 6. รับประทานอาหารน้อยลงกว่าปกติ หรือรับประทานอาหารมากขึ้นกว่าปกติ 7. นอนน้อย หรือนอนมากขึ้นกว่าที่เคยเป็น 8. ชอบตาหนิตัวเอง ซึ่งอาการเช่นนี้จะพบได้มากในผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า 9. รู้สึกอยากฆ่าตัวตาย หรือสังเกตได้ว่าตัวเองมีความคิด หรือความรู้สึกแบบนี้ ก็ขอให้ตั้งข้อสันนิษฐานได้ว่า คนๆ นั้นอาจเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า การเตรียมตัวรับมือกับโรคซึมเศร้า โดยปกติเท่าที่มีการพบข้อมูลขณะทาการรักษา พบว่า ผู้ที่มีเกณฑ์จะเป็นโรคซึมเศร้ามักจะเริ่มเป็นตอนช่วงอายุ 25 ปี หลังจากนั้นก็จะเกิดอาการซึมเศร้าต่อเนื่องไปเป็นระยะยาว ถึงแม้ว่าจะมีการเข้ารับการรักษาแล้ว แต่ก็ยังต้อง เฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด การเป็นโรคซึมเศร้าก็จะมีความคล้ายคลึงการเป็นโรคเบาหวาน หรือโรคความดัน ที่ ถึงแม้จะไม่มีอาการให้เห็นแล้ว แต่ก็ต้องทานยาควบคุมไม่อาการกาเริบได้ แต่ข้อดีของการเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ตรงที่ เมื่อเข้ารับการรักษาแล้ว ผู้ป่วยจะสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้เป็นปกติ บางคนมีสติปัญญาที่ดีขึ้น เป็นคนเก่ง ในบางราย สามารถเรียนได้ถึงในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก บางรายก็เป็นผู้บริหารระดับสูง เป็นคนที่สามารถประสบ ความสาเร็จในสังคมได้ ฉะนั้น เมื่อพูดถึงการรักษา หากผู้ป่วยรับประทานยาจนครบแล้ว แพทย์ที่ทาการรักษาก็จะให้หยุดยา และยังต้องคอย เฝ้าสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เนื่องจากว่ามันอาจจะกลับเป็นซ้าอีกได้ อย่าง โรคมะเร็งที่เมื่อได้ฆ่าเชื้อมะเร็งให้หมดไป แล้ว แต่ก็ต้องเฝ้าดูว่าจะกลับมาเป็นมะเร็งซ้าอีกได้รึเปล่า โรคซึมเศร้าก็เช่นกัน การรับมือกับโรคนี้ก็ให้หมั่นสังเกตจาก พฤติกรรมทั้ง 9 อย่างข้างต้น อย่าละเลยจนทาให้คนๆ หนึ่งต้องออกจากงาน เกิดการหย่าร้าง หรือทุบตีลูกโดยที่ไม่มี เหตุผล หากคนที่เป็นพ่อเป็นแม่เกิดเป็นโรคนี้ไปเลี้ยงลูกเข้า ลูกก็จะกลายเป็นเด็กที่มีปัญหา เมื่อเราเจอสัญญาณ อันตรายก็ต้องรีบพาไปรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ อย่ารอให้ผู้ป่วยมีความคิดที่ไม่ดีต่อตัวเอง อย่าง การฆ่าตัวตาย เราต้องพาเขา เข้าสู่กระบวนการรักษาและบาบัดให้ได้เร็วที่สุด
  • 5. 5 การรักษาทางจิตใจ มีวิธีรักษาทางจิตใจอยู่หลายรูปแบบ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ซึ่งอาจเป็นการ”พูดคุย”กับจิตแพทย์ 10 ถึง 20 ครั้ง อันจะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจกับสาเหตุของปัญหา และนาไปสู่การแก้ไขปัญหา โดยการเปลี่ยน มุมมองกับแพทย์ การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีที่จะได้รับความพอใจ หรือความสุขจากการกระทา ของเขา และพบวิธีที่จะหยุดพฤติกรรมที่ อาจนาไปสู่ความซึมเศร้าด้วย การรักษาอีก 2 รูปแบบต่อไปที่มีการศึกษาแล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือ การรักษาแบบปรับ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรม โดยการรักษารูปแบบแรกมุ่งไปที่การ แก้ไขปัญหาระหว่าง ผู้ป่วยกับคนรอบข้างที่อาจ เป็นสาเหตุและกระตุ้นให้เกิดความซึมเศร้า ส่วนการรักษาแบบหลัง จะช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิด และพฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง ส่วนการรักษาโดยอาศัยทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ก็นามารักษาโรคนี้ โดยช่วยผู้ป่วยค้นหาปัญหาข้อขัดแย้งภายในจิตใจ ผู้ป่วย ซึ่งอาจมีรากฐานมาจากประสบการณ์ตั้งแต่เด็ก โดยทั่วไปสาหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกาเริบซ้าๆ จะต้องการการรักษาด้วยยาร่วมกับการรักษา ทางจิตใจควบคู่กัน เพื่อผลการรักษาในระยะยาวที่ดีที่สุด จะช่วยรักษาตนเองได้อย่างไร การป่วยด้วยโรคซึมเศร้ามักจะทาให้คุณรู้สึกเพลีย รู้สึกไร้ค่า เหมือนช่วยตัวเองไม่ได้ ไม่มีความหวัง ความคิดในแง่ลบ กับตนเองในแบบนี้ มักจะทาให้ผู้ป่วยบางคนท้อถอยและยอมแพ้ เป็นเรื่องสาคัญที่ต้องทราบว่าความคิดหรือความรู้สึก เหล่านี้เป็นเพียงแค่อาการของโรค มิได้สะท้อนเรื่องจริงในชีวิตของคุณอย่างถูกต้องแต่อย่างใด ความคิดเหล่านี้จะ ค่อยๆหมดไปเมื่อเริ่มต้นการรักษาไปสักระยะหนึ่ง ในระหว่างนี้คุณควรจะ 1.อย่านาตัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน 2.อย่าตั้งเป้าหมายที่บรรลุได้ยาก หรือเข้าไปแบกความรับผิดชอบมากๆ พยายามย่อยงานใหญ่ให้เป็นงานเล็ก เลือกทาที่สาคัญกว่าก่อน แล้วทาให้เต็มที่เท่าที่จะเป็นไปได้ 3.อย่าคาดหวังกับตนเองมากเกินไป เพราะนั่นคือ คุณกาลังสร้างความล้มเหลว ร่วมกิจกรรมที่คุณอาจเพลินใจ เช่น การออกกาลังกาย ดูหนัง ดูกีฬา เข้ากิจกรรมทางศาสนาหรือสังคม แต่อย่าหักโหม หรือหงุดหงิด ถ้ามันไม่ช่วยให้คุณรู้สึกสบายใจขึ้นอย่างทันใจ เพราะอาจใช้เวลาบ้าง
  • 6. 6 4.อย่าด่วนตัดสินใจกับเรื่องใหญ่ๆ ในชีวิต เช่น ลาออก เปลี่ยนงาน แต่งงาน หรือหย่า โดยไม่ปรึกษาคนอื่นที่รู้จักคุณดี และ มีมุมมองที่เป็นกลางต่อปัญหาพอ ไม่ว่าด้วยเหตุใด พยายามเลื่อนการตัดสินใจออกไปก่อนจนกว่าอาการป่วยของ คุณจะดีขึ้น 5.อย่าหวังว่าจะหายจากอาการซึมเศร้าแบบ “ลัดนิ้วมือเดียว” เพราะเป็นไปได้ยาก จงพยายามช่วยตนเองให้มากที่สุด โดยไม่โทษตนเองว่า ที่ไม่หายเพราะตนเองไม่พยายามหรือไม่ดีพอ พึงระลึกว่า จะไม่ยอมรับความคิดในแง่ร้าย บอกตนเองว่ามันเป็นสวนหนึ่งของอาการของโรค และจะหายไปเมื่อ อาการของโรคดีขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -100 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.เป็นการให้ความรู้กับผู้ที่สนใจ 3.ทาให้ผู้คนรู้จักโรคนี้และทาให้คนไม่มองว่าเป็นเรื่องธรรมดา และสามารถหาวิธีแก้ได้ 4.ทาให้ผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถเข้าใจและสามารถรับมือกับปัญหาได้