SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
obsessive-
compulsive
disorder
-โรคยําคิดยําทํา-
CONTENTS
1. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
2. วัตถุประสงค
3. ผลที่คาดวาจะไดรับ
4. โรคยํ้าคิดยํ้าทํา
5. ผูจัดทํา
6. แหลงอางอิง
เนื่องจากอาการของโรคยํ้าคิดยํ้าสามารถเกิดขึ้นไดกับคนทุกเพศทุกวัย
ขึ้นอยูกับความคิด จิตใจและสภาพแวดลอม ของคนคนนั้นผูปวยมี
ความวิตกกังวลและมีการตอบสนองตอความคิดดวยการกระทําพฤติกร
รมซํ้าๆ เชน กลัวความสกปรกจนตองทําความสะอาดซํ้าๆที่เดิมๆ โรค
ยํ้าคิดยํ้าทํานั้นมีทั้งแบบขั้นวิตกกังวลออนๆจนไปถึงขั้นรุนแรง ขึ้นอยู
กับความคิดของผูปวย.
จากการศึกษาโครงงานคอมพิวเตอรเรื่องโรคยํ้าคิดยํ้าทําหรือ OCD
ไดสืบหาคนควาสาเหตุผลกระทบและ วิธีการแกไขในอินเตอรเน็ต
ทางผูจัดทํามีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคชนิดนี้มากขึ้น ดังนั้นผูจัดทํา
จึงมีความคิดที่จะนําความรูเกี่ยวกับโรคยํ้าคิดยํ้าทําและวิธีการรักษา
มานําเสนอในโครงงานเลมนี้และหวังวาขอมูลและโครงงานเลมนี้ และ
จะเป็นประโยชนตอผูอาน ผูที่ศึกษา ตอไป.
ทีมาและความสําคัญ
ของโครงงาน
เพือให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจ
เกียวกับโรคยําคิดยําทํา
วัตถุประสงค์
เพือเสนอวิธีการแก้ปญหา
การเกิดโรคยําคิดยําทํา
ผลทีคาดว่าจะได้รับ
•มีความรู้ความเข้าใจในสาเหตุของการเกิด
โรค ตลอดจนสามารถรับมือกับผู้ทีมีภาวะยํา
คิดยําทําได้
• สามารถแก้ไขปญหาและได้รับการรักษาโรค
ยําคิดยําทําได้อย่างถูกวิธี
•สามารถนําความรู้ทีศึกษา ค้นคว้าไปเผยแพร่
ต่อผู้คนอืนได้ เพือเปน ประโยชน์กับผู้อืนต่อ
ไป
โรคยํ้าคิดยํ้าทํา(obsessive-compulsive disorder) เป็นโรคที่ผูปวยมีความคิดซํ้าๆ ที่ทําใหเกิดความกังวล
และมีการตอบสนองตอความคิด ดวยการทําพฤติกรรมซํ้าๆ เพื่อลดความไมสบายใจที่เกิดขึ้น ซึ่งตัวผูปวย
เองก็รูสึกวาเป็นสิ่งที่ไมมีเหตุผล แตก็ไมสามารถหยุดความคิดและการกระทําดังกลาวได และตอยอดมาถึง
การตอบสนองทางความคิดดวยการทําพฤติกรรมซํ้า ๆ เพื่อลดความวิตกกังวลนั้นใหหายไป
obsessive-compulsive
disorder(OCD)
อาการโรคยํ้าคิดยํ้าทํา ผูป วยมักจะมีอาการยํ้าคิดรวมกับ
อาการยํ้าทํา
 หรืออาจมีเฉพาะอาการอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้
อาการยํ้าคิด เป็นความคิดซํ้าซากที่ผุดขึ้นมาซึ่งเป็นแรงกระตุนใหเกิดอาการยํ้าทําตามมา จึงสงผลใหผู
ปวยเป็นทุกขและมีความวิตกกังวลจากความคิดที่ไมเป็นเหตุเป็นผลหรือคิดมากเกินพอดี เชน
1. กลัวความสกปรกหรือกลัวเชื้อโรคจากการหยิบจับสิ่งของและการสัมผัสผูอื่น
2. วิตกกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินอยูตลอดเวลา เชน คิดวาลืมปิดประตูบานหรือเตาแกส
3. ไมสบายใจเมื่อเห็นสิ่งของไมเป็นระเบียบ ถูกแบงออกไมเทากัน หรือไมหันไปในทิศทางเดียวกัน
4. มีความคิดทํารายตนเองหรือผูอื่น
5. มีความคิดที่ไมเหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องเพศหรือศาสนา
1. อาการยําคิด
อาการยํ้าทํา เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองตออาการยํ้าคิด เพื่อป องกันหรือบรรเทาความวิตกกังวลในใจ
รวมทั้งเป็นกฎเกณฑบางอยางที่ผูปวยคิดวาตนเองตองปฏิบัติอยางเครงครัดเพื่อป องกันเหตุราย ผูปวยจึง
มักรูสึกสบายใจเมื่อไดลงมือทํา ผูปวย OCD มักไมสามารถควบคุมความคิดและการกระทําของตนเองได
ทําใหเสียเวลากับอาการยํ้าทําวันละไมตํ่ากวา 1 ชั่วโมงจนมักสงผลเสียตอการใชชีวิตประจําวัน โดย
ตัวอยางอาการยํ้าทํา มีดังนี้
1. ไมกลาหยิบจับสิ่งของหรือสัมผัสผูอื่น เพราะกลัววาจะสกปรกหรือติดเชื้อโรค
2. ลางมือหรืออาบนํ้าบอยเกินจําเป็น
3. ตรวจดูประตูหรือเตาแกสซํ้าแลวซํ้าเลา เพื่อใหแนใจวาไมไดลืมปิด
4. คอยตรวจนับสิ่งของ จัดสิ่งของใหเป็นระเบียบและหันไปทางเดียวกันอยูเสมอ
5. ทองคําพูดหรือบทสวดมนตในใจซํ้า ๆ มีความคิดบางอยางวกวนในหัวจนทําใหนอนไมหลับ
6. ตองทําอะไรใหครบจํานวนครั้งตามที่ตนเองกําหนดไว
7. ชอบเก็บหรือสะสมสิ่งของในบานมากเกินไป
8. บางรายอาจชอบขยับสวนใดสวนหนึ่งของรางกายเป็นจังหวะเร็ว ๆ เชน ขยิบตา ยนจมูก กระตุกมุมปาก ขยับ
หนา ยักไหลหรือศีรษะ กระแอมไอ เป็นตน
2. อาการยําทํา
ผู้ปวยมักเปน OCD ตังแต่วัยรุ่น
หรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้นไปจนตลอดชีวิต
อาการของโรคนีมักเกิดขึนในลักษณะค่อยเปนค่อยไป โดยอาจ
รุนแรงมากขึนเมือผู้ปวยมีอายุมากขึน
หรือมีความเครียด
ซึงส่งผลเสียอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตของผู้ปวย
-สาเหตุของโรคยําคิดยําทํา-
OCD ไมมีสาเหตุที่แนชัด แตเชื่อวาอาจเกิดจาก
ปั จจัยหลายสวนรวมกัน   ดังนี้
1. ความผิดปกติของการทํางานของสมอง
โดยทางการแพทยพบวาผูปวยโรคยํ้าคิดยํ้าทํามีการทํางานของสมองในสวน orbitofrontal cortex, cingulate
cortex, caudate และ thalamus เพิ่มขึ้น
2. ความผิดปกติของระบบประสาท
ทางการแพทยสันนิษฐานวา ผูปวยโรคยํ้าคิดยํ้าทําอาจมีกลไกการหลั่งสารสื่อนําประสาทในระบบซีโรโทนินผิดปกติ
เนื่องจากพบวาการรักษาโรคยํ้าคิดยํ้าทําดวยยาแกโรคซึมเศราที่ออกฤทธิ์ตอระบบซีโรโทนินไดประสิทธิภาพพอ
สมควร
3. ดานพันธุกรรม 
ตามสถิติพบวา อัตราการเกิดโรคในแฝดไขใบเดียวกันสูงถึงรอยละ 60-90 ในขณะที่ประชากรทั่วไปพบในรอยละ
2-3 เทานั้น
4. การติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส (Streptococcal infection)
เป็นเชื้อที่สามารถที่จะทําใหเกิดอาการของโรคยํ้าคิดยํ้าทําได (หรือที่รูจักกันในชื่อโรค PANDAS หรือ Pediatric
autoimmune neuropsychiatric disorders associated with streptococcal infections*)
1. ปจจัยทางชีวภาพ
โดยเฉพาะสถานการณที่มีเงื่อนไข และความกลัว
ซึ่งสามารถแยกประเภทความกลัวไดเป็น 2 ขอใหญ ๆ คือ
 1.กลัวโชคราย
  เชน กลัววาจะปิดบานไมเรียบรอย กลัวระบบฟืนไฟจะกอใหเกิดอันตราย จนตองวนเวียนมาตรวจสอบซํ้าแลวซํ้าเลา
 2. กลัวความสกปรก 
เชน กลัวลางมือไมสะอาด กลัวลางตัวไมหมดฟองสบู หรือเดินผานกองขี้หมาก็ตองยกเทาขึ้นมาดูซํ้าแลวซํ้าอีก .
2. ปจจัยด้านพฤติกรรมการเรียนรู้และความกลัว
ข้อมูลจากการศึกษาในนิตยสารจิต
เวชศาสตร์ระดับโมเลกุล
“Molecular Psychiatry”
เมือเร็วๆนี พบว่ามีผู้ใหญ่ 1.2% ทีเผชิญ
กับโรคยําคิดยําทําในแต่ละป การศึกษายัง
ระบุอีกว่ามีคนจํานวน 2.3% ทีประสบกับ
โรคยําคิดยําทําในช่วงชีวิตของตน โดยอา
ยุเฉลียทีผู้ปวยจะเริมเปนโรคยําคิดยําทํา
อยู่ทีราวๆ 19-20 ป โดยเด็กผู้ชายมักจะ
เริมมีแสดงอาการของโรคเร็วกว่าเด็กผู้
หญิง และหลังจากเริมแสดงอาการแล้ว
มักจะมีอาการต่อไปเปนระยะเวลาเฉลีย
ประมาณ 9 ป.
อัตราการเกิดโรคยําคิดยําทํา.
แพทย์มักวินิจฉัยโรค OCD จากการซักประวัติและประเมินผลทางจิตเวชเปนหลัก
ซึงผู้ปวยต้องแจ้งให้แพทย์ทราบเกียวกับอาการทีเกิดขึน ความรุนแรงของอาการ
รูปแบบความคิดและพฤติกรรม และระยะเวลาทีหมดไปกับอาการยําคิดยําทํา
โดยผู้ปวยอาจมีอาการคล้ายหรือมีอาการร่วมกับโรคจิตเวชอืน ๆ ด้วย เช่น
โรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดยําคิดยําทํา โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า หรือโรคจิตเภท เปนต้น
นอกจากนี แพทย์อาจตรวจร่างกายหาร่องรอยทีเปนสาเหตุหรือภาวะแทรกซ้อนของ OCD
และอาจตรวจหาปจจัยร่วมอืน  ทีทําให้เกิดโรคนี เช่น ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
การทํางานของไทรอยด์ การใช้แอลกอฮอล์และสารเสพติด เปนต้น.
การวินิจฉัยโรคยําคิดยําทํา
ในการวินิจฉัยโรคยําคิดยําทํา แพทย์จะทําการตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพือแยกสาเหตุอืนๆ
ทีอาจเปนต้นเหตุของอาการทีเกิดขึนได้ออกไป รวมไปถึงการตรวจทางจิตเวช ซึงเปนการตรวจตามเกณฑ์ของ
สมาคมจิตเวชศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา(APA)
การรักษาโรคยําคิดยําทําทําได้โดยใช้การทําจิตบําบัด ซึงประกอบไปด้วย พฤติกรรมบําบัด ทีมีจุดมุ่งหมายเพือ
สอนให้ผู้ปวยโรคยําคิดยําทํามีทักษะในการจัดการและลดอาการยําคิดยําทําทีเกิดขึน รวมถึงความวิตกกังวล
ของตนเอง
การรักษาโรคยําคิดยําทํา
การทําจิตบําบัดอาจทําควบคู่กับการให้ใช้ยาในกลุ่มยาคลายกังวล (Antidepressants) เช่น
แอนาฟรานิล (Anafranil) ซึงมีตัวยาโคลมิพรามีน (Clomipramine)
ยาลูว็อกซ์ (Luvox) ซึงมีตัวยาฟลูว็อกซามีน (Fluvoxamine)
โปรแซ็ค (Prozac) ซึงมีตัวยาฟลูอ็อกซิทีน(Fluoxeine)
และโซลอฟท์ (Zoloft) ซึงมีตัวยาเซอร์ทราลีน (Sertraline)
นอกจากนีการทําโยคะและการนวดบําบัดก็อาจช่วยผ่อนคลายความวิตกกังวล
ทีเกิดจากโรคยําคิดยําทําได้ เช่น
1.ยาแก้ซึมเศร้า ยาทีรักษาได้ผลดีใน OCD
เปนยาทีจัดอยู่ในกลุ่มทีออกฤทธิต่อ
ระบบซีโรโตนิน เช่น clomipramine และ
ยาในกลุ่ม selective serotonin reuptake
inhibitors (SSRI) ทุกตัว ได้แก่ fluoxetine,
fluvoxamine, paroxetine, sertraline และ
escitalopram โดยทัวไปมักใช้ในขนาดทีใช้ใน
การรักษาโรคซึมเศร้า อาการข้างเคียงทีอาจพบ
ได้แก่ ปวดศีรษะ คลืนไส้ กระสับกระส่าย นอน
ไม่หลับ.
2.ยาคลายกังวล ในผู้ปวยทีมีความวิตกกังวลอยู่สูงอาจใช้ยา
ในกลุ่ม benzodiazepine ในระยะสันๆ ยาในกลุ่มนีไม่มีผลใน
การรักษาอาการยําคิด หรืออาการยําทํา.
การรักษาด้วยยา
3.ยาต้านโรคจิต ในผู้ปวยบางรายทีได้รับการรักษาด้วยยา
แก้เศร้าแล้ว อาการยังไม่ดีขึน แพทย์อาจพิจารณาให้ยาต้าน
โรคจิต เช่น risperidone ควบคู่ไปกับยาแก้ซึมเศร้า เพือ
เพิมประสิทธิภาพในการรักษา.
ซึงอาการของผู้ปวยมักดีขึนหลังจากรับประทานยา
ติดต่อกันอย่างน้อย 8-12 สัปดาห์ โดยอาจมีอาการ
ดีขึนในเวลาน้อยกว่าหรือมากกว่านัน ทังนี ผู้ปวยต้อง
คํานึงถึงข้อควรระวังและผลข้างเคียงจากการใช้ยา
ด้วย โดยเฉพาะผู้ทีมีอายุตํากว่า 25 ปซึงมีความ
เสียงต่อการฆ่าตัวตายในช่วงแรกของการรับประทาน
ยาและช่วงทีต้องปรับเปลียนยา ยิงไปกว่านัน การรับ
ประทานยาต้านเศร้าอาจช่วยลดการฆ่าตัวตายได้เมือ
รับประทานติดต่อกันเปนเวลานาน.
แต่การหยุดใช้ยาหรือลืมรับประทานยาอาจส่งผลให้ผู้ปวยมีอาการแย่ลงได้แม้จะมีอาการดีขึน
แล้วก็ตาม ดังนัน ผู้ปวยต้องปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอหากต้องการหยุดใช้ยา ซึงจะต้อง
ค่อย ๆ ลดปริมาณการใช้ยาลง นอกจากนี หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อยารักษาข้างต้น
แพทย์อาจให้รับประทานยาริสเพอริโดน ซึงเปนยาทีมักได้ผลดีในรายทีมักมีอาการขยิบตา
ย่นจมูก กระตุกมุมปาก ขยับหน้า ยักไหล่หรือศีรษะ หรือกระแอมไอซํา ๆ ทว่าในการรักษาโรค
ยําคิดยําทํา ต้องใช้ยาในขนาดค่อนข้างสูงและใช้เวลารักษานาน โดยทัวไปถ้าจะรักษาด้วยยา
เพียงอย่างเดียว จะต้องให้ผู้ปวยรับประทานยาอยู่นานประมาณ 1-2 ป แต่การรักษาด้วยยาก็
มีข้อดีคือ สะดวกกว่าการฝก ในบางรายทีมีอาการมาก ๆ และไม่กล้าฝกแพทย์อาจให้การ
รักษาด้วยยาไปก่อน เมืออาการยําคิดยําทําน้อยลง และผู้ปวยพร้อมทีจะฝกค่อยให้ผู้ปวย
เริมฝกก็ได้.
การรักษาทีได้ผลดีคือ พฤติกรรมบําบัด โดยการให้ผู้ปวยเผชิญ กับสิงทีทําให้กังวลใจและ
ปองกันไม่ให้มีพฤติกรรมยําทํา ทีเคยกระทํา ตัวอย่างเช่น ผู้ปวยทีมักล้างมือ ก็ให้จับของทีผู้ปวย
รู้สึกว่าสกปรก ให้รออยู่ช่วงหนึงจึงอนุญาตให้ล้างมือ การฝกจะทําตามลําดับขัน เริมจากสิงทีผู้
ปวยรู้สึกกังวลน้อยไปหามาก และระยะเวลาทีไม่ให้ล้างมืออาจเริมจาก 10-15 นาที ไปจนเปน
ชัวโมง หากการรักษาได้ผลผู้ปวยจะกังวลน้อยลงเรือยๆ จนสามารถจับสิงต่างๆ ได้โดยไม่ต้อง
รีบไปล้างมือก่อน.
นอกจากนี การให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัวผู้ปวย มีความสําคัญอย่างยิง แพทย์ควรแนะนําสมาชิกใน
ครอบครัว ถึงอาการของโรค แนวทางการรักษาและการดูแลผู้ปวย รวมทังแนะนําให้มีท่าทีเปนกลางต่ออาการ
ของผู้ปวย โดย ไม่ร่วมมือและช่วยเหลือผู้ปวยเมือผู้ปวยมีอาการ ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ต่อว่าผู้ปวย เนืองจาก
อาจทําให้ผู้ปวยเครียด และยิงกระตุ้นให้อาการเปนมากขึนได้.
การรักษาด้วยพฤติกรรมบําบัด
ในรายทีอาการรุนแรง อาจมีการรักษาด้วยวิธีอืนๆ เช่น
การฝงแท่งกําเนิดไฟฟาเพือกระตุ้นสมองส่วน หรือ
การผ่าตัด.
นอกจากการฝกโดยการเข้าหาและเผชิญหน้ากับสิงทีผู้ปวย
กลัวแล้ว ผู้ปวยยังจะต้องงดเว้นการยําทําในขณะฝกด้วย
(response prevention) เช่น เมือให้ผู้ปวยฝกโดยการปด
เตาแก๊ส โดยไม่ต้องปดถังแก๊สในช่วงกลางวัน ระหว่างฝก
ผู้ปวยจะต้องไม่มาคอยตรวจตราห้องครัว และต้องไม่คอย
ถามคนใกล้ชิดเช่น “แก๊สคงไม่รัวใช่ไหม”
เพือให้เขาตอบว่า "ไม่รัวหรอก"
OCD อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนซึงเปนอาการ
หรือปญหาในการใช้ชีวิตประจําวัน ดังต่อไปนี
1. เปนผืนแพ้สัมผัสจากการล้างมือบ่อยเกินไป
2. ไม่สามารถใช้ชีวิตประจําวันตามปกติได้ โดยมีปญหาด้านการเรียน
การทํางาน การเข้าสังคม รวมทังด้านความสัมพันธ์กับผู้อืน ซึงส่งผล
เสียต่อคุณภาพชีวิตโดยรวม
3. มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารทีเปลียนไป เพราะมีทัศนคติในเรือง
อาหารทีต่างไปจากเดิม
4. คิดว่าตนเองมีรูปลักษณ์บกพร่องหรือมีตําหนิ ทังทีไม่ได้มีความผิด
ปกติใด ๆ
5. ชอบเก็บสะสมสิงของรวมถึงขยะมูลฝอยทีอาจก่อโรคตามมาได้
ภาวะแทรกซ้อนของโรคยําคิดยําทํา
6. วิตกกังวลในหลาย ๆ เรืองมากเกินควร โดยไม่สามารถควบคุมความรู้สึกนันได้
7. ซึมเศร้า สินหวัง หรือสูญเสียความสนใจในสิงทีตนเองชอบ หากมีอาการ
รุนแรงอาจนําไปสู่การฆ่าตัวตายได้
OCD อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนซึงเปนอาการ
หรือปญหาในการใช้ชีวิตประจําวัน ดังต่อไปนี
ภาวะแทรกซ้อนของโรคยําคิดยําทํา
ยังไม่มีวิธีการปองกัน OCD
ที ได้ผลอย่างแน่ชัด แต่ การ
เข้ารับการรักษาอย่างเหมาะ
สมเมือพบว่าตนเองมีอาการ
ยําคิดยําทําก็อาจช่วยลดความ
รุนแรงของโรค และอาจช่วย
ลดผลกระทบด้านต่ าง ๆ ใน
การใช้ชีวิตประจําวันได้.
อย่างไรก็ตาม เพือปองกันอาการของโรคแย่ลง ผู้ปวย
OCD ควรดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ ดังต่อไปนี.
การปองกันโรคยําคิดยําทํา
1. รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ
และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
2. พยายามใช้ชีวิตประจําวันตามปกติ
เช่น ทํางานประจํา ใช้เวลาสังสรรค์
กับครอบครัวและเพือนฝูง เปนต้น
3. หลีกเลียงปจจัยกระตุ้นทีอาจทําให้
อาการของโรคแย่ลง รวมทังผ่อน
คลายความเครียด เช่น อ่านหนังสือ
ฟงเพลง ดูโทรทัศน์ เล่นโยคะ
เปนต้ น.
การปองกันโรคยําคิดยําทําไม่ให้แย่ลง
4. เรียนรู้วิธีจัดการและรับมือกับอาการยําคิดยําทํา
ทีเกิดขึน โดยอาจปรึกษาผู้เชียวชาญหรือเข้ากลุ่ม
บําบัดเพือช่วยให้รู้สึกดีขึน
5. รับประทานยาตามทีแพทย์สังอย่างเคร่งครัด
ห้ามหยุดใช้ยาเองเพราะอาจทําให้อาการแย่ลง
และต้องปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานยาหรือ
อาหารเสริมชนิดอืน ๆ
6. ไปพบแพทย์ทั นที หากไม่สามารถรับมือกับ
อาการยําคิดยําทําได้อีกต่ อไป.
การปองกันโรคยําคิดยําทําไม่ให้แย่ลง
obsessive-
compulsive
disorder
VIDEO.
obsessive-
compulsive
disorder
VIDEO.
obsessive-
compulsive
disorder
VIDEO.
I AM
STRONGER
THAN
MY OCD.
น.ส.ชนกนันท์ ยอดดอนไพร
เลขที1 ชัน ม.6/8
น.ส. ณัฏฐา สุทธิพันธ์ เลขที44
ชัน ม.6/8
ผู้จัดทํา
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล(ออนไลน์).สืบค้นจาก :
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/05012014-
1443/โรคยําคิดยําทํา [ 2 ธันวาคม 2562 ]
HONESTDOCS (ออนไลน์).สืบค้นจาก : https://www.honestdocs.co/what-is-ocd
POBPAD (ออนไลน์).สืบค้นจาก : https://www.pobpad.com/ocd-โรคยําคิดยําทํา[ 2 ธันวาคม 2562 ]
KAPOOK (ออนไลน์).สืบค้นจาก : https://health.kapook.com/view3146.html
[ 2 ธันวาคม 2562 ]
/อาการของโรคยําคิดยําทํา[ 2 ธันวาคม 2562 ]
แหล่งอ้างอิง

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapysiradamew
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeyassusera60940
 
2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutima2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutimamewsanit
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 

What's hot (20)

W.111
W.111W.111
W.111
 
Kingg 16
Kingg 16Kingg 16
Kingg 16
 
King 16
King 16King 16
King 16
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Asdfghj
AsdfghjAsdfghj
Asdfghj
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya
 
2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutima2562 final-project 609-23_chutima
2562 final-project 609-23_chutima
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
My profile
My profileMy profile
My profile
 
Com555
Com555Com555
Com555
 

Similar to Ocd

โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรfifa23122544
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทยป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทยiviza
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Presentation endgame
Presentation endgamePresentation endgame
Presentation endgamessuser9ee196
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกphurinwisachai
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดN'Name Phuthiphong
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Ocd (20)

โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไร
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทยป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
Presentation endgame
Presentation endgamePresentation endgame
Presentation endgame
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
อรุณี
อรุณีอรุณี
อรุณี
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
April wellnesmag
April wellnesmagApril wellnesmag
April wellnesmag
 

Ocd