SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน "โรคไบโพลาร์"โรคอารมณ์สองขั้ว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ศศิกานต์ บุญรัตน์ เลขที่ 13 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา
2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
"โรคไบโพลาร์"โรคอารมณ์สองขั้ว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bipolar disorder
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อด้วยการสื่อสาร
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิกานต์ บุญรัตน์
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันคนไทยเป็นโรคไบโพลาร์กันมากมายซึ่งเกิดได้จากการผิดปกติทางฮอร์โมน หรือจากความเครียด
หรือปัญหาต่างๆในชีวิตเป็นต้นโดยที่ตนเองนั้นไม่ทันได้รู้ตัวเลยว่ากาลังเป็นโรคนี้อยู่ซึ่งบ้างคนพอรู้ว่าเป็นโรคนี้ก็
เกิดความวิตกังวลมากขึ้นไม่กล้าที่จะไปปรึกษาใครแม้กระทั่งพ่อแม่ ของตัวเองกลัวว่าคนอื่นจะมองว่าเป็นคน
ผิดปกติได้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงก็คือ เดี๋ยวนี้กลายเป็นว่า สังคมมักจะมีความคิดประมาณว่า ถ้าใครมีลักษณะ
ผิดปกติอะไรสักอย่าง ต้องถามขึ้นมาเลยว่า "นี่เป็นไบโพล่าร์รึเปล่าเนี่ย!?!" ซึ่งคงไม่ยุติธรรมกับคนไข้ที่เป็น
ไบโพล่าร์เท่าไหร่นัก แล้วในความเป็นจริง ไบโพล่าร์คือโรคอะไรกันแน่ จนทาให้คนที่เป็นโรคไบโพลาร์มักปกปิดตัน
ตนของตัวเองและเริ่มอยู่ตัวคนเดียวซึ่งจะยิ่งเป็นผลเสียต่อตัวผู้ที่เป็นโรไบโพลาร์มากขึ้น ซึ่งด้วยการที่ผู้จัดหา
โครงงานเห็นถึงปัญหาการเป็นโรคนี้เป็นเรื่องที่ใหญ่และต้องให้ความสาคัญมากต่อบุคคลที่เป็นในทางที่ถูกต้อง
เพื่อให้บุคคลเหล่านี้มีทางออกที่ดีและกล้าที่จะไปรักษาตัวกับแพทย์โดยที่ไม่กลัวว่าผู้อื่นจะรู้ว่าตนเป็นโรคดังกล่าว
หรือไม่ จึงต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลของโรคไบโพลาร์สาหรับคนที่คิดว่าตนเองกาลังเข้าข่ายต่อการเสี่ยงเป็นโรค
3
ไบโพลาร์ได้มีทางออกและข้อมูลเกี่ยวโรคนี้ในทางที่ถูกต้องซึ่งโรคนี้จริงๆแล้วไม่ได้ร้ายแรงมากจนน่ากลัว ถ้าบุคคล
ที่เป็นโรครู้ตัวและรักษาทันก็ไม่มีอะไรที่ต้องวิตกกังวล จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้เพราะ
ไม่เพียงแค่บุคคลที่เป็นโรคนี้ได้รับข้อมูลความรู้เท่านั้น แต่ตัวผู้จัดทาเองก็ได้รับรู้อาการของโรคไบโพลาร์ไปด้วย
และยังสามารถไปเผยแพร่ ให้เพื่อนๆและคนใกล้ตัวของผู้จัดทาได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาหาและเรียนรู้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไบโพลาร์
2.เพื่อเป็นการเผยแพร่กระจายข้อมูลให้ผู้คนทั่วไปได้รับรู้
3.เพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนที่เป็นโรคไบโพลาร์กล้าที่จะออกมารักษาตัว
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทา
โครงงาน)
-ประชากรในเชียงใหม่ทุกรุ่นทุกวัย ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไบโพลาร์
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทา
โครงงาน)
โรคไบโพลาร์ (Bipolar disorder)
เป็นโรคที่ทาให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ มีอารมณ์สองขั้วที่เปลี่ยนแปลงไปมาอย่างชัดเจน แบบที่หนึ่งคือมีพฤติกรรมแบบเศร้า
และแบบที่สองมีอาการพลุ่งพล่าน หรือเรียกว่าแบบแมเนีย อารมณ์ของผู้ที่เป็นโรคนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นช่วง ๆ ไป อาจมี
อาการแบบแรกคือแบบเศร้าก่อน แล้วสักพักก็จะมีอาการแมเนีย บางคนอาจมีอาการแบบแมเนียก่อน แล้วจึงมีอาการแบบเศร้าขึ้นมา
หรืออาจจะสลับกับอาการปกติต่อเนื่องกันไป
สาเหตุของโรคไบโพลาร์
ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ดังนี้
 ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่าง
ๆ ในร่างกาย การนอนหลับที่ผิดปกติ ความผิดปกติของการทางานในส่วนต่าง ๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการ
ควบคุมอารมณ์
 ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียดหรือปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตได้ ก็สามารถ
กระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่สาเหตุของโรค แต่อาจ
เป็ นตัวกระตุ้นให้โรคแสดงอาการได้
 ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ยังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนที่ชัดเจนของโรค แต่จาก
การศึกษาพบว่าสามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่ วยเป็ นไบโพลาร์มากกว่าในประชากรทั่วไป
4
อาการของโรคไบโพลาร์
คนที่มีอาการไบโพลาร์นั้น จะอารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะ
เป็น และมักจะไม่มีเหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และไม่ชอบให้ใครมาขัดจะเกิด
อารมณ์หงุดหงิด บางคนอารมณ์ดีจนกระทั่งตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
แต่ถ้าอารมณ์ร้ายขึ้นมาเมื่อไร ก็ถึงขั้นใช้อารมณ์ก้าวร้าวได้เรียกว่าเปลี่ยนไปเป็นคนละคน ซึ่งอาจทาให้มีปัญหา
กระทบกระเทือนต่อหน้าที่การงาน และการใช้ชีวิตประจาวันได้เลย ผู้ป่วยบางคนจะมีปัญหาไม่ยอมหลับยอมนอน ตอนกลางคืน
อยากเที่ยวกลางคืน ใช้จ่ายเงินมาก มีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น สาส่อนทางเพศ
ถ้าอาการนี้เริ่มเป็นมาตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น อาจทาให้ผู้ป่วยไม่มีสมาธิในการเรียน ผลการเรียนตกลง มีปัญหาทางพฤติกรรม
ทะเลาะกับเพื่อนฝูง ครูอาจารย์รู้สึกอยากไปเที่ยวกลางคืน ออกไปเตร็ดเตร่ ซึ่งถ้าพ่อแม่ไม่ได้ดูแลเอาใจใส่ลูกอย่างใกล้ชิดก็จะไม่
รู้สึกถึงความผิดปกติเลย
อย่างไรก็ตาม อาการของโรคไบโพลาร์ไม่จาเป็นต้องสลับกับช่วงซึมเศร้า บางคนเป็นโรคนี้อยู่ช่วงหนึ่ง อาจจะประมาณ
4-6 เดือนก็สามารถกลับคืนเป็นปกติได้เองโดยไม่ต้องรักษา ทาให้คนรอบข้างไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหาถ้าไม่สังเกตอย่างใกล้ชิด เมื่อ
เป็นปกติแล้วเขาจะดาเนินชีวิตได้ปกติ พอถึงช่วงหนึ่งจะรื่นเริงอีก หรืออาจจะสลับไปขั้วตรงข้าม เป็นแบบซึมเศร้า อาการก็จะเริ่ม
ตั้งแต่แยกตัว เบื่อหน่าย ไม่อยากทาอะไร กินไม่ได้นอนไม่หลับ เบื่อ ๆ เข้าก็รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ที่สาคัญที่สุดคือการฆ่าตัวตาย
โรคนี้ช่วงซึมเศร้าจะเหมือนกับโรคซึมเศร้า อัตราการฆ่าตัวตายคือ 15-20% เพราะฉะนั้น เท่ากับว่าผู้ป่ วยหนึ่งในห้ามี
โอกาสที่จะเกิดปัญหาเบื่อเศร้าและฆ่าตัวตาย แต่ช่วงที่รื่นเริงมาก ๆ ก็จะมีประเด็นการฆ่าตัวตายได้ด้วยเช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะแค่ตอน
ซึมเศร้า
แนวทางในการรักษาโรคไบโพลาร์
โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยา ได้แก่ ยาในกลุ่มยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต
(antipsychotics) และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants) ดังนี้
1. ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้
คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัวที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้
ช่วงระยะการรักษาช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมาเป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1 เดือน
หลังจากนั้นจะเป็นการรักษาต่อเนื่อง อาจต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย
1 ปี อาจมาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็นระยะ
เวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็น ๆ หาย ๆ ได้ตัวยายังสามารถป้ องกันได้ทั้งอาการ mania และอาการซึมเศร้า ยาอื่น ๆ ที่ได้ผลดี
ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate
3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และ
5
ziprasidone
อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้องดาเนินชีวิตในทางสาย
กลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยา
กระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง
ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้ องกันผู้ป่วยในช่วงก่อนโรคกาเริบรุนแรง เพราะว่ามีโอกาส
กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวนมากที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยอาการขยันผิดปกติ
หรือที่เรียกว่า "ไฮเปอร์แอ็คทีฟ" ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่ วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็นมาก ๆ อาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย
สรุปแล้วโรคนี้รักษาได้ หากคนรอบตัวมีอาการผิดปกติทางอารมณ์อย่างที่บอกมา ควรพาไปพบแพทย์เพื่อให้วินิจฉัย เพื่อ
จะได้รีบรักษาให้ผู้ป่ วยสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างปกติเหมือนคนทั่วไป จะช่วยลดความสูญเสียทางด้านหน้าที่การงาน และเงินทอง
เวลาผู้ป่วยมีอาการ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความรุนแรง เป็นปัญหาสังคมได้
ที่มา https://health.kapook.com/view533.htm
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
 คิดหัวข้อโครงงาน
 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
 จัดทาโครงร่างงาน
 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
 ปรับปรุงทดสอบ
 การทาเอกสารรายงาน
 ประเมินผลงาน
 นาเสนอโครงงาน
6
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 หนังสือจิตวิทยากร
 เครื่องอัดเสียง
 คอมพิวเตอร์
 ปริ้นเตอร์
 กล้องถ่ายภาพ
งบประมาณ
งบประมาณในการจัดตั้งองค์กรและการเผยแพร่ข้อมูลของโรคไบโพลาร์ ประมาณ100,000 –200,000บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1 คิดหัวข้อโครงงาน / / นางสาวศศิกานต์
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
/ / นางสาวศศิกานต์
3 จัดทาโครงร่างงาน / / นางสาวศศิกานต์
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
/ / นางสาวศศิกานต์
5 ปรับปรุงทดสอบ / นางสาวศศิกานต์
6 การทา
เอกสารรายงาน
/ นางสาวศศิกานต์
7 ประเมินผลงาน / นางสาวศศิกานต์
8 นาเสนอโครงงาน / นางสาวศศิกานต์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทา
โครงงาน)
คาดหวังว่าโครงงานที่ทาไปจะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ได้อ่านและได้นาข้อมูลเนื้อหาต่างๆไปศึกษาหาความรู้และได้
ความรู้มากขึ้นจากการศึกษาหาความรู้จากโครงงานของผู้จัดทา
7
สถานที่ดาเนินการ
-โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
-โรงพยาบาลสวนปรุง จ.เชียงใหม่
-โรงพยาบาลเชียงใหม่-ราม (เอกชน)
– โรงพยาบาลนครพิงค์ จ.เชียงใหม่
– โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เชียงใหม่
– โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (โรงพยาบาลสวนดอก)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- คอมพิวเตอร์
- ภาษาไทย
- สังคมศึกษา
- วิทยาศสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. https://health.kapook.com/view533.html/ ( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 )
2. https://goo.gl/t3zJTo/ ( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 )
3. https://goo.gl/gQk4bv/ ( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 )
4. https://th.wikipedia.org/wiki/( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 )

More Related Content

What's hot

2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรsrp Lee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37 chadaa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่Panita Tunpama
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Jutamas123
 

What's hot (20)

2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
นางสาวนิตยา บุญเดช
นางสาวนิตยา  บุญเดชนางสาวนิตยา  บุญเดช
นางสาวนิตยา บุญเดช
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 

Similar to Bipolar disorder22

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขNattanichaYRC
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมDduang07
 
งานคอม22
งานคอม22งานคอม22
งานคอม22Dduang07
 
2562 final-project dede
2562 final-project  dede2562 final-project  dede
2562 final-project dedekanokwanintra1
 
Woraprat
WorapratWoraprat
WorapratNeayne
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)sunsumm
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32ssuser7d15e1
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 

Similar to Bipolar disorder22 (20)

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม22
งานคอม22งานคอม22
งานคอม22
 
2562 final-project dede
2562 final-project  dede2562 final-project  dede
2562 final-project dede
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 

Bipolar disorder22

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน "โรคไบโพลาร์"โรคอารมณ์สองขั้ว ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิกานต์ บุญรัตน์ เลขที่ 13 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) "โรคไบโพลาร์"โรคอารมณ์สองขั้ว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bipolar disorder ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อด้วยการสื่อสาร ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิกานต์ บุญรัตน์ ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันคนไทยเป็นโรคไบโพลาร์กันมากมายซึ่งเกิดได้จากการผิดปกติทางฮอร์โมน หรือจากความเครียด หรือปัญหาต่างๆในชีวิตเป็นต้นโดยที่ตนเองนั้นไม่ทันได้รู้ตัวเลยว่ากาลังเป็นโรคนี้อยู่ซึ่งบ้างคนพอรู้ว่าเป็นโรคนี้ก็ เกิดความวิตกังวลมากขึ้นไม่กล้าที่จะไปปรึกษาใครแม้กระทั่งพ่อแม่ ของตัวเองกลัวว่าคนอื่นจะมองว่าเป็นคน ผิดปกติได้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงก็คือ เดี๋ยวนี้กลายเป็นว่า สังคมมักจะมีความคิดประมาณว่า ถ้าใครมีลักษณะ ผิดปกติอะไรสักอย่าง ต้องถามขึ้นมาเลยว่า "นี่เป็นไบโพล่าร์รึเปล่าเนี่ย!?!" ซึ่งคงไม่ยุติธรรมกับคนไข้ที่เป็น ไบโพล่าร์เท่าไหร่นัก แล้วในความเป็นจริง ไบโพล่าร์คือโรคอะไรกันแน่ จนทาให้คนที่เป็นโรคไบโพลาร์มักปกปิดตัน ตนของตัวเองและเริ่มอยู่ตัวคนเดียวซึ่งจะยิ่งเป็นผลเสียต่อตัวผู้ที่เป็นโรไบโพลาร์มากขึ้น ซึ่งด้วยการที่ผู้จัดหา โครงงานเห็นถึงปัญหาการเป็นโรคนี้เป็นเรื่องที่ใหญ่และต้องให้ความสาคัญมากต่อบุคคลที่เป็นในทางที่ถูกต้อง เพื่อให้บุคคลเหล่านี้มีทางออกที่ดีและกล้าที่จะไปรักษาตัวกับแพทย์โดยที่ไม่กลัวว่าผู้อื่นจะรู้ว่าตนเป็นโรคดังกล่าว หรือไม่ จึงต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลของโรคไบโพลาร์สาหรับคนที่คิดว่าตนเองกาลังเข้าข่ายต่อการเสี่ยงเป็นโรค
  • 3. 3 ไบโพลาร์ได้มีทางออกและข้อมูลเกี่ยวโรคนี้ในทางที่ถูกต้องซึ่งโรคนี้จริงๆแล้วไม่ได้ร้ายแรงมากจนน่ากลัว ถ้าบุคคล ที่เป็นโรครู้ตัวและรักษาทันก็ไม่มีอะไรที่ต้องวิตกกังวล จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้เพราะ ไม่เพียงแค่บุคคลที่เป็นโรคนี้ได้รับข้อมูลความรู้เท่านั้น แต่ตัวผู้จัดทาเองก็ได้รับรู้อาการของโรคไบโพลาร์ไปด้วย และยังสามารถไปเผยแพร่ ให้เพื่อนๆและคนใกล้ตัวของผู้จัดทาได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาหาและเรียนรู้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไบโพลาร์ 2.เพื่อเป็นการเผยแพร่กระจายข้อมูลให้ผู้คนทั่วไปได้รับรู้ 3.เพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนที่เป็นโรคไบโพลาร์กล้าที่จะออกมารักษาตัว ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทา โครงงาน) -ประชากรในเชียงใหม่ทุกรุ่นทุกวัย ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไบโพลาร์ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทา โครงงาน) โรคไบโพลาร์ (Bipolar disorder) เป็นโรคที่ทาให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ มีอารมณ์สองขั้วที่เปลี่ยนแปลงไปมาอย่างชัดเจน แบบที่หนึ่งคือมีพฤติกรรมแบบเศร้า และแบบที่สองมีอาการพลุ่งพล่าน หรือเรียกว่าแบบแมเนีย อารมณ์ของผู้ที่เป็นโรคนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นช่วง ๆ ไป อาจมี อาการแบบแรกคือแบบเศร้าก่อน แล้วสักพักก็จะมีอาการแมเนีย บางคนอาจมีอาการแบบแมเนียก่อน แล้วจึงมีอาการแบบเศร้าขึ้นมา หรืออาจจะสลับกับอาการปกติต่อเนื่องกันไป สาเหตุของโรคไบโพลาร์ ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ดังนี้  ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่าง ๆ ในร่างกาย การนอนหลับที่ผิดปกติ ความผิดปกติของการทางานในส่วนต่าง ๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการ ควบคุมอารมณ์  ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียดหรือปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตได้ ก็สามารถ กระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่สาเหตุของโรค แต่อาจ เป็ นตัวกระตุ้นให้โรคแสดงอาการได้  ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ยังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนที่ชัดเจนของโรค แต่จาก การศึกษาพบว่าสามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่ วยเป็ นไบโพลาร์มากกว่าในประชากรทั่วไป
  • 4. 4 อาการของโรคไบโพลาร์ คนที่มีอาการไบโพลาร์นั้น จะอารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะ เป็น และมักจะไม่มีเหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และไม่ชอบให้ใครมาขัดจะเกิด อารมณ์หงุดหงิด บางคนอารมณ์ดีจนกระทั่งตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง แต่ถ้าอารมณ์ร้ายขึ้นมาเมื่อไร ก็ถึงขั้นใช้อารมณ์ก้าวร้าวได้เรียกว่าเปลี่ยนไปเป็นคนละคน ซึ่งอาจทาให้มีปัญหา กระทบกระเทือนต่อหน้าที่การงาน และการใช้ชีวิตประจาวันได้เลย ผู้ป่วยบางคนจะมีปัญหาไม่ยอมหลับยอมนอน ตอนกลางคืน อยากเที่ยวกลางคืน ใช้จ่ายเงินมาก มีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น สาส่อนทางเพศ ถ้าอาการนี้เริ่มเป็นมาตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น อาจทาให้ผู้ป่วยไม่มีสมาธิในการเรียน ผลการเรียนตกลง มีปัญหาทางพฤติกรรม ทะเลาะกับเพื่อนฝูง ครูอาจารย์รู้สึกอยากไปเที่ยวกลางคืน ออกไปเตร็ดเตร่ ซึ่งถ้าพ่อแม่ไม่ได้ดูแลเอาใจใส่ลูกอย่างใกล้ชิดก็จะไม่ รู้สึกถึงความผิดปกติเลย อย่างไรก็ตาม อาการของโรคไบโพลาร์ไม่จาเป็นต้องสลับกับช่วงซึมเศร้า บางคนเป็นโรคนี้อยู่ช่วงหนึ่ง อาจจะประมาณ 4-6 เดือนก็สามารถกลับคืนเป็นปกติได้เองโดยไม่ต้องรักษา ทาให้คนรอบข้างไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหาถ้าไม่สังเกตอย่างใกล้ชิด เมื่อ เป็นปกติแล้วเขาจะดาเนินชีวิตได้ปกติ พอถึงช่วงหนึ่งจะรื่นเริงอีก หรืออาจจะสลับไปขั้วตรงข้าม เป็นแบบซึมเศร้า อาการก็จะเริ่ม ตั้งแต่แยกตัว เบื่อหน่าย ไม่อยากทาอะไร กินไม่ได้นอนไม่หลับ เบื่อ ๆ เข้าก็รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ที่สาคัญที่สุดคือการฆ่าตัวตาย โรคนี้ช่วงซึมเศร้าจะเหมือนกับโรคซึมเศร้า อัตราการฆ่าตัวตายคือ 15-20% เพราะฉะนั้น เท่ากับว่าผู้ป่ วยหนึ่งในห้ามี โอกาสที่จะเกิดปัญหาเบื่อเศร้าและฆ่าตัวตาย แต่ช่วงที่รื่นเริงมาก ๆ ก็จะมีประเด็นการฆ่าตัวตายได้ด้วยเช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะแค่ตอน ซึมเศร้า แนวทางในการรักษาโรคไบโพลาร์ โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยา ได้แก่ ยาในกลุ่มยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต (antipsychotics) และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants) ดังนี้ 1. ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้ คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัวที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษาช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมาเป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้นจะเป็นการรักษาต่อเนื่อง อาจต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจมาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด 2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็นระยะ เวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็น ๆ หาย ๆ ได้ตัวยายังสามารถป้ องกันได้ทั้งอาการ mania และอาการซึมเศร้า ยาอื่น ๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate 3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และ
  • 5. 5 ziprasidone อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้องดาเนินชีวิตในทางสาย กลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยา กระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้ องกันผู้ป่วยในช่วงก่อนโรคกาเริบรุนแรง เพราะว่ามีโอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวนมากที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยอาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า "ไฮเปอร์แอ็คทีฟ" ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่ วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็นมาก ๆ อาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย สรุปแล้วโรคนี้รักษาได้ หากคนรอบตัวมีอาการผิดปกติทางอารมณ์อย่างที่บอกมา ควรพาไปพบแพทย์เพื่อให้วินิจฉัย เพื่อ จะได้รีบรักษาให้ผู้ป่ วยสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างปกติเหมือนคนทั่วไป จะช่วยลดความสูญเสียทางด้านหน้าที่การงาน และเงินทอง เวลาผู้ป่วยมีอาการ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความรุนแรง เป็นปัญหาสังคมได้ ที่มา https://health.kapook.com/view533.htm วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน  คิดหัวข้อโครงงาน  ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล  จัดทาโครงร่างงาน  ปฏิบัติการสร้างโครงงาน  ปรับปรุงทดสอบ  การทาเอกสารรายงาน  ประเมินผลงาน  นาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้  หนังสือจิตวิทยากร  เครื่องอัดเสียง  คอมพิวเตอร์  ปริ้นเตอร์  กล้องถ่ายภาพ งบประมาณ งบประมาณในการจัดตั้งองค์กรและการเผยแพร่ข้อมูลของโรคไบโพลาร์ ประมาณ100,000 –200,000บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / นางสาวศศิกานต์ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล / / นางสาวศศิกานต์ 3 จัดทาโครงร่างงาน / / นางสาวศศิกานต์ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน / / นางสาวศศิกานต์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / นางสาวศศิกานต์ 6 การทา เอกสารรายงาน / นางสาวศศิกานต์ 7 ประเมินผลงาน / นางสาวศศิกานต์ 8 นาเสนอโครงงาน / นางสาวศศิกานต์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทา โครงงาน) คาดหวังว่าโครงงานที่ทาไปจะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ได้อ่านและได้นาข้อมูลเนื้อหาต่างๆไปศึกษาหาความรู้และได้ ความรู้มากขึ้นจากการศึกษาหาความรู้จากโครงงานของผู้จัดทา
  • 7. 7 สถานที่ดาเนินการ -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่ -โรงพยาบาลสวนปรุง จ.เชียงใหม่ -โรงพยาบาลเชียงใหม่-ราม (เอกชน) – โรงพยาบาลนครพิงค์ จ.เชียงใหม่ – โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เชียงใหม่ – โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (โรงพยาบาลสวนดอก) กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - คอมพิวเตอร์ - ภาษาไทย - สังคมศึกษา - วิทยาศสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. https://health.kapook.com/view533.html/ ( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 ) 2. https://goo.gl/t3zJTo/ ( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 ) 3. https://goo.gl/gQk4bv/ ( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 ) 4. https://th.wikipedia.org/wiki/( วันที่สืบค้นข้อมูล 19 กันยายน 2561 )