SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน แค่กังวล หรือเป็นโรค...แพนิค
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวปราณปริยา สุขเสริฐ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาว ปราณปริยา สุขเสริฐ เลขที่ 30
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แค่กังวล หรือเป็นโรค...แพนิค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Just worry or panic disorder.
ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปราณปริยา สุขเสริฐ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันพบว่ามีผู้ป่วยโรคแพนิคมากขึ้น มักพบในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นจึงทาให้ความสามารถในการ
ประกอบอาชีพลดลง และความสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิด ตึงเครียดมากขึ้น ผู้ป่วยมักคิดว่าตนเองเป็นโรค
ร้ายแรง ซึ่งการตรวจร่างกายและการทดสอบพิเศษจะไม่พบความผิดปกติเพราะเป็นโรคทางจิตเวชอาการของ
โรคมักรุนแรงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดขึ้นโดยไม่เลือกเวลาและสถานที่ เมื่ออาการแพนิคสงบลง ผู้ป่วยมักตก
อยู่ในสภาพหวาดหวั่นวิตกกังวลว่าจะเกิดอาการขึ้นมาอีก ยิ่งมีความหวาดหวั่นและ วิตกกังวลมากเท่าใดก็ดู
เหมือนว่าจะเกิดอาการจู่โจมมากขึ้นเท่านั้น เนื่องจากคนทั่วไปอาจรู้จักโรคแพนิคไม่มากนัก รวมถึงสาเหตุการ
เกิดโรคที่ไม่แน่ชัด ผู้จัดทาจึงศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิคเพื่อให้ข้อมูลที่ศึกษา ผลจากการศึกษาอาจเป็นประโยชน์
ต่อคนทั่วไปและผู้ป่วยได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดโรคแพนิค
2. เพื่อศึกษาหาวิธีการป้องกันและวิธีการรักษา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาหาสาเหตุของโรคแพนิคและวิธีการรักษาเพื่อให้หายจากโรคหรือเพื่อให้อาการดีขึ้น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. ทฤษฎีของโรคแพนิค
เด็กและวัยรุ่นที่เป็นโรคแพนิคจะรายงานอาการทั้งทางสรีระและ cognitive คล้ายกับที่พบใน
ผู้ใหญ่ Clark19
ได้อธิบายว่าโรคแพนิคนั้น เป็นการแปลความอาการทางกายของความวิตกกังวลแปลผิดเป็น
ภาวะอันตราย เช่น อาการใจสั่นแปลเป็นโรคหัวใจ หรือหายใจลาบากแปลเป็นกาลังจะตาย Nelles และ
Barlow3
ตั้งคาถามว่าเด็กมีความเข้าใจมากพอที่จะรับรู้ความรู้สึกอันตรายได้แล้วหรือไม่ โดยส่วนตัวแล้วเขา
เชื่อว่าเด็กไม่สามารถรับรู้ได้ โดยให้เหตุผลว่าคนที่สามารถรับรู้ได้นั้นต้องมีความพร้อมต่อไปนี้คือ สามารถรับรู้
อาการทางกายที่เกิดขึ้นเช่น ใจสั่น หายใจลาบาก มึนงง และจะต้องมีความเข้าใจความหมายของความรู้สึก
กาลังจะตายหรือควบคุมตัวเองไม่ได้ เขาจึงสรุปว่าเด็กก่อนเข้าวัยรุ่นนั้นไม่สามารถรับรู้อาการโรคแพนิคได้ แต่
มีรายงาน12
แย้งข้อสรุปของ Nelles และ Barlow โดยพบเด็กที่แสดงออกถึงการแปลความหมายอาการทาง
กายของความวิตกกังวลผิดแม้จะมีอายุน้อย กล่าวคือ เด็กอายุ 8 ปีใช้คาว่า “out of control” เด็กอายุ 11 ปี
ใช้คาว่า “fear of going to die” และในเด็กอายุ 13 ปีใช้คาว่า “fear to lose control” นอกจากนั้น
Garland และ Smith20
รายงานโรคแพนิคในเด็กอายุก่อน 10 ปีอีก 2 รายโดยมีอาการโรคแพนิคเต็มรูปแบบ
คือมีทั้งอาการทางสรีระและ cognitive ทาให้ Hayward และ Klien2,7
สรุปความเห็นพ้องว่าเด็กมี
ความสามารถรับรู้ถึงความรู้สึกอันตรายได้ อย่างไรก็ตามเด็กมักเล่าถึงอาการ cognitive น้อยกว่าอาการทาง
สรีระ ทาให้การวินิจฉัยโรคแพนิคในเด็กต่ากว่าความเป็นจริง
2. ความสัมพันธ์ของการพลัดพรากและโรควิตกกังวลในวัยเด็กกับโรคแพนิคในผู้ใหญ่
Thyer และคณะ9
พบว่า separation anxiety disorder ในวัยเด็กนั้นเป็นตัวเริ่มต้นของโรควิตก
กังวลและโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่ ส่วน Pollack และคณะ21
รายงานความสัมพันธ์ของโรควิตกกังวลในวัยเด็ก
และโรคแพนิคในผู้ใหญ่ แต่ไม่สามารถสรุปได้ว่า separation anxiety disorder ในวัยเด็กจะพัฒนาต่อไปเป็น
โรคแพนิคในผู้ใหญ่ได้22
3. การศึกษาครอบครัวของโรคแพนิค
Surman และคณะ23
รายงานฝาแฝดไข่ใบเดียวกัน 2 คู่ที่ป่วยเป็นโรคแพนิคทั้งหมด สนับสนุนความ
เป็นไปได้ว่าโรคแพนิคนั้นสืบทอดทางพันธุกรรม และรายงานของ Last และ คณะ24
พบว่าญาติสายตรงของ
เด็กที่เป็นโรคแพนิคมีความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคแพนิค ส่วน Vitiello และคณะ11
รายงานครอบครัวของ
เด็กที่เป็นโรคแพนิคจะมีประวัติคนหลายรุ่นเป็นโรคแพนิคด้วย Crowe25
สันนิษฐานว่าโรคแพนิคอาจมีการสืบ
ทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal dominant ในทางกลับกันเด็กที่มีพ่อแม่เป็นโรคแพนิคจะเพิ่มโอกาสการ
เป็น separation anxiety disorder มากกว่าเด็กทั่วไปถึง 3 เท่า26
4. โรคแพนิคในเด็กกับอาการ hyperventilation
มีรายงานโรคแพนิคในเด็กที่นามาด้วยอาการ hyperventilation syndrome ซึ่งมีอาการคล้าย
โรคแพนิคมาก มีการทบทวนย้อนหลัง27-28
อาการ hyperventilation ในเด็กพบว่าเด็กมีอาการหายใจลาบาก
มึนงง ตัวชา กลัวตัวเองตายหรือเพื่อนตาย ซึ่งอาการทั้งหมดเข้าได้กับโรคแพนิค การคานึงไว้เสมอว่าโรคแพนิค
พบได้ในเด็ก ทาให้แพทย์วินิจฉัยโรคแพนิคในเด็กได้แม่นยาขึ้น
5. ทฤษฎีทางชีวภาพของโรคแพนิค
ข้อมูลทางชีวภาพของโรคแพนิคในเด็กมีการศึกษาน้อย เท่าที่มีรายงานเป็นการศึกษาในผู้ใหญ่
พบว่าปัจจัยทางชีวภาพต่อไปนี้มีความสัมพันธ์กับการเกิดอาการแพนิค เช่น mitral valve prolapse และสาร
บางชนิด อาทิ lactate, carbon dioxide, isoproterenol hydrochloride, yohimbine hydrochloride
และ caffein นอกจากนั้นยังมีรายงาน29
ที่กล่าวถึงปัจจัยทางชีวภาพอื่นที่มีความสัมพันธ์กับโรคแพนิคและโรค
วิตกกังวล อาทิเช่น ความผิดปกติของ noradrenergic และ central nervous system cholecystokinin
เท่าที่มีการศึกษาในเด็กเรื่องของ mitral valve prolapse นั้น Arkfan และคณะ29
ได้ศึกษาเด็กที่มี mitral
valve prolapse เปรียบเทียบกับเด็กปกติพบว่า anxiety score ไม่แตกต่างกัน และ Reicher และคณะ
29
ศึกษาปัจจัยทางชีวภาพในเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มีพ่อแม่เป็นโรคแพนิค โดยตรวจแยกเด็กเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่
เป็น mitral valve prolapse และกลุ่มควบคุม หลังการออกกาลังกายอย่างหนักได้ตรวจหาระดับ lactate,
cathecholamine ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง รวมทั้ง platelet monoamine oxidase activity พบว่าในทั้งสอง
กลุ่มผลไม่แตกต่างกัน
6. การรักษาโรคแพนิคในเด็ก
การรักษาโรคในผู้ใหญ่ประกอบด้วย behavioral therapy, cognitive therapy, exposure และ
pharmacotherapy สาหรับเด็กนั้นยังไม่มี clinical trial เป็นเพียงการรายงานการรักษาด้วยยาในผู้ป่วย 13
ราย5,12,13,30
พอสรุปได้ว่ายาที่ใช้ได้ผลดีในโรคแพนิคผู้ใหญ่เช่น tricyclic antidepressants, fluoxetine,
alprazolam, lorazepam และ clonazepam ได้ผลดีในเด็กเช่นกัน อย่างไรก็ตามการใช้ยามากกว่าหนึ่งชนิด
ต้องระวังปฏิกิริยาระหว่างกันของยาด้วย และอาการ agoraphobia จะไม่หายไปเองหลังการรักษาโรคแพนิค
ด้วยยา ควรได้รับการรักษาหลายๆ ด้านร่วมกัน (multimodal approach) ด้วย เช่น supportive
psychotherapy, behavior-cognitive therapy
เด็กมักจะเลี่ยงกิจกรรมบางอย่างที่ทาให้เกิดข้อขัดแย้งระหว่างเด็กและครอบครัว ส่งผลให้อาการโรคแพนิคแย่
ลง จึงควรช่วยเรื่องปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวโดยการทาครอบครัวบาบัดด้วย ส่วนยา momoamine
oxidase inhibitors ไม่ควรใช้ในเด็กเพราะการควบคุมอาหารทาได้ยากและพบ orthostatic hypotension
บ่อย ดังนั้นยาที่แนะนาให้ใช้ในเด็กและวัยรุ่นมี 3 กลุ่มคือ SSRIs, tricyclic antidepressants และ
benzodiazepines โดยเฉพาะ clonazepam

More Related Content

What's hot

แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 Khunnawang Khunnawang
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
เฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครน
เฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครนเฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครน
เฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครนkanjana2536
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวkrupornpana55
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552waranyuati
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 

What's hot (20)

แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
เฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครน
เฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครนเฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครน
เฉลยใบงานที่6 เรื่อง การหา ครน
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
 
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณKnooknickk Pinpukvan
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1Wichayaporn02
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
คิตตี้
คิตตี้คิตตี้
คิตตี้Tai MerLin
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1mint302544
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์KrataeBenjarat
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
คิตตี้
คิตตี้คิตตี้
คิตตี้
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
โปรเจ็คคอม
โปรเจ็คคอมโปรเจ็คคอม
โปรเจ็คคอม
 
โปรเจ็คคอม
โปรเจ็คคอมโปรเจ็คคอม
โปรเจ็คคอม
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน แค่กังวล หรือเป็นโรค...แพนิค ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปราณปริยา สุขเสริฐ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาว ปราณปริยา สุขเสริฐ เลขที่ 30 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แค่กังวล หรือเป็นโรค...แพนิค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Just worry or panic disorder. ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปราณปริยา สุขเสริฐ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันพบว่ามีผู้ป่วยโรคแพนิคมากขึ้น มักพบในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นจึงทาให้ความสามารถในการ ประกอบอาชีพลดลง และความสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิด ตึงเครียดมากขึ้น ผู้ป่วยมักคิดว่าตนเองเป็นโรค ร้ายแรง ซึ่งการตรวจร่างกายและการทดสอบพิเศษจะไม่พบความผิดปกติเพราะเป็นโรคทางจิตเวชอาการของ โรคมักรุนแรงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดขึ้นโดยไม่เลือกเวลาและสถานที่ เมื่ออาการแพนิคสงบลง ผู้ป่วยมักตก อยู่ในสภาพหวาดหวั่นวิตกกังวลว่าจะเกิดอาการขึ้นมาอีก ยิ่งมีความหวาดหวั่นและ วิตกกังวลมากเท่าใดก็ดู เหมือนว่าจะเกิดอาการจู่โจมมากขึ้นเท่านั้น เนื่องจากคนทั่วไปอาจรู้จักโรคแพนิคไม่มากนัก รวมถึงสาเหตุการ เกิดโรคที่ไม่แน่ชัด ผู้จัดทาจึงศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิคเพื่อให้ข้อมูลที่ศึกษา ผลจากการศึกษาอาจเป็นประโยชน์ ต่อคนทั่วไปและผู้ป่วยได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดโรคแพนิค 2. เพื่อศึกษาหาวิธีการป้องกันและวิธีการรักษา
  • 3. ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาหาสาเหตุของโรคแพนิคและวิธีการรักษาเพื่อให้หายจากโรคหรือเพื่อให้อาการดีขึ้น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ทฤษฎีของโรคแพนิค เด็กและวัยรุ่นที่เป็นโรคแพนิคจะรายงานอาการทั้งทางสรีระและ cognitive คล้ายกับที่พบใน ผู้ใหญ่ Clark19 ได้อธิบายว่าโรคแพนิคนั้น เป็นการแปลความอาการทางกายของความวิตกกังวลแปลผิดเป็น ภาวะอันตราย เช่น อาการใจสั่นแปลเป็นโรคหัวใจ หรือหายใจลาบากแปลเป็นกาลังจะตาย Nelles และ Barlow3 ตั้งคาถามว่าเด็กมีความเข้าใจมากพอที่จะรับรู้ความรู้สึกอันตรายได้แล้วหรือไม่ โดยส่วนตัวแล้วเขา เชื่อว่าเด็กไม่สามารถรับรู้ได้ โดยให้เหตุผลว่าคนที่สามารถรับรู้ได้นั้นต้องมีความพร้อมต่อไปนี้คือ สามารถรับรู้ อาการทางกายที่เกิดขึ้นเช่น ใจสั่น หายใจลาบาก มึนงง และจะต้องมีความเข้าใจความหมายของความรู้สึก กาลังจะตายหรือควบคุมตัวเองไม่ได้ เขาจึงสรุปว่าเด็กก่อนเข้าวัยรุ่นนั้นไม่สามารถรับรู้อาการโรคแพนิคได้ แต่ มีรายงาน12 แย้งข้อสรุปของ Nelles และ Barlow โดยพบเด็กที่แสดงออกถึงการแปลความหมายอาการทาง กายของความวิตกกังวลผิดแม้จะมีอายุน้อย กล่าวคือ เด็กอายุ 8 ปีใช้คาว่า “out of control” เด็กอายุ 11 ปี ใช้คาว่า “fear of going to die” และในเด็กอายุ 13 ปีใช้คาว่า “fear to lose control” นอกจากนั้น Garland และ Smith20 รายงานโรคแพนิคในเด็กอายุก่อน 10 ปีอีก 2 รายโดยมีอาการโรคแพนิคเต็มรูปแบบ คือมีทั้งอาการทางสรีระและ cognitive ทาให้ Hayward และ Klien2,7 สรุปความเห็นพ้องว่าเด็กมี ความสามารถรับรู้ถึงความรู้สึกอันตรายได้ อย่างไรก็ตามเด็กมักเล่าถึงอาการ cognitive น้อยกว่าอาการทาง สรีระ ทาให้การวินิจฉัยโรคแพนิคในเด็กต่ากว่าความเป็นจริง 2. ความสัมพันธ์ของการพลัดพรากและโรควิตกกังวลในวัยเด็กกับโรคแพนิคในผู้ใหญ่ Thyer และคณะ9 พบว่า separation anxiety disorder ในวัยเด็กนั้นเป็นตัวเริ่มต้นของโรควิตก กังวลและโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่ ส่วน Pollack และคณะ21 รายงานความสัมพันธ์ของโรควิตกกังวลในวัยเด็ก และโรคแพนิคในผู้ใหญ่ แต่ไม่สามารถสรุปได้ว่า separation anxiety disorder ในวัยเด็กจะพัฒนาต่อไปเป็น โรคแพนิคในผู้ใหญ่ได้22 3. การศึกษาครอบครัวของโรคแพนิค Surman และคณะ23 รายงานฝาแฝดไข่ใบเดียวกัน 2 คู่ที่ป่วยเป็นโรคแพนิคทั้งหมด สนับสนุนความ เป็นไปได้ว่าโรคแพนิคนั้นสืบทอดทางพันธุกรรม และรายงานของ Last และ คณะ24 พบว่าญาติสายตรงของ เด็กที่เป็นโรคแพนิคมีความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคแพนิค ส่วน Vitiello และคณะ11 รายงานครอบครัวของ เด็กที่เป็นโรคแพนิคจะมีประวัติคนหลายรุ่นเป็นโรคแพนิคด้วย Crowe25 สันนิษฐานว่าโรคแพนิคอาจมีการสืบ ทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal dominant ในทางกลับกันเด็กที่มีพ่อแม่เป็นโรคแพนิคจะเพิ่มโอกาสการ เป็น separation anxiety disorder มากกว่าเด็กทั่วไปถึง 3 เท่า26
  • 4. 4. โรคแพนิคในเด็กกับอาการ hyperventilation มีรายงานโรคแพนิคในเด็กที่นามาด้วยอาการ hyperventilation syndrome ซึ่งมีอาการคล้าย โรคแพนิคมาก มีการทบทวนย้อนหลัง27-28 อาการ hyperventilation ในเด็กพบว่าเด็กมีอาการหายใจลาบาก มึนงง ตัวชา กลัวตัวเองตายหรือเพื่อนตาย ซึ่งอาการทั้งหมดเข้าได้กับโรคแพนิค การคานึงไว้เสมอว่าโรคแพนิค พบได้ในเด็ก ทาให้แพทย์วินิจฉัยโรคแพนิคในเด็กได้แม่นยาขึ้น 5. ทฤษฎีทางชีวภาพของโรคแพนิค ข้อมูลทางชีวภาพของโรคแพนิคในเด็กมีการศึกษาน้อย เท่าที่มีรายงานเป็นการศึกษาในผู้ใหญ่ พบว่าปัจจัยทางชีวภาพต่อไปนี้มีความสัมพันธ์กับการเกิดอาการแพนิค เช่น mitral valve prolapse และสาร บางชนิด อาทิ lactate, carbon dioxide, isoproterenol hydrochloride, yohimbine hydrochloride และ caffein นอกจากนั้นยังมีรายงาน29 ที่กล่าวถึงปัจจัยทางชีวภาพอื่นที่มีความสัมพันธ์กับโรคแพนิคและโรค วิตกกังวล อาทิเช่น ความผิดปกติของ noradrenergic และ central nervous system cholecystokinin เท่าที่มีการศึกษาในเด็กเรื่องของ mitral valve prolapse นั้น Arkfan และคณะ29 ได้ศึกษาเด็กที่มี mitral valve prolapse เปรียบเทียบกับเด็กปกติพบว่า anxiety score ไม่แตกต่างกัน และ Reicher และคณะ 29 ศึกษาปัจจัยทางชีวภาพในเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มีพ่อแม่เป็นโรคแพนิค โดยตรวจแยกเด็กเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ เป็น mitral valve prolapse และกลุ่มควบคุม หลังการออกกาลังกายอย่างหนักได้ตรวจหาระดับ lactate, cathecholamine ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง รวมทั้ง platelet monoamine oxidase activity พบว่าในทั้งสอง กลุ่มผลไม่แตกต่างกัน 6. การรักษาโรคแพนิคในเด็ก การรักษาโรคในผู้ใหญ่ประกอบด้วย behavioral therapy, cognitive therapy, exposure และ pharmacotherapy สาหรับเด็กนั้นยังไม่มี clinical trial เป็นเพียงการรายงานการรักษาด้วยยาในผู้ป่วย 13 ราย5,12,13,30 พอสรุปได้ว่ายาที่ใช้ได้ผลดีในโรคแพนิคผู้ใหญ่เช่น tricyclic antidepressants, fluoxetine, alprazolam, lorazepam และ clonazepam ได้ผลดีในเด็กเช่นกัน อย่างไรก็ตามการใช้ยามากกว่าหนึ่งชนิด ต้องระวังปฏิกิริยาระหว่างกันของยาด้วย และอาการ agoraphobia จะไม่หายไปเองหลังการรักษาโรคแพนิค ด้วยยา ควรได้รับการรักษาหลายๆ ด้านร่วมกัน (multimodal approach) ด้วย เช่น supportive psychotherapy, behavior-cognitive therapy เด็กมักจะเลี่ยงกิจกรรมบางอย่างที่ทาให้เกิดข้อขัดแย้งระหว่างเด็กและครอบครัว ส่งผลให้อาการโรคแพนิคแย่ ลง จึงควรช่วยเรื่องปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวโดยการทาครอบครัวบาบัดด้วย ส่วนยา momoamine oxidase inhibitors ไม่ควรใช้ในเด็กเพราะการควบคุมอาหารทาได้ยากและพบ orthostatic hypotension บ่อย ดังนั้นยาที่แนะนาให้ใช้ในเด็กและวัยรุ่นมี 3 กลุ่มคือ SSRIs, tricyclic antidepressants และ benzodiazepines โดยเฉพาะ clonazepam