SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน รู้เท่าทันอาการทางจิต
ชื่อผู้ทาโครงงาน
น.ส.ธนพร มอนไข่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
1 น.ส.ธนพร มอนไข่ เลขที่ 3
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รู้เท่าทันอาการทางจิต
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
See through the Mental Symptoms
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ธนพร มอนไข่
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบัน ผู้คนจานวนไม่น้อยที่มีอาการทางจิต ซึ่งบางทีก็อาจจะเกิดขึ้นกับคนใกล้ๆตัวเรา ซึ่งอาการทางจิต
บางอย่างทาให้คนที่มีอาการคิดสั้น ฆ่าตัวตาย นามาซึ่งความสูญเสียแก่ครอบครัวคนเหล่านั้น หรือบางอาการผู้ที่มี
อาการก็อาจจะไม่รู้ตัวว่าทาอะไรที่ร้ายแรงลงไป ซึ่งเป็นปัญหากับตัวผู้มีอาการ หรือผู้คนรอบข้าง หรือในสังคม หาก
รู้เท่าทันอาการเหล่านี้จะทาให้สามารถรู้ได้ว่าอาการทางจิตแบบนี้จะแสดงออกอย่างไร และจุดจบของผู้มีอาการจะ
เป็นแบบไหน หากรู้ตัวเร็วก็จะได้รีบรักษาก่อนจะเกิดการสูญเสียที่น่าเศร้าขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อทราบอาการทางจิตแบบต่างๆ
2. เพื่อทราบวิธีรักษาอาการเหล่านั้น
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาอาการทางจิตและวิธีการรักษา
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคจิตเภท (Schizopheria)
ข้อเท็จจริงพื้นฐาน
โรคจิตเภทเป็นโรคจิตเวชชนิดรุนแรงที่เรื้อรัง มีคนประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์จากประชากรในโลกที่ป่วยเป็นโรค
นี้ ผู้ป่วยมักเริ่มเป็นโรคนี้ในวัยรุ่น อายุ 14-16 ปี แต่คนไข้มักจะได้รับการรักษาเมื่ออายุได้ 18-20 ปี โดยอาการจะ
ค่อยๆ พัฒนาขึ้น อาจมีอาการเริ่มต้น เช่น ปวดศรีษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ วิตกกังวล สนใจ
หมกมุ่นเรื่องศาสนา ไสยศาสตร์ การเมือง หรือวิทยาศาสตร์ การรับผิดชอบต่อหน้าที่การเรียนหรือการงานไม่ดี
จนกระทั่งมีพฤติกรรมประหลาด ญาติและคนรอบข้างจึงสังเกตเห็น
อาการแบ่งออกเป็น 5 ด้านใหญ่ๆ คือ
1. อาการด้านบวก (อาการที่คนปกติไม่มี แต่ผู้ป่วยมี)
ตัวอย่าง
หลงผิด
(มีการรับรู้สภาพความจริงที่ผิดเพี้ยนไป)
 มีความเชื่อมั่นว่ามีคนเฝ้ามองหรือกาลังวางแผนที่
จะทาร้ายตน
 มีคนใส่ความคิดบางอย่างในสมองของตน
 เชื่อว่าความคิดของคนถูกควบคุม ถูกขโมยไป
หรือถูกนาไปออกอากาศทั่วโลกทางวิทยุหรือ
โทรทัศน์
 เชื่อว่าตนได้รับความสามารถพิเศษ จึงสามารถรับ
คาสั่งพิเศษจากพระเจ้าโดยผ่านทางรหัสลับที่พบ
ในหนังสือพิมพ์หรือรายการโทรทัศน์
ประสาทหลอน
(ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งที่ไม่มีอยู่จริง)
 หูแว่ว ได้ยินเสียงที่บอกให้ตนกระทาสิ่งหนึ่งสิ่งใด
หรือวิจารณ์ความคิดและพฤติกรรมของตน มัก
พบผู้ป่วยที่มีอาการนี้พูดกับตนเอง ทั้งนี้เขากาลัง
พูดกับบ “เสียง” ที่เขาได้ยิน
 ภาพหลอน ผู้ป่วยจะเห็นสิ่งที่คนอื่นไม่เห็น
 สัมผัสหลอน มีความรู้สึกที่ผิดปกติ เช่น รู้สึกว่ามี
หนอนไต่อยู่ตามร่างกาย ทั้งๆ ที่ความจริงแล้วไม่
มีอะไรไต่
การพูดผิดปกติ  พูดด้วยคาแปลกๆ ที่สร้างขึ้นเอง
มีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวแบบไม่มีเป้าหมาย หรือมี
เป้าหมายที่แปลกประหลาด
 เดินวุ่นวายไร้จุดหมาย, เดินไป 3 ก้าว หยุดถอย
หนึ่งก้าวเสมอ
2. อาการด้านลบ (อาการที่คนปกติมี แต่ผู้ป่วยขาดหายไป)
ตัวอย่าง
ไร้อารมณ์ ตอบสนองทางอารมณ์ช้า เคลื่อนไหวช้า ไม่สบตา
ขาดสังคม ถอนตัวจากสังคมและความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่สนใจใคร
ขาดแรงจูงใจ ขาดความสนใจที่จะทาสิ่งต่างๆ ละเลยสุขอนามัยส่วนตัว เหมือนคนขี้เกียจ
ขาดการพูด พูดน้อยคา ไม่ยอมพูด
4
3. อาการด้านการรู้คิด มักพบอาการด้านนี้ก่อนอาการอื่นปรากฏชัด ได้แก่ สมาธิแย่ลง การตีความสิ่งต่างๆ และการ
ตอบสนองบกพร่องไป การจดจาชั่วคราวเพื่อใช้งานบกพร่อง ความสามารถคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลเสียไป ปัจจุบันถือ
ว่าเป็นอาการสาคัญพื้นฐานของโรคนี้
4. อาการด้านอารมณ์ มีการตอบสนองด้านอารมณ์ไม่เหมาะสม เช่น ยิ้มเมื่อพูดถึงเรื่องเศร้า หรืออยากตายโดยไม่
รู้สึกเศร้า
5. อาการด้านความก้าวร้าว/รุนแรง มีความบกพร่องในการควบคุมความโกรธและพฤติกรรม จึงแสดงออกอย่าง
หุนหัน ขาดการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ
การดาเนินโรค
การรักษาหลัก
 ยา ยาต้านโรคจิตสามารถลดอาการของโรคจิตเภทและป้องกันการกลับป่วยซ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 การฟื้นฟูสมรรถภาพ เช่น การดูแลตนเอง การฝึกทักษะด้านอาชีพและด้านสังคม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถ
กลับเข้าสู่สังคมได้
5
โรคซึมเศร้า (Depression)
ข้อเท็จจริงพื้นฐาน
ทุกคนย่อมเคยรู้สึกไม่สบายใจ แต่หากความรู้สึกนั้นคงอยู่นาน หรือจนเกิดอาการทางกายแล้ว มีแนวโน้มว่าผู้
นั้นอาจเป็น “โรคซึมเศร้า”
องค์การอนามัยโลกได้ทานายว่าโรคซึมเศร้าจะเป็นหนึ่งในสามสาเหตุหลักที่ทาให้คนต้องเสียชีวิตใน
คริสต์ศตวรรษที่ 21 ในปัจจุบันนี้มีผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า 4-10 เปอร์เซ็นต์ และประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ของผู้ที่ป่วย
เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรงจะฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยมักไปขอรับการรักษาจากแพทย์ด้วยอาการทางร่างกายที่เป็นอย่างเรื้อรัง เช่น ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย
ซึ่งมักไม่พบสาเหตุอะไร จนในที่สุด ได้รับการส่งต่อไปพบจิตแพทย์
อาการและการวินิจฉัย
ผู้ที่มีอาการต่อไปนี้เป็นระยะติดต่อกันนานกว่าสองสัปดาห์ ย่อมมีความเป็นไปได้สูงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า
อารมณ์  รู้สึกเศร้าตลอดเวลา ร้องไห้
โดยไม่มีสาเหตุ
 ไม่สนใจสิ่งที่เคยสนใจ
 หงุดหงิด กระวนกระวายใจ
 รู้สึกช่วยตัวเองไม่ได้ จนแต้ม
และรู้สึกผิด
ความคิด  เฉื่อยชา มองโลกในแง่ร้าย
ขาดความมั่นใจ
 ความจาเสื่อมลง ไม่มีสมาธิ
 คิดช้า ตัดสินใจไม่ได้
 โทษตัวเอง มีความรู้สึกผิด
อย่างรุนแรง
 คิดอยากฆ่าตัวตาย
พฤติกรรม  เคลื่อนไหวช้า
 ไม่สนใจรูปร่างหน้าตาของ
ตนเอง
 แยกตัวออกจากกิจกรรมต่างๆ
ของสังคม
 ขาดแรงจูงใจ
ทางด้านร่างกาย  นอนไม่หลับ ตื่นเร็วเกินไป
หรือนอนมากเกินไป
 ความต้องการทางเพศลดลง
 เบื่ออาหารหรืออยากอาหาร
มากขึ้น
 มีจิตใจห่อเหี่ยวในช่วงเช้า ดี
ขึ้นในช่วงบ่าย
 รู้สึกเหนื่อยตลอดเวลา
 น้าหนักเพิ่มมากขึ้นหรือลดลง
อย่างเห็นได้ชัดในเวลาอันสั้น
 มีปัญหาสุขภาพที่ไม่มีสาเหตุ
บ่อยๆ
6
การเปรียบเทียบระหว่างภาวะจิตเศร้า กับ โรคซึมเศร้า
ภาวะจิตเศร้า โรคซึมเศร้า
ประเภท ซึมเศร้าอย่างอ่อน ซึมเศร้าอย่างรุนแรง
สภาพ รุนแรงน้อยกว่า รุนแรงมากกว่า
ระยะเวลาที่ป่วย ไม่ชัดเจน ชัดเจน
รูปแบบของการป่วย ระยะยาว (มากกว่าสองปี) ระยะสั้น (เฉียบพลัน)
ผลกระทบต่อการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน
น้อย มาก
ภาวะสุขภาพ ไม่ค่อยเจริญอาหาร เบื่ออาหาร มีอาการทางกายร่วม เช่น
อาการปวด
ความาสามารถในการทางาน ลดน้อยลง แต่ยังสามารถทางานได้ ไม่สามารถทางานได้
แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย น้อย มาก
การรักษา ใช้ยา การให้การปรึกษา ใช้ยา การักษาด้วยไฟฟ้า
การเข้าพักในโรงพยาบาล ไม่จาเป็น จาเป็นสาหรับผู้ที่มีแนวโน้มสูงที่จะฆ่า
ตัวตาย
อนาคต อาจกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ อาจกลายเป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรัง หรือ
ป่วยกลับเป็นครั้วคราว
ภาวะซึมเศร้าแบบอื่นๆ
แยกประเภทตามสาเหตุที่เกิด
 โรคซึมเศร้าหลังคลอด เกิดจากการทางานผิดปกติของฮอร์โมนหลังจากคลอด
 กลุ่มอาการก่อนมีรอบเดือน มีอาการซึมเศร้าหงุดหงิดก่อนมีรอบเดือน
 ภาวะซึมเศร้าในคนสูงอายุ
 ความผิดปกติภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
 ภาวะเศร้าหลังการสูญเสีย
อาการซึมเศร้าจากโรคอื่นหรือการใช้ยาบางชนิด
 โรคเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์
 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
 ระบบภูมิคุ้มกันทางานผิดปกติ
 การใช้ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบางชนิด
 เส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน
 การใช้ยาลักษณะที่ผิด
 ฮอร์โมนทางานผิดปกติ
 โรคพิษสุราเรื้อรัง
7
การรักษาโรคซึมเศร้าที่ใช้กันทั่วไป
 ใช้ยาต้านเศร้า
 การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความเครียดและปัญหาต่างๆ ในการ
พัฒนาตนเอง และการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น
 การรักษาด้วยไฟฟ้า มักจะใช้กับผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายสูง หรือใช้ยาแล้วไม่ได้ผล
(ข้อสังเกต การักษาด้วยไฟฟ้าเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันในต่างประเทศ องค์กรช่วยเหลือตนเองบางองค์กรเชื่อ
ว่าการักษาด้วยวิธีนี้อาจทาให้สมองเสื่อมก่อนเวลาอันควร ในประเทศไทยมีสองรูปแบบคือทาภายใต้ภาวะ
สลบ และแบบที่ไม่ใช้ยาสลบ แพทย์จะขอความยินยอมจากผู้ป่วยหรือญาติก่อนที่จะใช้วิธีนี้บาบัดรักษา)
โรคอารมณ์สองขั้ว
(Bipolar Disorder หรือ Manic-Depressive Disorder)
ข้อเท็จจริงพื้นฐาน
โรคอารมณ์สองขั้วเป็นโรคจิตเวชที่มีอาการเวียนเป็นวงจร ผู้ป่วยจะมีอาการป่วยสลับเวียนกัน ระหว่าง
ครื้นเครงกระตือรือร้นเกินปกติ (Mania) และซึมเศร้า ซึ่งจะมีผลเสียต่อชีวิตของผู้ป่วยเอง และครอบครัวเป็นอย่าง
มาก ตามสถิติพบว่า 1-2% จากประชากรทั้งหมดป่วยเป็นโรคอารมณ์สองขั้ว แต่กว่าจะได้รับการวินิจฉัยอย่างถูกต้อง
มักเป็นมานานกว่าสิบปีไปแล้ว
อาการ
ช่วงแมเนีย ช่วงซึมเศร้า
อารมณ์  ตื่นเต้นครื้นเครงมากเกินไป
หงุดหงิด
 อารมณ์เศร้า ร้องไห้โดยไม่
ทราบสาเหตุ
ความคิด  ดื้อดึง ไม่รับฟังใคร
 ความคิดไม่ต่อเนื่อง สมาธิไม่ดี
 คิดเกินจริง สาคัญตนเองผิด
และมั่นใจในตนเองมากเกินไป
 หมดหวังจนตรอก และรู้สึก
ผิด
 คิดช้า ลังเล
 ท้อแท้ มองโลกในแง่ร้าย
 มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายสูง
พฤติกรรม  ช่างพูด พูดเร็วมาก
 พูดเสียงดัง อาจหาญ
 ใช้จ่ายอย่างเมามัน
 หุนหันพลันแล่น มักจะ
ตัดสินใจอย่างไม่ฉลาดทาง
ธุรกิจ
 หมดความสนใจในหลายๆ สิ่ง
 เฉื่อยชา ไม่อยากสุงสิงกับใคร
ร่างกาย  นอนน้อย
 มีความต้องการทางเพศสูง
 เจริญอาหารแต่น้าหนักลดลง
 นอนไม่หลับหรือนอนมาก
เกินไป
 ความต้องการทางเพศลดลง
 เบื่ออาหารหรืออยากกิน
อาหารมาก
 รู้สึกเหนื่อยตลอดเวลา
8
การดาเนินโรค
การรักษา
 ใช้ยา ซึ่งจะใช้ยาคุมอารมณ์หรือยากลุ่มกันชัก เพื่อคุมการแกว่งของอารมณ์เป็นหลัก เพื่อให้อารมณ์มาสู่
สภาพสมดุล
 การให้การปรึกษา เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยระมัดระวังความตื่นเต้นปลอม และพฤติกรรมการใช้จ่ายอย่างเมามัน
ในช่วงที่เป็นแมเนีย และช่วยแก้ไขความคิดของผู้ป่วยที่โทษตนเองในช่วงที่มีอาการซึมเศร้า ทั้งนี้เพื่อป้องกัน
ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
9
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thansuda07
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นan paan
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีBam Hattamanee
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeyassusera60940
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่าหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่าสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 

What's hot (20)

W.1
W.1W.1
W.1
 
Boonyisa612
Boonyisa612Boonyisa612
Boonyisa612
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้น
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสี
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya
 
at1
at1at1
at1
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่าหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 

Similar to 2560 project

2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)sunsumm
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค PhobiaDduang07
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10buakhamlungkham
 

Similar to 2560 project (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Activity 1
Activity 1Activity 1
Activity 1
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน รู้เท่าทันอาการทางจิต ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ธนพร มอนไข่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก 1 น.ส.ธนพร มอนไข่ เลขที่ 3 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รู้เท่าทันอาการทางจิต ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) See through the Mental Symptoms ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ธนพร มอนไข่ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบัน ผู้คนจานวนไม่น้อยที่มีอาการทางจิต ซึ่งบางทีก็อาจจะเกิดขึ้นกับคนใกล้ๆตัวเรา ซึ่งอาการทางจิต บางอย่างทาให้คนที่มีอาการคิดสั้น ฆ่าตัวตาย นามาซึ่งความสูญเสียแก่ครอบครัวคนเหล่านั้น หรือบางอาการผู้ที่มี อาการก็อาจจะไม่รู้ตัวว่าทาอะไรที่ร้ายแรงลงไป ซึ่งเป็นปัญหากับตัวผู้มีอาการ หรือผู้คนรอบข้าง หรือในสังคม หาก รู้เท่าทันอาการเหล่านี้จะทาให้สามารถรู้ได้ว่าอาการทางจิตแบบนี้จะแสดงออกอย่างไร และจุดจบของผู้มีอาการจะ เป็นแบบไหน หากรู้ตัวเร็วก็จะได้รีบรักษาก่อนจะเกิดการสูญเสียที่น่าเศร้าขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อทราบอาการทางจิตแบบต่างๆ 2. เพื่อทราบวิธีรักษาอาการเหล่านั้น ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาอาการทางจิตและวิธีการรักษา
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคจิตเภท (Schizopheria) ข้อเท็จจริงพื้นฐาน โรคจิตเภทเป็นโรคจิตเวชชนิดรุนแรงที่เรื้อรัง มีคนประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์จากประชากรในโลกที่ป่วยเป็นโรค นี้ ผู้ป่วยมักเริ่มเป็นโรคนี้ในวัยรุ่น อายุ 14-16 ปี แต่คนไข้มักจะได้รับการรักษาเมื่ออายุได้ 18-20 ปี โดยอาการจะ ค่อยๆ พัฒนาขึ้น อาจมีอาการเริ่มต้น เช่น ปวดศรีษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ วิตกกังวล สนใจ หมกมุ่นเรื่องศาสนา ไสยศาสตร์ การเมือง หรือวิทยาศาสตร์ การรับผิดชอบต่อหน้าที่การเรียนหรือการงานไม่ดี จนกระทั่งมีพฤติกรรมประหลาด ญาติและคนรอบข้างจึงสังเกตเห็น อาการแบ่งออกเป็น 5 ด้านใหญ่ๆ คือ 1. อาการด้านบวก (อาการที่คนปกติไม่มี แต่ผู้ป่วยมี) ตัวอย่าง หลงผิด (มีการรับรู้สภาพความจริงที่ผิดเพี้ยนไป)  มีความเชื่อมั่นว่ามีคนเฝ้ามองหรือกาลังวางแผนที่ จะทาร้ายตน  มีคนใส่ความคิดบางอย่างในสมองของตน  เชื่อว่าความคิดของคนถูกควบคุม ถูกขโมยไป หรือถูกนาไปออกอากาศทั่วโลกทางวิทยุหรือ โทรทัศน์  เชื่อว่าตนได้รับความสามารถพิเศษ จึงสามารถรับ คาสั่งพิเศษจากพระเจ้าโดยผ่านทางรหัสลับที่พบ ในหนังสือพิมพ์หรือรายการโทรทัศน์ ประสาทหลอน (ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งที่ไม่มีอยู่จริง)  หูแว่ว ได้ยินเสียงที่บอกให้ตนกระทาสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือวิจารณ์ความคิดและพฤติกรรมของตน มัก พบผู้ป่วยที่มีอาการนี้พูดกับตนเอง ทั้งนี้เขากาลัง พูดกับบ “เสียง” ที่เขาได้ยิน  ภาพหลอน ผู้ป่วยจะเห็นสิ่งที่คนอื่นไม่เห็น  สัมผัสหลอน มีความรู้สึกที่ผิดปกติ เช่น รู้สึกว่ามี หนอนไต่อยู่ตามร่างกาย ทั้งๆ ที่ความจริงแล้วไม่ มีอะไรไต่ การพูดผิดปกติ  พูดด้วยคาแปลกๆ ที่สร้างขึ้นเอง มีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวแบบไม่มีเป้าหมาย หรือมี เป้าหมายที่แปลกประหลาด  เดินวุ่นวายไร้จุดหมาย, เดินไป 3 ก้าว หยุดถอย หนึ่งก้าวเสมอ 2. อาการด้านลบ (อาการที่คนปกติมี แต่ผู้ป่วยขาดหายไป) ตัวอย่าง ไร้อารมณ์ ตอบสนองทางอารมณ์ช้า เคลื่อนไหวช้า ไม่สบตา ขาดสังคม ถอนตัวจากสังคมและความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่สนใจใคร ขาดแรงจูงใจ ขาดความสนใจที่จะทาสิ่งต่างๆ ละเลยสุขอนามัยส่วนตัว เหมือนคนขี้เกียจ ขาดการพูด พูดน้อยคา ไม่ยอมพูด
  • 4. 4 3. อาการด้านการรู้คิด มักพบอาการด้านนี้ก่อนอาการอื่นปรากฏชัด ได้แก่ สมาธิแย่ลง การตีความสิ่งต่างๆ และการ ตอบสนองบกพร่องไป การจดจาชั่วคราวเพื่อใช้งานบกพร่อง ความสามารถคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลเสียไป ปัจจุบันถือ ว่าเป็นอาการสาคัญพื้นฐานของโรคนี้ 4. อาการด้านอารมณ์ มีการตอบสนองด้านอารมณ์ไม่เหมาะสม เช่น ยิ้มเมื่อพูดถึงเรื่องเศร้า หรืออยากตายโดยไม่ รู้สึกเศร้า 5. อาการด้านความก้าวร้าว/รุนแรง มีความบกพร่องในการควบคุมความโกรธและพฤติกรรม จึงแสดงออกอย่าง หุนหัน ขาดการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ การดาเนินโรค การรักษาหลัก  ยา ยาต้านโรคจิตสามารถลดอาการของโรคจิตเภทและป้องกันการกลับป่วยซ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ  การฟื้นฟูสมรรถภาพ เช่น การดูแลตนเอง การฝึกทักษะด้านอาชีพและด้านสังคม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถ กลับเข้าสู่สังคมได้
  • 5. 5 โรคซึมเศร้า (Depression) ข้อเท็จจริงพื้นฐาน ทุกคนย่อมเคยรู้สึกไม่สบายใจ แต่หากความรู้สึกนั้นคงอยู่นาน หรือจนเกิดอาการทางกายแล้ว มีแนวโน้มว่าผู้ นั้นอาจเป็น “โรคซึมเศร้า” องค์การอนามัยโลกได้ทานายว่าโรคซึมเศร้าจะเป็นหนึ่งในสามสาเหตุหลักที่ทาให้คนต้องเสียชีวิตใน คริสต์ศตวรรษที่ 21 ในปัจจุบันนี้มีผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า 4-10 เปอร์เซ็นต์ และประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ของผู้ที่ป่วย เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรงจะฆ่าตัวตาย ผู้ป่วยมักไปขอรับการรักษาจากแพทย์ด้วยอาการทางร่างกายที่เป็นอย่างเรื้อรัง เช่น ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ซึ่งมักไม่พบสาเหตุอะไร จนในที่สุด ได้รับการส่งต่อไปพบจิตแพทย์ อาการและการวินิจฉัย ผู้ที่มีอาการต่อไปนี้เป็นระยะติดต่อกันนานกว่าสองสัปดาห์ ย่อมมีความเป็นไปได้สูงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า อารมณ์  รู้สึกเศร้าตลอดเวลา ร้องไห้ โดยไม่มีสาเหตุ  ไม่สนใจสิ่งที่เคยสนใจ  หงุดหงิด กระวนกระวายใจ  รู้สึกช่วยตัวเองไม่ได้ จนแต้ม และรู้สึกผิด ความคิด  เฉื่อยชา มองโลกในแง่ร้าย ขาดความมั่นใจ  ความจาเสื่อมลง ไม่มีสมาธิ  คิดช้า ตัดสินใจไม่ได้  โทษตัวเอง มีความรู้สึกผิด อย่างรุนแรง  คิดอยากฆ่าตัวตาย พฤติกรรม  เคลื่อนไหวช้า  ไม่สนใจรูปร่างหน้าตาของ ตนเอง  แยกตัวออกจากกิจกรรมต่างๆ ของสังคม  ขาดแรงจูงใจ ทางด้านร่างกาย  นอนไม่หลับ ตื่นเร็วเกินไป หรือนอนมากเกินไป  ความต้องการทางเพศลดลง  เบื่ออาหารหรืออยากอาหาร มากขึ้น  มีจิตใจห่อเหี่ยวในช่วงเช้า ดี ขึ้นในช่วงบ่าย  รู้สึกเหนื่อยตลอดเวลา  น้าหนักเพิ่มมากขึ้นหรือลดลง อย่างเห็นได้ชัดในเวลาอันสั้น  มีปัญหาสุขภาพที่ไม่มีสาเหตุ บ่อยๆ
  • 6. 6 การเปรียบเทียบระหว่างภาวะจิตเศร้า กับ โรคซึมเศร้า ภาวะจิตเศร้า โรคซึมเศร้า ประเภท ซึมเศร้าอย่างอ่อน ซึมเศร้าอย่างรุนแรง สภาพ รุนแรงน้อยกว่า รุนแรงมากกว่า ระยะเวลาที่ป่วย ไม่ชัดเจน ชัดเจน รูปแบบของการป่วย ระยะยาว (มากกว่าสองปี) ระยะสั้น (เฉียบพลัน) ผลกระทบต่อการดาเนิน ชีวิตประจาวัน น้อย มาก ภาวะสุขภาพ ไม่ค่อยเจริญอาหาร เบื่ออาหาร มีอาการทางกายร่วม เช่น อาการปวด ความาสามารถในการทางาน ลดน้อยลง แต่ยังสามารถทางานได้ ไม่สามารถทางานได้ แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย น้อย มาก การรักษา ใช้ยา การให้การปรึกษา ใช้ยา การักษาด้วยไฟฟ้า การเข้าพักในโรงพยาบาล ไม่จาเป็น จาเป็นสาหรับผู้ที่มีแนวโน้มสูงที่จะฆ่า ตัวตาย อนาคต อาจกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ อาจกลายเป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรัง หรือ ป่วยกลับเป็นครั้วคราว ภาวะซึมเศร้าแบบอื่นๆ แยกประเภทตามสาเหตุที่เกิด  โรคซึมเศร้าหลังคลอด เกิดจากการทางานผิดปกติของฮอร์โมนหลังจากคลอด  กลุ่มอาการก่อนมีรอบเดือน มีอาการซึมเศร้าหงุดหงิดก่อนมีรอบเดือน  ภาวะซึมเศร้าในคนสูงอายุ  ความผิดปกติภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ  ภาวะเศร้าหลังการสูญเสีย อาการซึมเศร้าจากโรคอื่นหรือการใช้ยาบางชนิด  โรคเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์  โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก  ระบบภูมิคุ้มกันทางานผิดปกติ  การใช้ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบางชนิด  เส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน  การใช้ยาลักษณะที่ผิด  ฮอร์โมนทางานผิดปกติ  โรคพิษสุราเรื้อรัง
  • 7. 7 การรักษาโรคซึมเศร้าที่ใช้กันทั่วไป  ใช้ยาต้านเศร้า  การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความเครียดและปัญหาต่างๆ ในการ พัฒนาตนเอง และการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น  การรักษาด้วยไฟฟ้า มักจะใช้กับผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายสูง หรือใช้ยาแล้วไม่ได้ผล (ข้อสังเกต การักษาด้วยไฟฟ้าเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันในต่างประเทศ องค์กรช่วยเหลือตนเองบางองค์กรเชื่อ ว่าการักษาด้วยวิธีนี้อาจทาให้สมองเสื่อมก่อนเวลาอันควร ในประเทศไทยมีสองรูปแบบคือทาภายใต้ภาวะ สลบ และแบบที่ไม่ใช้ยาสลบ แพทย์จะขอความยินยอมจากผู้ป่วยหรือญาติก่อนที่จะใช้วิธีนี้บาบัดรักษา) โรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder หรือ Manic-Depressive Disorder) ข้อเท็จจริงพื้นฐาน โรคอารมณ์สองขั้วเป็นโรคจิตเวชที่มีอาการเวียนเป็นวงจร ผู้ป่วยจะมีอาการป่วยสลับเวียนกัน ระหว่าง ครื้นเครงกระตือรือร้นเกินปกติ (Mania) และซึมเศร้า ซึ่งจะมีผลเสียต่อชีวิตของผู้ป่วยเอง และครอบครัวเป็นอย่าง มาก ตามสถิติพบว่า 1-2% จากประชากรทั้งหมดป่วยเป็นโรคอารมณ์สองขั้ว แต่กว่าจะได้รับการวินิจฉัยอย่างถูกต้อง มักเป็นมานานกว่าสิบปีไปแล้ว อาการ ช่วงแมเนีย ช่วงซึมเศร้า อารมณ์  ตื่นเต้นครื้นเครงมากเกินไป หงุดหงิด  อารมณ์เศร้า ร้องไห้โดยไม่ ทราบสาเหตุ ความคิด  ดื้อดึง ไม่รับฟังใคร  ความคิดไม่ต่อเนื่อง สมาธิไม่ดี  คิดเกินจริง สาคัญตนเองผิด และมั่นใจในตนเองมากเกินไป  หมดหวังจนตรอก และรู้สึก ผิด  คิดช้า ลังเล  ท้อแท้ มองโลกในแง่ร้าย  มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายสูง พฤติกรรม  ช่างพูด พูดเร็วมาก  พูดเสียงดัง อาจหาญ  ใช้จ่ายอย่างเมามัน  หุนหันพลันแล่น มักจะ ตัดสินใจอย่างไม่ฉลาดทาง ธุรกิจ  หมดความสนใจในหลายๆ สิ่ง  เฉื่อยชา ไม่อยากสุงสิงกับใคร ร่างกาย  นอนน้อย  มีความต้องการทางเพศสูง  เจริญอาหารแต่น้าหนักลดลง  นอนไม่หลับหรือนอนมาก เกินไป  ความต้องการทางเพศลดลง  เบื่ออาหารหรืออยากกิน อาหารมาก  รู้สึกเหนื่อยตลอดเวลา
  • 8. 8 การดาเนินโรค การรักษา  ใช้ยา ซึ่งจะใช้ยาคุมอารมณ์หรือยากลุ่มกันชัก เพื่อคุมการแกว่งของอารมณ์เป็นหลัก เพื่อให้อารมณ์มาสู่ สภาพสมดุล  การให้การปรึกษา เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยระมัดระวังความตื่นเต้นปลอม และพฤติกรรมการใช้จ่ายอย่างเมามัน ในช่วงที่เป็นแมเนีย และช่วยแก้ไขความคิดของผู้ป่วยที่โทษตนเองในช่วงที่มีอาการซึมเศร้า ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________