SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้าในคนไทย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว นันทรัตน์ ปัญศาลา เลขที่ 46 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว นันทรัตน์ ปัญศาลา เลขที่ 46
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคซึมเศร้าในคนไทย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Depression of Thai People
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นันทรัตน์ ปัญศาลา ชั้น ม.6/11 เลขที่ 46
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันนี้มีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมากทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้
กับคนทุกเพศทุกวัย สาเหตุปัจจัยเกิดจากสภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ต่างๆ ผู้ป่วยโรค
ซึมเศร้าบางรายเสี่ยงต่อการทาร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตายสูง จากผลสารวจในปี 2557 กรมสุขภาพจิตของไทยได้คัด
กรองกลุ่มเสี่ยงจานวน 12 ล้านคน ในจานวนนี้มีแนวโน้มป่วยโรคซึมเศร้า 6 ล้านคน ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็น
โรคซึมเศร้า 5 แสนคน มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 6 แสนคน และคาดว่าคนไทยน่าจะมีภาวะซึมเศร้าถึงประมาณ 1.2
ล้านคน โรคซึมเศร้านั้นเป็นโรคที่อันตรายไม่ใช่แค่ต่อร่างกายตนเอง แต่อาจจะกระทบต่อคนรอบข้างที่ห่วงใย
กระทบต่อหน้าที่การงาน ชีวิต ดังนั้นจึงไม่ควรมองข้าม หากรู้จักโรคซึมเศร้า รู้อาการของโรค วิธีการดูแลรักษา ซึ่ง
จะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและคนรอบข้าง ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้จัดทาจึงทาโครงงานเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้แก่ผู้
ที่เข้าศึกษาได้เข้าใจโรคซึมเศร้า ห่างไกลจากโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา
ความรู้ได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อการศึกษาข้อมูลของโรคซึมเศร้า
2. เพื่อผู้ที่ศึกษาได้เข้าใจข้อมูลอย่างถูกต้อง
3. เพื่อสามารถนาความรู้ที่ได้ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
3
2. รูปแบบการนาเสนอที่ถูกต้อง
3. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคซึมเศร้า เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกเศร้า สิ้นหวัง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรือ
รู้สึกว่าตนด้อยค่า แม้ความรู้สึกและอารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว แต่อาการของภาวะซึมเศร้า
นั้นมีความรุนแรงและยาวนานกว่ามากจนถึงขั้นส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วย
โรคซึมเศร้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major Depression) เป็นอาการซึมเศร้าอย่างที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตการทางานหรือ
การเรียน รวมไปถึงการนอนหลับและการกินอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอย่างรุนแรง
2. โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent Depressive Disorder) แม้จะมีอาการและความรุนแรงของอาการน้อยกว่า แต่
ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้จะคงอยู่กับผู้ป่วยยาวนานกว่ามาก เป็นเวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็น
โรคซึมเศร้าเรื้อรังก็อาจมีบางช่วงเวลาที่ต้องเผชิญภาวะซึมเศร้าชนิดรุนแรงร่วมด้วย
สาเหตุของ โรคซึมเศร้า
 การทางานของสมอง โรคซึมเศร้าอาจมีสาเหตุหนึ่งมาจากการทางานของสมองที่ผิดปกติ เนื่องจากสารสื่อ
ประสาทในสมอง (neurotransmitters) ที่ไม่สมดุลกัน โดยมีปริมาณมากหรือน้อยเกินไป ซึ่งสาเหตุการเกิดโรค
ซึมเศร้านั้นซับซ้อนมากกว่าความผิดปกติของสารเคมีในสมอง โดยสันนิษฐานว่าเป็นการเชื่อมต่อ การ
เจริญเติบโตของเซลล์ประสาท และการทางานของวงจรประสาทที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าด้วย อีกทั้ง
ปัจจัยด้านอื่นร่วม เช่น พันธุกรรม ลักษณะนิสัย การเผชิญเหตุการณ์ตึงเครียดหรือมีอาการเจ็บป่วย เป็นต้น
 พันธุกรรม พันธุกรรมที่ทาหน้าที่คอยควบคุมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและสมอง อาจถ่ายทอดภาวะซึมเศร้าจาก
รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ การทางานของพันธุกรรมที่ผิดแปลกไป จึงทาให้ชีววิทยาในร่างกายเปลี่ยนไป ซึ่ง
นาไปสู่ภาวะไม่เสถียรทางอารมณ์หรือพัฒนาไปเป็นภาวะซึมเศร้าได้ในที่สุด ทั้งนี้ การที่มีบรรพบุรุษเป็นโรค
ซึมเศร้าแล้ว ไม่จาเป็นต้องทาให้รุ่นลูกหลานเป็นโรคซึมเศร้าไปด้วยเสมอไป จะต้องประกอบกับปัจจัยข้ออื่น ๆ
ด้วย
 บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย อีกหนึ่งปัจจัยที่มีส่วนสาคัญและเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าก็คือลักษณะนิสัยเฉพาะตัว
โดยนักจิตวิทยาชี้ว่าทัศนคติและมุมมองต่อโลกจะส่งผลต่อความรู้สึกของเราเอง ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่ผู้ที่มี
ความมั่นใจในตัวเองต่า เกิดความวิตกกังวลง่าย ชื่นชอบความสมบูรณ์แบบ อ่อนไหวต่อการวิจารณ์ และชอบ
ตาหนิตัวเอง จะมีแนวโน้มเกิดภาวะซึมเศร้าได้ง่ายกว่า
 เหตุการณ์ตึงเครียดในชีวิต เนื่องจากความสามารถในการรับมือกับปัญหาและความสูญเสียของแต่ละคนที่ไม่
เท่ากัน โรคซึมเศร้าในหลายรายจึงเกิดขึ้นจากการเผชิญกับเหตุการณ์ในชีวิตที่ตึงเครียดหรืออยู่ในสภาวะย่าแย่
เช่น ความเศร้าจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก การตกงาน ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเผชิญความรุนแรง
หรือถูกคุกคามทางเพศ หรือแม้แต่เหตุการณ์ในด้านดีอย่างการเริ่มต้นงานใหม่ การสาเร็จการศึกษา การแต่งงาน
ก็สร้างความตึงเครียดและนาไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้เช่นกัน โดยเฉพาะหากมีความเสี่ยงด้านพันธุกรรมที่เป็น
4
ตัวกาหนดลักษณะนิสัยในทางอ่อนไหวต่อสิ่งกระทบ ความเครียด สิ้นหวัง และความเศร้าจากการสูญเสียด้วย
แล้วก็ยิ่งง่ายที่จะพัฒนาไปสู่การมีภาวะซึมเศร้า
 อาการเจ็บป่วย โรคที่รุนแรงและเรื้อรังสามารถทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างอาการซึมเศร้าตามมา โรคที่รู้จัก
กันดีว่าส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าคือภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด์ (Hypothyroidism) ซึ่งผู้ป่วยจะมีระดับฮอร์โมน
ไทรอยด์ต่าเกิน จนทาให้เหนื่อยล้าและเข้าสู่ภาวะซึมเศร้าได้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคหัวใจกว่าครึ่งที่เคยป่วย
โรคหัวใจกล่าวว่าตนเคยมีอาการซึมเศร้า โดยจะส่งผลให้ผู้ป่วยทาให้ฟื้นตัวช้า มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและ
หลอดเลือดได้ในอนาคต และมีความเสี่ยงสูงที่จะเสียชีวิตภายใน 6 เดือน และยังมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอีกมากมาย
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า เช่น โรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ หลอดเลือดในสมองแตก เอสแอลอี เอดส์ มะเร็ง
เบาหวาน เป็นต้น
 การใช้ยารักษาโรคบางชนิด ผลข้างเคียงจากยาบางชนิดอาจทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะซึมเศร้าได้ เช่น ยาจาพวกส
เตียรอยด์ ยาบาร์บิทูเรต (Barbiturates) ยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepines) ยารักษาสิวไอโซเทรทิโนอิน
(Isotretinoin) ยาระงับปวดจาพวกมอร์ฟีน ยาต้านไวรัสบางชนิด เหล่านี้ล้วนเพิ่มความเสี่ยงภาวะซึมเศร้า ดังนั้น
หากมีอาการของภาวะซึมเศร้าหลังการใช้ยาใด ๆ ผู้ป่วยต้องบอกแพทย์เพื่อพิจารณาเปลี่ยนยาตัวใหม่หรือลด
ปริมาณเพื่อกาจัดผลข้างเคียงที่ทาให้เกิดภาวะซึมเศร้า
อาการของโรคซึมเศร้า
ด้านจิตใจและอารมณ์
 รู้สึกหดหู่ เศร้า ตลอดเวลา
 รู้สึกสิ้นหวัง ทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองไม่ไหว
 มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกว่าตนไร้ค่า โดดเดี่ยว และมีความรู้สึกผิด
 ขาดสมาธิในการจดจ่อ จดจา หรือการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ
 กระสับกระส่าย หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย
 มีความคิดที่จะฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย ทาร้ายตัวเอง
ด้านร่างกาย
 เคลื่อนไหวหรือพูดจาช้ากว่าปกติ
 รู้สึกอ่อนล้า เอื่อยเฉื่อย เหนื่อยตลอดเวลา
 อาจรู้สึกอยากอาหารหรือไม่อยากอาหารก็ได้ น้าหนักเพิ่มขึ้นหรือลดลง
 ท้องผูก
 นอนหลับยาก ตื่นเช้า หรือนอนนานกว่าปกติ
 เจ็บปวดตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ
 รอบเดือนผิดปกติ
 ความสนใจเรื่องเพศลดลง
5
ด้านพฤติกรรม
 ทางานได้ไม่ดีหรือไม่มีประสิทธิภาพเท่าเดิม
 เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมน้อยลง แยกตัว ไม่ค่อยออกไปพบปะสังสรรค์กับเพื่อน
 หมดความสนใจในกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่เคยสนใจ
 อาจหันไปพึ่งสารเสพติด
การรักษาโรคซึมเศร้า
การรักษาด้วยการใช้ยา
 ยากลุ่มต้านเศร้า (Antidepressants) ยาในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีหลากหลายชนิด พบอาการข้างเคียงลดลงและมี
จานวนผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาเพิ่มมากขึ้น โดยแพทย์และผู้ป่วยสามารถทางานร่วมกันในการเลือกยา
ให้เหมาะสม
 ยากลุ่มอื่นๆ (Other Medications) ยาในกลุ่มอื่นๆ ที่นามาใช้ร่วมเพื่อการรักษาภาวะซึมเศร้าในบางราย เช่น ยาก
ลุ่มคลายกังวล ยากลุ่มสมาธิ ยากลุ่มควบคุมอารมณ์หรือยากลุ่มต้านโรคจิต โดยแพทย์จะพิจารณาจากความ
เหมาะสมร่วมกับการตอบสนองต่อการรักษาที่ผ่านมา
การทาจิตบาบัด
จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนหรือเรียนรู้วิธีที่ต่างออกไปในการจัดการปัญหาหรือความท้าทายต่างๆ
ที่เข้ามาในชีวิต รวมถึงปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองต่อสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ อันเป็นผลมาจากภาวะซึมเศร้า เช่น จิต
บาบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Psychotherapy) การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและ
พฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy) ตัวอย่าง CBT ที่ใช้ในการรักษาคือ Rational Emotive Behavior
Therapy (REBT) and Dialectical Behavior Therapy (DBT)
การรักษาแบบอื่น
 การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy or ECT) Transcranial Magnetic Stimulation (TMS)
 การกระตุ้นเส้นประสาทเวกัส Vagus Nerve Stimulation
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3. ศึกษารวบรวมข้อมูล
4. จัดทารายงาน
5. นาเสนอครูผู้สอน
6. ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
6
1. อินเทอร์เน็ต
2. คอมพิวเตอร์
3. โทรศัพท์
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้ที่ได้เข้าศึกษาข้อมูลจะได้รู้จักโรคซึมเศร้ามากขึ้น สามารถนาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อย่างเช่น การ
สารวจตนเอง หรือคนรอบข้างว่ามีอาการเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ และรู้วิธีการรักษาของโรคซึมเศร้า
อย่างถูกต้อง
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 https://www.pobpad.com/
 https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/treatment-of-depression

More Related Content

What's hot

ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6noeiinoii
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6noeiinoii
 
แบบสำรวจ ปานธิดา
แบบสำรวจ ปานธิดาแบบสำรวจ ปานธิดา
แบบสำรวจ ปานธิดาpantida44027
 
ปานธิดาแบบสำรวจ
ปานธิดาแบบสำรวจปานธิดาแบบสำรวจ
ปานธิดาแบบสำรวจpantida44027
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Darunee Ongmin
 
ใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตรา
ใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตราใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตรา
ใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตราNuties Electron
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติขอ1
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติขอ1ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติขอ1
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติขอ1แยมมํ โก๊ะ'
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติSirikanya Pota
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Nutdanai Sudjaroen
 
งานแบบสำรวจและประวัติ
งานแบบสำรวจและประวัติงานแบบสำรวจและประวัติ
งานแบบสำรวจและประวัติNopphadon
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6piyaporn08
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขNattanichaYRC
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
แบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของแบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของTanapon Wannachai
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6noeiinoii
 
ใบงานสำรวจตัวเองงานคอม
ใบงานสำรวจตัวเองงานคอมใบงานสำรวจตัวเองงานคอม
ใบงานสำรวจตัวเองงานคอมTanadol Intachan
 

What's hot (19)

ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
แบบสำรวจ ปานธิดา
แบบสำรวจ ปานธิดาแบบสำรวจ ปานธิดา
แบบสำรวจ ปานธิดา
 
ปานธิดาแบบสำรวจ
ปานธิดาแบบสำรวจปานธิดาแบบสำรวจ
ปานธิดาแบบสำรวจ
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
4
44
4
 
ใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตรา
ใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตราใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตรา
ใบงานสำรวจตัวเอง วิจิตรา
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติขอ1
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติขอ1ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติขอ1
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติขอ1
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
123456
123456123456
123456
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
งานแบบสำรวจและประวัติ
งานแบบสำรวจและประวัติงานแบบสำรวจและประวัติ
งานแบบสำรวจและประวัติ
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
แบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของแบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของ
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตัวเองงานคอม
ใบงานสำรวจตัวเองงานคอมใบงานสำรวจตัวเองงานคอม
ใบงานสำรวจตัวเองงานคอม
 

Similar to Depression of thai people

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานwaew jittranut
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 

Similar to Depression of thai people (20)

Depression
DepressionDepression
Depression
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 

Depression of thai people

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้าในคนไทย ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นันทรัตน์ ปัญศาลา เลขที่ 46 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว นันทรัตน์ ปัญศาลา เลขที่ 46 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคซึมเศร้าในคนไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Depression of Thai People ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นันทรัตน์ ปัญศาลา ชั้น ม.6/11 เลขที่ 46 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันนี้มีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมากทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ กับคนทุกเพศทุกวัย สาเหตุปัจจัยเกิดจากสภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ต่างๆ ผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าบางรายเสี่ยงต่อการทาร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตายสูง จากผลสารวจในปี 2557 กรมสุขภาพจิตของไทยได้คัด กรองกลุ่มเสี่ยงจานวน 12 ล้านคน ในจานวนนี้มีแนวโน้มป่วยโรคซึมเศร้า 6 ล้านคน ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็น โรคซึมเศร้า 5 แสนคน มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 6 แสนคน และคาดว่าคนไทยน่าจะมีภาวะซึมเศร้าถึงประมาณ 1.2 ล้านคน โรคซึมเศร้านั้นเป็นโรคที่อันตรายไม่ใช่แค่ต่อร่างกายตนเอง แต่อาจจะกระทบต่อคนรอบข้างที่ห่วงใย กระทบต่อหน้าที่การงาน ชีวิต ดังนั้นจึงไม่ควรมองข้าม หากรู้จักโรคซึมเศร้า รู้อาการของโรค วิธีการดูแลรักษา ซึ่ง จะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและคนรอบข้าง ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้จัดทาจึงทาโครงงานเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้แก่ผู้ ที่เข้าศึกษาได้เข้าใจโรคซึมเศร้า ห่างไกลจากโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา ความรู้ได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อการศึกษาข้อมูลของโรคซึมเศร้า 2. เพื่อผู้ที่ศึกษาได้เข้าใจข้อมูลอย่างถูกต้อง 3. เพื่อสามารถนาความรู้ที่ได้ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
  • 3. 3 2. รูปแบบการนาเสนอที่ถูกต้อง 3. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคซึมเศร้า เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกเศร้า สิ้นหวัง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรือ รู้สึกว่าตนด้อยค่า แม้ความรู้สึกและอารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว แต่อาการของภาวะซึมเศร้า นั้นมีความรุนแรงและยาวนานกว่ามากจนถึงขั้นส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วย โรคซึมเศร้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major Depression) เป็นอาการซึมเศร้าอย่างที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตการทางานหรือ การเรียน รวมไปถึงการนอนหลับและการกินอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอย่างรุนแรง 2. โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent Depressive Disorder) แม้จะมีอาการและความรุนแรงของอาการน้อยกว่า แต่ ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้จะคงอยู่กับผู้ป่วยยาวนานกว่ามาก เป็นเวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็น โรคซึมเศร้าเรื้อรังก็อาจมีบางช่วงเวลาที่ต้องเผชิญภาวะซึมเศร้าชนิดรุนแรงร่วมด้วย สาเหตุของ โรคซึมเศร้า  การทางานของสมอง โรคซึมเศร้าอาจมีสาเหตุหนึ่งมาจากการทางานของสมองที่ผิดปกติ เนื่องจากสารสื่อ ประสาทในสมอง (neurotransmitters) ที่ไม่สมดุลกัน โดยมีปริมาณมากหรือน้อยเกินไป ซึ่งสาเหตุการเกิดโรค ซึมเศร้านั้นซับซ้อนมากกว่าความผิดปกติของสารเคมีในสมอง โดยสันนิษฐานว่าเป็นการเชื่อมต่อ การ เจริญเติบโตของเซลล์ประสาท และการทางานของวงจรประสาทที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าด้วย อีกทั้ง ปัจจัยด้านอื่นร่วม เช่น พันธุกรรม ลักษณะนิสัย การเผชิญเหตุการณ์ตึงเครียดหรือมีอาการเจ็บป่วย เป็นต้น  พันธุกรรม พันธุกรรมที่ทาหน้าที่คอยควบคุมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและสมอง อาจถ่ายทอดภาวะซึมเศร้าจาก รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ การทางานของพันธุกรรมที่ผิดแปลกไป จึงทาให้ชีววิทยาในร่างกายเปลี่ยนไป ซึ่ง นาไปสู่ภาวะไม่เสถียรทางอารมณ์หรือพัฒนาไปเป็นภาวะซึมเศร้าได้ในที่สุด ทั้งนี้ การที่มีบรรพบุรุษเป็นโรค ซึมเศร้าแล้ว ไม่จาเป็นต้องทาให้รุ่นลูกหลานเป็นโรคซึมเศร้าไปด้วยเสมอไป จะต้องประกอบกับปัจจัยข้ออื่น ๆ ด้วย  บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย อีกหนึ่งปัจจัยที่มีส่วนสาคัญและเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าก็คือลักษณะนิสัยเฉพาะตัว โดยนักจิตวิทยาชี้ว่าทัศนคติและมุมมองต่อโลกจะส่งผลต่อความรู้สึกของเราเอง ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่ผู้ที่มี ความมั่นใจในตัวเองต่า เกิดความวิตกกังวลง่าย ชื่นชอบความสมบูรณ์แบบ อ่อนไหวต่อการวิจารณ์ และชอบ ตาหนิตัวเอง จะมีแนวโน้มเกิดภาวะซึมเศร้าได้ง่ายกว่า  เหตุการณ์ตึงเครียดในชีวิต เนื่องจากความสามารถในการรับมือกับปัญหาและความสูญเสียของแต่ละคนที่ไม่ เท่ากัน โรคซึมเศร้าในหลายรายจึงเกิดขึ้นจากการเผชิญกับเหตุการณ์ในชีวิตที่ตึงเครียดหรืออยู่ในสภาวะย่าแย่ เช่น ความเศร้าจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก การตกงาน ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเผชิญความรุนแรง หรือถูกคุกคามทางเพศ หรือแม้แต่เหตุการณ์ในด้านดีอย่างการเริ่มต้นงานใหม่ การสาเร็จการศึกษา การแต่งงาน ก็สร้างความตึงเครียดและนาไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้เช่นกัน โดยเฉพาะหากมีความเสี่ยงด้านพันธุกรรมที่เป็น
  • 4. 4 ตัวกาหนดลักษณะนิสัยในทางอ่อนไหวต่อสิ่งกระทบ ความเครียด สิ้นหวัง และความเศร้าจากการสูญเสียด้วย แล้วก็ยิ่งง่ายที่จะพัฒนาไปสู่การมีภาวะซึมเศร้า  อาการเจ็บป่วย โรคที่รุนแรงและเรื้อรังสามารถทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างอาการซึมเศร้าตามมา โรคที่รู้จัก กันดีว่าส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าคือภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด์ (Hypothyroidism) ซึ่งผู้ป่วยจะมีระดับฮอร์โมน ไทรอยด์ต่าเกิน จนทาให้เหนื่อยล้าและเข้าสู่ภาวะซึมเศร้าได้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคหัวใจกว่าครึ่งที่เคยป่วย โรคหัวใจกล่าวว่าตนเคยมีอาการซึมเศร้า โดยจะส่งผลให้ผู้ป่วยทาให้ฟื้นตัวช้า มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและ หลอดเลือดได้ในอนาคต และมีความเสี่ยงสูงที่จะเสียชีวิตภายใน 6 เดือน และยังมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอีกมากมาย เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า เช่น โรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ หลอดเลือดในสมองแตก เอสแอลอี เอดส์ มะเร็ง เบาหวาน เป็นต้น  การใช้ยารักษาโรคบางชนิด ผลข้างเคียงจากยาบางชนิดอาจทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะซึมเศร้าได้ เช่น ยาจาพวกส เตียรอยด์ ยาบาร์บิทูเรต (Barbiturates) ยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepines) ยารักษาสิวไอโซเทรทิโนอิน (Isotretinoin) ยาระงับปวดจาพวกมอร์ฟีน ยาต้านไวรัสบางชนิด เหล่านี้ล้วนเพิ่มความเสี่ยงภาวะซึมเศร้า ดังนั้น หากมีอาการของภาวะซึมเศร้าหลังการใช้ยาใด ๆ ผู้ป่วยต้องบอกแพทย์เพื่อพิจารณาเปลี่ยนยาตัวใหม่หรือลด ปริมาณเพื่อกาจัดผลข้างเคียงที่ทาให้เกิดภาวะซึมเศร้า อาการของโรคซึมเศร้า ด้านจิตใจและอารมณ์  รู้สึกหดหู่ เศร้า ตลอดเวลา  รู้สึกสิ้นหวัง ทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองไม่ไหว  มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกว่าตนไร้ค่า โดดเดี่ยว และมีความรู้สึกผิด  ขาดสมาธิในการจดจ่อ จดจา หรือการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ  กระสับกระส่าย หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย  มีความคิดที่จะฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย ทาร้ายตัวเอง ด้านร่างกาย  เคลื่อนไหวหรือพูดจาช้ากว่าปกติ  รู้สึกอ่อนล้า เอื่อยเฉื่อย เหนื่อยตลอดเวลา  อาจรู้สึกอยากอาหารหรือไม่อยากอาหารก็ได้ น้าหนักเพิ่มขึ้นหรือลดลง  ท้องผูก  นอนหลับยาก ตื่นเช้า หรือนอนนานกว่าปกติ  เจ็บปวดตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ  รอบเดือนผิดปกติ  ความสนใจเรื่องเพศลดลง
  • 5. 5 ด้านพฤติกรรม  ทางานได้ไม่ดีหรือไม่มีประสิทธิภาพเท่าเดิม  เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมน้อยลง แยกตัว ไม่ค่อยออกไปพบปะสังสรรค์กับเพื่อน  หมดความสนใจในกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่เคยสนใจ  อาจหันไปพึ่งสารเสพติด การรักษาโรคซึมเศร้า การรักษาด้วยการใช้ยา  ยากลุ่มต้านเศร้า (Antidepressants) ยาในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีหลากหลายชนิด พบอาการข้างเคียงลดลงและมี จานวนผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาเพิ่มมากขึ้น โดยแพทย์และผู้ป่วยสามารถทางานร่วมกันในการเลือกยา ให้เหมาะสม  ยากลุ่มอื่นๆ (Other Medications) ยาในกลุ่มอื่นๆ ที่นามาใช้ร่วมเพื่อการรักษาภาวะซึมเศร้าในบางราย เช่น ยาก ลุ่มคลายกังวล ยากลุ่มสมาธิ ยากลุ่มควบคุมอารมณ์หรือยากลุ่มต้านโรคจิต โดยแพทย์จะพิจารณาจากความ เหมาะสมร่วมกับการตอบสนองต่อการรักษาที่ผ่านมา การทาจิตบาบัด จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนหรือเรียนรู้วิธีที่ต่างออกไปในการจัดการปัญหาหรือความท้าทายต่างๆ ที่เข้ามาในชีวิต รวมถึงปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองต่อสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ อันเป็นผลมาจากภาวะซึมเศร้า เช่น จิต บาบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Psychotherapy) การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและ พฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy) ตัวอย่าง CBT ที่ใช้ในการรักษาคือ Rational Emotive Behavior Therapy (REBT) and Dialectical Behavior Therapy (DBT) การรักษาแบบอื่น  การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy or ECT) Transcranial Magnetic Stimulation (TMS)  การกระตุ้นเส้นประสาทเวกัส Vagus Nerve Stimulation วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3. ศึกษารวบรวมข้อมูล 4. จัดทารายงาน 5. นาเสนอครูผู้สอน 6. ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
  • 6. 6 1. อินเทอร์เน็ต 2. คอมพิวเตอร์ 3. โทรศัพท์ งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้ที่ได้เข้าศึกษาข้อมูลจะได้รู้จักโรคซึมเศร้ามากขึ้น สามารถนาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อย่างเช่น การ สารวจตนเอง หรือคนรอบข้างว่ามีอาการเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ และรู้วิธีการรักษาของโรคซึมเศร้า อย่างถูกต้อง สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  https://www.pobpad.com/  https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/treatment-of-depression