SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ 2 โรคนี้แตกต่างกันยังไง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว อุรชา วัฒนะพงษ์ เลขที่ 26 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2
นางสาว ปราณปริยาสุขเสริฐ เลขที่29 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว อุรชา วัฒนะพงษ์ เลขที่ 26 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2
นางสาว ปราณปริยา สุขเสริฐ เลขที่29 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ 2 โรคนี้แตกต่างกันยังไง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
What is the difference between depression and bipolar disorder?
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา educational media
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อุรชา วัฒนะพงษ์
นางสาว ปราณปริยา สุขเสริฐ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
นาวาอากาศตรี นายแพทย์บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า
การฆ่าตัวตายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตทั่วโลก จานวนกว่า 8 แสนคนต่อปี คาดว่าจะเพิ่มเป็น 1.5 ล้านคน ในปี
2563 โดยมีคนพยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าคนที่ฆ่าตัวตายสาเร็จ 20 เท่าตัว สาหรับประเทศไทย
คนไทยฆ่าตัวตายสาเร็จเฉลี่ย 1 คน ในทุกๆ 2 ชั่วโมง ผู้ชายมีอัตราการฆ่าตัวตายสูงกว่าผู้หญิง
เกิดจากหลายสาเหตุประกอบกัน และ โรคซึมเศร้า ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดการฆ่าตัวตาย ซึ่ง โรคซึมเศร้า
เป็ น ภั ย เงีย บ ที่ คุก ค า ม สุข ภ า พ ข องป ร ะช า ช น ส่ งผล ก ร ะท บ ต่ อป ร ะช า ก ร ทั่ วโล ก
โดยองค์การอนามัยโลกได้ประมาณการว่า ประชากรมาก กว่า 300 ล้านคนเป็นโรคซึมเศร้า
หากไม่ได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้องนานเป็นเดือน เรื้อรังเป็นปี จะกลับเป็นซ้าได้บ่อย
หากอาการซึมเศร้ารุนแรง อาจจบชีวิตด้วยการฆ่าตัวตายได้มากกว่าคนทั่วไปถึง 20 เท่า สาหรับประเทศไทย
พบผู้ป่วยโรคนี้ 1.5 ล้านคน
นพ.พงศ์เกษม ไข่มุกด์ รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต แถลงข่างเนื่องในวันไบโพลาร์โลก (World Bipolar Day)
ซึ่งตรงกับทุกวันที่ 30 มีนาคมของทุกปี ว่าโรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้ว(Bipolar Disorder)
3
เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบได้บ่อยในทั่วโลกประมาณร้อยละ1-2 ขณะที่องค์การอนามัยโลก
ระบุว่า โรคไบโพลาร์เป็นโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียเนื่องจากการเจ็บป่วยหรือความพิการ อันดับที่6 ของโลก
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม
โรคไบโพลาร์สามารถรักษาและกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติเหมือนโรคเรื้อรังทั่วไปที่ต้องได้รับกาลังใจและความเ
ข้ า ใ จ จ า ก ค น ร อ บ ข้ า ง ร ว ม ทั้ ง ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า ที่ ต่ อ เ นื่ อ ง
แต่หากไม่ได้รับการรักษาหรือติดตามดูแลอย่างเหมาะสมจะสามารถกลับมาเป็นซ้าได้ถึงร้อยละ 80-90
สาหรับกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่มีญาติเป็นโรคซึมเศร้าหรือโรคไบโพลาร์ มีวงจรการกิน การนอนที่ผิดปกติ
มีเหตุการณพลิกผันของชีวิตตลอดจนมีการใช้สารเสพติด
น พ . ศิ ริ ศั ก ดิ์ ธฺ ติ ดิ ล ก รั ต น์ ผู้ อ า น ว ย ก า ร โร ง พ ย า บ า ล ศี ธั ญ ญ า ก ล่ า ว ว่ า
ปัจ จุบันสถิติคนไข้ใน ของโร งพยา บาลศรีธัญญ าลดลง โดยไบโพลาร์ จัดอยู่ในอันดับ 2
ของกลุ่มจิตเวชที่เข้ามารับการศึกษารองจากโรคจิตเภท ส่วนอัตราผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆโดยปี 2558
มีผู้ป่วยโรคจิตเวชอยู่ที่117,000ราย ซึ่งโรคไบโพลาร์พบมากเป็นอันดับที่3 มีจานวนผู้ป่วยถึง 9,100 ราย
รองจากโรคจิตเภทและโรคซึมเศร้า
จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าในสังคมปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์อยู่มากมาย
และมีอั ตรา กา รค่ าตัวตา ยสูงมา ก ดังที่เรา ได้เห็ นข่ าวในอิน เท อร์เน็ ต วิท ยุ โทร ทัศ น์
ว่า มี ผู้ ค น ฆ่ า ตั วต า ย เนื่ อ งด้ วย เห ตุ ซึ ม เศ ร้า ทั้ งด า ร า นั ก ร้อ ง ห มู่ ค น ดั งม า ก ม า ย
แต่หลายคนก็ยังคงไม่เข้าใจในภาวะซึมเศร้าว่าเหตุใดจึงทาให้ผู้คนที่ฆ่าตัวตายนั้นเลือกที่จะจบชีวิตลงด้วยสาเห
ตุ นี้ อี ก ทั้ ง จ ะ มี ห ล า ย ค น ที่ ม า ต่ อ ว่ า ด้ ว ย ถ้ อ ย ค า ไม่ สุ ภ า พ ถึ งผู้ ป่ ว ย ด้ า น นี้
ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ด้ ผ่ า น เข้ า ม า เห็ น แ ล ะ รู้ สึ ก แ ย่ อ า ก า ร ก็ จ ะ แ ย่ ล ง ไ ป อี ก
รวมไปถึงมีคนนาเอาคาว่าไบโพลาร์มาเป็นคาด่า เรื่องราวเหล่านี้เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริงในสังคมแบบนี้
ที่ เ ร า อ า จ จ ะ ม อ ง ว่ า ไ ก ล ตั ว แ ต่ แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว ไ ม่ ใ ช่ เ ล ย
ผู้ ป่ ว ย โ ร ค ซึ ม เศ ร้ า แ ล ะ โร ค ไบ โ พ ล า ร์ ใน ป ร ะ เท ศ เร า นั้ น มี ม า ก ขึ้ น ทุ ก วั น
วันหนึ่งอาจจะเป็นเราหรือคนรอบข้างเราก็ได้ ซึ่งทางคณะผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในจุดนี้
เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ ค น ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ถึ ง โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้ า แ ล ะ โ ร ค ไ บ โ พ ล า ร์
เข้ า ใจ ว่า ส อ งโร ค นี้ นั้ น ต่ า งกั น แ ม้ จ ะมี อ า ก า ร ค ล้ า ย กั น แ ต่ ก็ แ ค่ ส่ วน ห นึ่ งเท่ า นั้ น
สังเกตตัวเองและช่วยสังเกตคนรอบข้างเพื่อที่การฆ่าตัวตายด้วยเหตุนี้จะสามารถลงไปได้บ้าง
ห รื อ ถ้ า ไม่ อ ย่ า ง น้ อ ย ก็ จ ะ ท า ให้ เร า ได้ เข้ า ใจ โร ค ซึ ม เศ ร้ า แ ล ะ โร ค ไบ โพ ล า ร์
สามาร ถร ะมัดร ะวังตนเองไม่ให้ไปทา อะไร ที่จ ะทา ให้ผู้ป่วยนั้นรู้ สึกแย่และอาการ แย่ลง
รวมทั้งการที่ทราบแนวทางการรักษาจะทาให้เราสามารถแนะนาผู้อื่นหรือเข้าใจวิธีการปฏิบัติต่อผู้ป่วยเหล่านี้ไ
ด้อีกด้วย ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงเลือกที่จะโครงงานเรื่องนี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์
4
1.เพื่อให้บุคคลที่สนใจอ่านแล้วสามารถแยกโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์ได้
2.เพื่อศึกษาอาการของโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์
3.เพื่อศึกษาแนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์
ขอบเขตโครงงาน
อธิบายว่าโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์คืออะไร อาการที่สังเกตได้ พร้อมทั้งบอกแนวทางในการรักษา
หลักการและทฤษฎี
โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder) คือ โรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารเซโรโทนิน
(Serotonin) ในสมองมีปริมาณลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึกท้อแท้
หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนานกับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง
ส่งผลกระทบให้ความสามารถในการทางานลดลง
และอาจตกอยู่ในภาวะรู้สึกว่าตัวเองไร้ค่าจนอยากฆ่าตัวตายได้
แต่จุดเด่นของโรคซึมเศร้าอยู่ที่อารมณ์เบื่อเศร้าจะค่อนข้างชัดเจน
อาการโรคซึมเศร้าที่ควรสังเกต
1. รู้สึกกลุ้มใจ ซึมเศร้าทุกวัน และเกือบจะทั้งวัน
2. รู้สึกเบื่อกับทุกอย่างรอบตัวเป็นประจา
3. เบื่ออาหาร
4. นอนไม่หลับ
5. กระวนกระวาย หรือมีอาการซึม ๆ เนือย ๆ ไร้เรี่ยวแรง
6. รู้สึกอ่อนเพลียง่าย เหนื่อยง่าย เหมือนร่างกายอ่อนแอลง
7. รู้สึกไร้ค่า ไร้ความสามารถ
8. มีอาการใจลอย ไม่มีสมาธิ
9. เบื่อชีวิต มีบางช่วงที่รู้สึกอยากตาย
ถ้ามีความรู้สึกเบื่อเศร้าอย่างอาการข้างต้นติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์
ร่วมกับอาการกินไม่ได้นอนไม่หลับจนผอมลง และเกิดความรู้สึกอยากตายมากขึ้น
ลักษณะนี้อาจเข้าข่ายป่วยเป็นโรคซึมเศร้า
แนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้า
5
โรคซึมเศร้านี้หากได้รับการรักษาผู้ที่เป็นจะอาการดีขึ้นมาก อาการซึมเศร้า ร้องไห้บ่อยๆ
หรือรู้สึกท้อแท้หมดกาลังใจ
จะกลับมาดีขึ้นจนผู้ที่เป็นบางคนบอกว่าไม่เข้าใจว่าตอนนั้นทาใมจึงรู้สึกเศร้าไปได้ถึงขนาดนั้น
ข้อแตกต่างระหว่างโรคนี้กับโรคจิตที่สาคัญประการหนึ่งคือ
ในโรคซึมเศร้าถ้าได้รับการรักษาจนดีแล้วก็จะกลับมาเป็นปกติเหมือนเดิม
ขณะที่ในโรคจิตนั้นแม้จะรักษาได้ผลดีผู้ที่เป็นก็มักจะยังคงมีอาการหลงเหลืออยู่บ้าง
ไม่สามารถทาอะไรได้เต็มที่เหมือนแต่ก่อน ยิ่งหากมารับการรักษาเร็วเท่าไรก็ยิ่งจะอาการดีขึ้นเร็วเท่านั้น
ยิ่งป่วยมานานก็ยิ่งจะรักษายาก
การรักษาที่สาคัญในโรคนี้คือการรักษาด้วยยาแก้เศร้า โดยเฉพาะในรายที่อาการมาก
ส่วนในรายที่มีอาการไม่มาก แพทย์อาจรักษาด้วยการช่วยเหลือชี้แนะการมองปัญหาต่างๆ ในมุมมองใหม่
แนวทางในการปรับตัว หรือการหาสิ่งที่ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลายความทุกข์ใจลง
ร่วมกับการให้ยาแก้เศร้าหรือยาคลายกังวลเสริมในช่วงที่เห็นว่าจาเป็น
การรักษาด้วยยาแก้เศร้า
ยาแก้เศร้ามีส่วนช่วยในการรักษาโรคนี้ แม้ผู้ที่ป่วยบางคนอาจรู้สึกว่าความทุกข์ใจหรือปัญหาต่างๆ
ที่เกิดขึ้นกับตนเองนั้นเป็นเรื่องของจิตใจ แต่ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า
ถ้าเป็นโรคซึมเศร้าแล้วแสดงว่าได้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในร่างกายของคนเราจนทาให้เกิดมีอาการต่างๆ
เช่น น้าหนักลด อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ร่วมอีกหลายๆ อาการ ไม่ใช่มีแต่เพียงอารมณ์เศร้าอย่างเดียว
ซึ่งยาจะมีส่วนช่วยในการบาบัดอาการต่างๆ เหล่านี้ อีกทั้งยังสามารถทาให้อารมณ์ซึมเศร้า
ความวิตกกังวลใจทุเลาลงได้ด้วย จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า 10
คนหากได้รับการรักษาด้วยยาแก้เศร้าอาการจะดีขึ้นจนหายถึง 8-9 คน
ในขณะที่หากไม่รับการรักษานั้นอาการจะดีเองขึ้นเพียง 2-3 คนเท่านั้น (เฉพาะในรายที่อาการไม่รุนแรง
หากอาการรุนแรงอาจจะกล่าวได้ว่ายากที่จะหายเอง)
โรคไบโพลาร์ (Bipolar) ผู้ป่วยโรคนี้จะมีอารมณ์สองขั้ว คือ ภาวะแมเนีย (Mania)
และภาวะซึมเศร้า กล่าวคือ ไบโพลาร์จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งสนุกสนานครื้นเครง รื่นเริง
สลับกับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง เราจึงเรียกไบโพลาร์ว่าโรคเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย
บ้างก็เรียกโรคอารมณ์แปรปรวนนั่นเอง
อาการของภาวะซึมเศร้าในโรคไบโพลาร์ที่ควรสังเกต
1. มักเกิดอาการซึมเศร้าครั้งแรกในช่วงวัยรุ่นหรือวัยเรียน อีกทั้งยังมีอาการเป็นพัก ๆ
เดี๋ยวเศร้าเดี๋ยวปกติวนไปมาหลายครั้ง
2. ความคิดช้าลง พฤติกรรมต่าง ๆ ก็ช้าลงเช่นกัน
6
3. นอนมากขึ้น
4. เจริญอาหารมากขึ้น
5. รู้สึกโดดเดี่ยว ขาดกาลังใจ เหมือนกลายเป็นคนไร้ค่า
6. มองโลกในแง่ร้ายไปหมด รู้สึกว่าโลกไม่สดใส ไม่มีอะไรน่าสนุก ไม่ร่าเริง
7. มีอาการวิตกกังวลอย่างรุนแรง
8. ตกอยู่ในสภาวะหลงผิด อารมณ์ผิดปกติจนอาจควบคุมความประพฤติของตัวเองไม่ได้
9. กลายเป็นคนมีปัญหากับสังคม รู้สึกว่าคนรอบข้างไม่เป็นมิตร ไม่สนใจตน
10. มีประวัติติดยาเสพติด หรือเคยกระทาในสิ่งที่ผิดกฎหมาย
11. มีประวัติโรคไบโพลาร์หรือโรคซึมเศร้าในครอบครัว
จริง ๆ แล้วภาวะโรคซึมเศร้ายังมีอาการขาดสมาธิ หมกมุ่นอยู่แต่เรื่องเดิม ๆ
ไม่อยากสังสรรค์หรือออกสังคม ร้องไห้ง่ายโดยไม่มีสาเหตุ รวมทั้งอาจมีอาการปวดที่ไม่ทราบสาเหตุร่วมด้วย
ทว่าอาการข้างต้นเป็นอาการของภาวะซึมเศร้าในโรคไบโพลาร์ที่มีความแตกต่างจากอาการโรคซึมเศร้า(Major
depressive disorder) นั่นเอง
ดังนั้นสามารถใช้ข้อสังเกตของอาการเหล่านี้แยกโรคไบโพลาร์กับโรคซึมเศร้าได้คร่าว ๆ เลย
นอกจากนี้จุดเด่นที่ทาให้โรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์มีความแตกต่างกันก็คือ
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะรู้สึกเบื่อหน่ายและเศร้าแทบจะตลอดเวลา
ทว่าผู้ป่วยโรคไบโพลาร์อาจมีภาวะซึมเศร้าสลับกับอารมณ์ร่าเริงเกินปกติ
บุคลิกของผู้ป่วยโรคไบโพลาร์จะสลับสับเปลี่ยนกันเหมือนเป็นคนละคนอีกด้วยล่ะ
แนวทางในการรักษาโรคไบโพลาร์
ในปัจจุบันเชื่อว่าโรคไบโพล่าร์เกิดจากการทางานที่ผิดปกติของสมองโดยมีสารสื่อนาประสาท
ที่ไม่สมดุลย์คือมีสารซีโรโทนิน (serotonin) น้อยเกินไปและสารนอร์เอปิเนฟริน (epinephrine)
มากเกินไปดังนั้นเราจึงสามารถรักษาโรคนี้ได้ด้วยยา ยาที่ใช้รักษาโรคไบโพล่าร์ได้แก่ยาในกลุ่มยา
ควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต (antipsychotics), และยาแก้โรคซึมเศร้า
(antidepressants)
1. การรักษาในปัจจุบันนี้ ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางาน ได้อย่างปกติ
เรียกชื่อกลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัว
ที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษา ช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมา
เป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้น จะเป็นการรักษาต่อเนื่องอาจ
ต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจ
มาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
7
2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้
ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกัน ได้ทั้งอาการ
mania และอาการซึมเศร้า ยาอื่นๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine,
gabapentin และ topiramate
3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine
และziprasidone
4. สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง
ดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง
พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือ
เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง
5. ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้องกันผู้ป่วยในช่วงก่อน โรค
กาเริบรุนแรงเพราะว่ามีโอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน มาก ที่สุด คือ
15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยอาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า “ไฮเปอร์แอคทีฟ”ต่อมา
บางช่วงของการเจ็บป่วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็นมากๆอาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งสอบถามผู้รู้
และสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน คณะผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล คณะผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่างงาน คณะผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน คณะผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ คณะผู้จัดทา
8
6 การทาเอกสารรายงาน คณะผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน คณะผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน คณะผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.สามารถแยกข้อแตกต่างระหว่างโรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ได้
2.ทราบถึงอาการของโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์
3.ทราบแนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์
สถานที่ดาเนินการ
1.โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.โรงพยาบาล
3.หอพักสุนีย์
4.หอพักโชคชัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
Kapook. (2558).โรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ 2 โรคนี้แตกต่างกันยังไงนะ. สืบค้นเมื่อ 13กันยายน
60. เข้าถึงได้จากhttps://health.kapook.com/view123670.html
ศ.นพ.มาโนชหล่อตระกูล.(2558). โรคซึมเศร้าโดยละเอียด. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 60. เข้าถึงได้จาก
http://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017
มติชนออนไลน์. (2559). ทึ่ง! ตัวเลขผู้ป่วยไบโพลาร์เสี่ยงฆ่าตัวตาย 1ใน 5 ราย. สืบค้นเมื่อ 17
มกราคม 61. เข้าถึงได้จากhttps://www.matichon.co.th/news/87974
วอยซ์.(2560). คนไทยป่วยซึมเศร้า1.5ล้านคน รักษาถูกต้องหายได้. สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 61.
เข้าถึงได้จากhttps://www.voicetv.co.th/read/509299
9

More Related Content

What's hot

หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...Jofe'Bossniks Arucha
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว Aonfanjj
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.docจุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.docSutthinee Sudchai
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมpungpet
 
กฤติยา ใหญ่สูง
กฤติยา ใหญ่สูงกฤติยา ใหญ่สูง
กฤติยา ใหญ่สูงMoeyly Love Gumbie
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1Sutthinee Sudchai
 

What's hot (16)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
At22
At22At22
At22
 
Crisis Communication (March 15, 2019)
Crisis Communication (March 15, 2019)Crisis Communication (March 15, 2019)
Crisis Communication (March 15, 2019)
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
P pcom
P pcomP pcom
P pcom
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.docจุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
K3
K3K3
K3
 
กฤติยา ใหญ่สูง
กฤติยา ใหญ่สูงกฤติยา ใหญ่สูง
กฤติยา ใหญ่สูง
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
 

Similar to 2560 project

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2
จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2
จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2oryornoi
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)45606
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 

Similar to 2560 project (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2
จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2
จดหมายข่าว อย.น้อย เล่ม 2
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
W.111
W.111W.111
W.111
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ 2 โรคนี้แตกต่างกันยังไง ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อุรชา วัฒนะพงษ์ เลขที่ 26 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2 นางสาว ปราณปริยาสุขเสริฐ เลขที่29 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว อุรชา วัฒนะพงษ์ เลขที่ 26 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2 นางสาว ปราณปริยา สุขเสริฐ เลขที่29 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ 2 โรคนี้แตกต่างกันยังไง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) What is the difference between depression and bipolar disorder? ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา educational media ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อุรชา วัฒนะพงษ์ นางสาว ปราณปริยา สุขเสริฐ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน นาวาอากาศตรี นายแพทย์บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า การฆ่าตัวตายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตทั่วโลก จานวนกว่า 8 แสนคนต่อปี คาดว่าจะเพิ่มเป็น 1.5 ล้านคน ในปี 2563 โดยมีคนพยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าคนที่ฆ่าตัวตายสาเร็จ 20 เท่าตัว สาหรับประเทศไทย คนไทยฆ่าตัวตายสาเร็จเฉลี่ย 1 คน ในทุกๆ 2 ชั่วโมง ผู้ชายมีอัตราการฆ่าตัวตายสูงกว่าผู้หญิง เกิดจากหลายสาเหตุประกอบกัน และ โรคซึมเศร้า ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดการฆ่าตัวตาย ซึ่ง โรคซึมเศร้า เป็ น ภั ย เงีย บ ที่ คุก ค า ม สุข ภ า พ ข องป ร ะช า ช น ส่ งผล ก ร ะท บ ต่ อป ร ะช า ก ร ทั่ วโล ก โดยองค์การอนามัยโลกได้ประมาณการว่า ประชากรมาก กว่า 300 ล้านคนเป็นโรคซึมเศร้า หากไม่ได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้องนานเป็นเดือน เรื้อรังเป็นปี จะกลับเป็นซ้าได้บ่อย หากอาการซึมเศร้ารุนแรง อาจจบชีวิตด้วยการฆ่าตัวตายได้มากกว่าคนทั่วไปถึง 20 เท่า สาหรับประเทศไทย พบผู้ป่วยโรคนี้ 1.5 ล้านคน นพ.พงศ์เกษม ไข่มุกด์ รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต แถลงข่างเนื่องในวันไบโพลาร์โลก (World Bipolar Day) ซึ่งตรงกับทุกวันที่ 30 มีนาคมของทุกปี ว่าโรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้ว(Bipolar Disorder)
  • 3. 3 เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบได้บ่อยในทั่วโลกประมาณร้อยละ1-2 ขณะที่องค์การอนามัยโลก ระบุว่า โรคไบโพลาร์เป็นโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียเนื่องจากการเจ็บป่วยหรือความพิการ อันดับที่6 ของโลก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม โรคไบโพลาร์สามารถรักษาและกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติเหมือนโรคเรื้อรังทั่วไปที่ต้องได้รับกาลังใจและความเ ข้ า ใ จ จ า ก ค น ร อ บ ข้ า ง ร ว ม ทั้ ง ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า ที่ ต่ อ เ นื่ อ ง แต่หากไม่ได้รับการรักษาหรือติดตามดูแลอย่างเหมาะสมจะสามารถกลับมาเป็นซ้าได้ถึงร้อยละ 80-90 สาหรับกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่มีญาติเป็นโรคซึมเศร้าหรือโรคไบโพลาร์ มีวงจรการกิน การนอนที่ผิดปกติ มีเหตุการณพลิกผันของชีวิตตลอดจนมีการใช้สารเสพติด น พ . ศิ ริ ศั ก ดิ์ ธฺ ติ ดิ ล ก รั ต น์ ผู้ อ า น ว ย ก า ร โร ง พ ย า บ า ล ศี ธั ญ ญ า ก ล่ า ว ว่ า ปัจ จุบันสถิติคนไข้ใน ของโร งพยา บาลศรีธัญญ าลดลง โดยไบโพลาร์ จัดอยู่ในอันดับ 2 ของกลุ่มจิตเวชที่เข้ามารับการศึกษารองจากโรคจิตเภท ส่วนอัตราผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆโดยปี 2558 มีผู้ป่วยโรคจิตเวชอยู่ที่117,000ราย ซึ่งโรคไบโพลาร์พบมากเป็นอันดับที่3 มีจานวนผู้ป่วยถึง 9,100 ราย รองจากโรคจิตเภทและโรคซึมเศร้า จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าในสังคมปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์อยู่มากมาย และมีอั ตรา กา รค่ าตัวตา ยสูงมา ก ดังที่เรา ได้เห็ นข่ าวในอิน เท อร์เน็ ต วิท ยุ โทร ทัศ น์ ว่า มี ผู้ ค น ฆ่ า ตั วต า ย เนื่ อ งด้ วย เห ตุ ซึ ม เศ ร้า ทั้ งด า ร า นั ก ร้อ ง ห มู่ ค น ดั งม า ก ม า ย แต่หลายคนก็ยังคงไม่เข้าใจในภาวะซึมเศร้าว่าเหตุใดจึงทาให้ผู้คนที่ฆ่าตัวตายนั้นเลือกที่จะจบชีวิตลงด้วยสาเห ตุ นี้ อี ก ทั้ ง จ ะ มี ห ล า ย ค น ที่ ม า ต่ อ ว่ า ด้ ว ย ถ้ อ ย ค า ไม่ สุ ภ า พ ถึ งผู้ ป่ ว ย ด้ า น นี้ ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ด้ ผ่ า น เข้ า ม า เห็ น แ ล ะ รู้ สึ ก แ ย่ อ า ก า ร ก็ จ ะ แ ย่ ล ง ไ ป อี ก รวมไปถึงมีคนนาเอาคาว่าไบโพลาร์มาเป็นคาด่า เรื่องราวเหล่านี้เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริงในสังคมแบบนี้ ที่ เ ร า อ า จ จ ะ ม อ ง ว่ า ไ ก ล ตั ว แ ต่ แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว ไ ม่ ใ ช่ เ ล ย ผู้ ป่ ว ย โ ร ค ซึ ม เศ ร้ า แ ล ะ โร ค ไบ โ พ ล า ร์ ใน ป ร ะ เท ศ เร า นั้ น มี ม า ก ขึ้ น ทุ ก วั น วันหนึ่งอาจจะเป็นเราหรือคนรอบข้างเราก็ได้ ซึ่งทางคณะผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในจุดนี้ เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ ค น ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ถึ ง โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้ า แ ล ะ โ ร ค ไ บ โ พ ล า ร์ เข้ า ใจ ว่า ส อ งโร ค นี้ นั้ น ต่ า งกั น แ ม้ จ ะมี อ า ก า ร ค ล้ า ย กั น แ ต่ ก็ แ ค่ ส่ วน ห นึ่ งเท่ า นั้ น สังเกตตัวเองและช่วยสังเกตคนรอบข้างเพื่อที่การฆ่าตัวตายด้วยเหตุนี้จะสามารถลงไปได้บ้าง ห รื อ ถ้ า ไม่ อ ย่ า ง น้ อ ย ก็ จ ะ ท า ให้ เร า ได้ เข้ า ใจ โร ค ซึ ม เศ ร้ า แ ล ะ โร ค ไบ โพ ล า ร์ สามาร ถร ะมัดร ะวังตนเองไม่ให้ไปทา อะไร ที่จ ะทา ให้ผู้ป่วยนั้นรู้ สึกแย่และอาการ แย่ลง รวมทั้งการที่ทราบแนวทางการรักษาจะทาให้เราสามารถแนะนาผู้อื่นหรือเข้าใจวิธีการปฏิบัติต่อผู้ป่วยเหล่านี้ไ ด้อีกด้วย ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงเลือกที่จะโครงงานเรื่องนี้ขึ้นมา วัตถุประสงค์
  • 4. 4 1.เพื่อให้บุคคลที่สนใจอ่านแล้วสามารถแยกโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์ได้ 2.เพื่อศึกษาอาการของโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์ 3.เพื่อศึกษาแนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์ ขอบเขตโครงงาน อธิบายว่าโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์คืออะไร อาการที่สังเกตได้ พร้อมทั้งบอกแนวทางในการรักษา หลักการและทฤษฎี โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder) คือ โรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารเซโรโทนิน (Serotonin) ในสมองมีปริมาณลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึกท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนานกับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้ความสามารถในการทางานลดลง และอาจตกอยู่ในภาวะรู้สึกว่าตัวเองไร้ค่าจนอยากฆ่าตัวตายได้ แต่จุดเด่นของโรคซึมเศร้าอยู่ที่อารมณ์เบื่อเศร้าจะค่อนข้างชัดเจน อาการโรคซึมเศร้าที่ควรสังเกต 1. รู้สึกกลุ้มใจ ซึมเศร้าทุกวัน และเกือบจะทั้งวัน 2. รู้สึกเบื่อกับทุกอย่างรอบตัวเป็นประจา 3. เบื่ออาหาร 4. นอนไม่หลับ 5. กระวนกระวาย หรือมีอาการซึม ๆ เนือย ๆ ไร้เรี่ยวแรง 6. รู้สึกอ่อนเพลียง่าย เหนื่อยง่าย เหมือนร่างกายอ่อนแอลง 7. รู้สึกไร้ค่า ไร้ความสามารถ 8. มีอาการใจลอย ไม่มีสมาธิ 9. เบื่อชีวิต มีบางช่วงที่รู้สึกอยากตาย ถ้ามีความรู้สึกเบื่อเศร้าอย่างอาการข้างต้นติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ร่วมกับอาการกินไม่ได้นอนไม่หลับจนผอมลง และเกิดความรู้สึกอยากตายมากขึ้น ลักษณะนี้อาจเข้าข่ายป่วยเป็นโรคซึมเศร้า แนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้า
  • 5. 5 โรคซึมเศร้านี้หากได้รับการรักษาผู้ที่เป็นจะอาการดีขึ้นมาก อาการซึมเศร้า ร้องไห้บ่อยๆ หรือรู้สึกท้อแท้หมดกาลังใจ จะกลับมาดีขึ้นจนผู้ที่เป็นบางคนบอกว่าไม่เข้าใจว่าตอนนั้นทาใมจึงรู้สึกเศร้าไปได้ถึงขนาดนั้น ข้อแตกต่างระหว่างโรคนี้กับโรคจิตที่สาคัญประการหนึ่งคือ ในโรคซึมเศร้าถ้าได้รับการรักษาจนดีแล้วก็จะกลับมาเป็นปกติเหมือนเดิม ขณะที่ในโรคจิตนั้นแม้จะรักษาได้ผลดีผู้ที่เป็นก็มักจะยังคงมีอาการหลงเหลืออยู่บ้าง ไม่สามารถทาอะไรได้เต็มที่เหมือนแต่ก่อน ยิ่งหากมารับการรักษาเร็วเท่าไรก็ยิ่งจะอาการดีขึ้นเร็วเท่านั้น ยิ่งป่วยมานานก็ยิ่งจะรักษายาก การรักษาที่สาคัญในโรคนี้คือการรักษาด้วยยาแก้เศร้า โดยเฉพาะในรายที่อาการมาก ส่วนในรายที่มีอาการไม่มาก แพทย์อาจรักษาด้วยการช่วยเหลือชี้แนะการมองปัญหาต่างๆ ในมุมมองใหม่ แนวทางในการปรับตัว หรือการหาสิ่งที่ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลายความทุกข์ใจลง ร่วมกับการให้ยาแก้เศร้าหรือยาคลายกังวลเสริมในช่วงที่เห็นว่าจาเป็น การรักษาด้วยยาแก้เศร้า ยาแก้เศร้ามีส่วนช่วยในการรักษาโรคนี้ แม้ผู้ที่ป่วยบางคนอาจรู้สึกว่าความทุกข์ใจหรือปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเองนั้นเป็นเรื่องของจิตใจ แต่ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า ถ้าเป็นโรคซึมเศร้าแล้วแสดงว่าได้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในร่างกายของคนเราจนทาให้เกิดมีอาการต่างๆ เช่น น้าหนักลด อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ร่วมอีกหลายๆ อาการ ไม่ใช่มีแต่เพียงอารมณ์เศร้าอย่างเดียว ซึ่งยาจะมีส่วนช่วยในการบาบัดอาการต่างๆ เหล่านี้ อีกทั้งยังสามารถทาให้อารมณ์ซึมเศร้า ความวิตกกังวลใจทุเลาลงได้ด้วย จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า 10 คนหากได้รับการรักษาด้วยยาแก้เศร้าอาการจะดีขึ้นจนหายถึง 8-9 คน ในขณะที่หากไม่รับการรักษานั้นอาการจะดีเองขึ้นเพียง 2-3 คนเท่านั้น (เฉพาะในรายที่อาการไม่รุนแรง หากอาการรุนแรงอาจจะกล่าวได้ว่ายากที่จะหายเอง) โรคไบโพลาร์ (Bipolar) ผู้ป่วยโรคนี้จะมีอารมณ์สองขั้ว คือ ภาวะแมเนีย (Mania) และภาวะซึมเศร้า กล่าวคือ ไบโพลาร์จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งสนุกสนานครื้นเครง รื่นเริง สลับกับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง เราจึงเรียกไบโพลาร์ว่าโรคเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย บ้างก็เรียกโรคอารมณ์แปรปรวนนั่นเอง อาการของภาวะซึมเศร้าในโรคไบโพลาร์ที่ควรสังเกต 1. มักเกิดอาการซึมเศร้าครั้งแรกในช่วงวัยรุ่นหรือวัยเรียน อีกทั้งยังมีอาการเป็นพัก ๆ เดี๋ยวเศร้าเดี๋ยวปกติวนไปมาหลายครั้ง 2. ความคิดช้าลง พฤติกรรมต่าง ๆ ก็ช้าลงเช่นกัน
  • 6. 6 3. นอนมากขึ้น 4. เจริญอาหารมากขึ้น 5. รู้สึกโดดเดี่ยว ขาดกาลังใจ เหมือนกลายเป็นคนไร้ค่า 6. มองโลกในแง่ร้ายไปหมด รู้สึกว่าโลกไม่สดใส ไม่มีอะไรน่าสนุก ไม่ร่าเริง 7. มีอาการวิตกกังวลอย่างรุนแรง 8. ตกอยู่ในสภาวะหลงผิด อารมณ์ผิดปกติจนอาจควบคุมความประพฤติของตัวเองไม่ได้ 9. กลายเป็นคนมีปัญหากับสังคม รู้สึกว่าคนรอบข้างไม่เป็นมิตร ไม่สนใจตน 10. มีประวัติติดยาเสพติด หรือเคยกระทาในสิ่งที่ผิดกฎหมาย 11. มีประวัติโรคไบโพลาร์หรือโรคซึมเศร้าในครอบครัว จริง ๆ แล้วภาวะโรคซึมเศร้ายังมีอาการขาดสมาธิ หมกมุ่นอยู่แต่เรื่องเดิม ๆ ไม่อยากสังสรรค์หรือออกสังคม ร้องไห้ง่ายโดยไม่มีสาเหตุ รวมทั้งอาจมีอาการปวดที่ไม่ทราบสาเหตุร่วมด้วย ทว่าอาการข้างต้นเป็นอาการของภาวะซึมเศร้าในโรคไบโพลาร์ที่มีความแตกต่างจากอาการโรคซึมเศร้า(Major depressive disorder) นั่นเอง ดังนั้นสามารถใช้ข้อสังเกตของอาการเหล่านี้แยกโรคไบโพลาร์กับโรคซึมเศร้าได้คร่าว ๆ เลย นอกจากนี้จุดเด่นที่ทาให้โรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์มีความแตกต่างกันก็คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะรู้สึกเบื่อหน่ายและเศร้าแทบจะตลอดเวลา ทว่าผู้ป่วยโรคไบโพลาร์อาจมีภาวะซึมเศร้าสลับกับอารมณ์ร่าเริงเกินปกติ บุคลิกของผู้ป่วยโรคไบโพลาร์จะสลับสับเปลี่ยนกันเหมือนเป็นคนละคนอีกด้วยล่ะ แนวทางในการรักษาโรคไบโพลาร์ ในปัจจุบันเชื่อว่าโรคไบโพล่าร์เกิดจากการทางานที่ผิดปกติของสมองโดยมีสารสื่อนาประสาท ที่ไม่สมดุลย์คือมีสารซีโรโทนิน (serotonin) น้อยเกินไปและสารนอร์เอปิเนฟริน (epinephrine) มากเกินไปดังนั้นเราจึงสามารถรักษาโรคนี้ได้ด้วยยา ยาที่ใช้รักษาโรคไบโพล่าร์ได้แก่ยาในกลุ่มยา ควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต (antipsychotics), และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants) 1. การรักษาในปัจจุบันนี้ ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางาน ได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่มยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัว ที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษา ช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมา เป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้น จะเป็นการรักษาต่อเนื่องอาจ ต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจ มาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
  • 7. 7 2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกัน ได้ทั้งอาการ mania และอาการซึมเศร้า ยาอื่นๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate 3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และziprasidone 4. สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง ดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง 5. ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้องกันผู้ป่วยในช่วงก่อน โรค กาเริบรุนแรงเพราะว่ามีโอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน มาก ที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยอาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า “ไฮเปอร์แอคทีฟ”ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็นมากๆอาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งสอบถามผู้รู้ และสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน คณะผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล คณะผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่างงาน คณะผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน คณะผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ คณะผู้จัดทา
  • 8. 8 6 การทาเอกสารรายงาน คณะผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน คณะผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน คณะผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.สามารถแยกข้อแตกต่างระหว่างโรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ได้ 2.ทราบถึงอาการของโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์ 3.ทราบแนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้าและโรคไบโพลาร์ สถานที่ดาเนินการ 1.โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.โรงพยาบาล 3.หอพักสุนีย์ 4.หอพักโชคชัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง Kapook. (2558).โรคซึมเศร้ากับโรคไบโพลาร์ 2 โรคนี้แตกต่างกันยังไงนะ. สืบค้นเมื่อ 13กันยายน 60. เข้าถึงได้จากhttps://health.kapook.com/view123670.html ศ.นพ.มาโนชหล่อตระกูล.(2558). โรคซึมเศร้าโดยละเอียด. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 60. เข้าถึงได้จาก http://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017 มติชนออนไลน์. (2559). ทึ่ง! ตัวเลขผู้ป่วยไบโพลาร์เสี่ยงฆ่าตัวตาย 1ใน 5 ราย. สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 61. เข้าถึงได้จากhttps://www.matichon.co.th/news/87974 วอยซ์.(2560). คนไทยป่วยซึมเศร้า1.5ล้านคน รักษาถูกต้องหายได้. สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 61. เข้าถึงได้จากhttps://www.voicetv.co.th/read/509299
  • 9. 9