SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
การสังเคราะหดวยแสง
                                      Photosynthesis
             Autotrophs สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้

             PhotoAutotrophs สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้โดยใช้แสง
             !        รงควัตถุ(Pigment) สารที่ดูดกลืนแสง เราเห็นสีอะไรแสดงว่าสารนั้นไม่ดูดกลืนสีนั้นจึงสะท้อน

             เข้าตาเรา บางชนิดใช้นําแสงที่ดูดกลืนมาสังเคราะห์ด้วยแสง

                   สิ่งมีชีวิต    Chlorophyll            Carotenoid       Phycobillin          Bacterio
                                                                                             chlorophyll

                                  a b c d
                      พืช         + +                        +
                 สาหรายเขียว     + +                        +
Eukaryote




                   สาหรายสี
                    นำตาล        +        +                 +
                 สาหรายสีแดง     +             +            +                 +
                 สาหรายสีเขียว
                  แกมนำเงิน      +                          +                 +
                   แบคทีเรีย
Prokaryote




                   บางชนิด                                   +                                     +

             Chlorophyll สีเขียว ดูดกลืน น้ําเงิน แดง มี Mg,N เป็นองค์ประกอบ


             Carotenoid สมชว. ทุกชนิดที่สังเคราะห์แสงได้ต้องมี เป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ และ ป้องกัน

             อันตรายจากแสง ดูดกลืนแสงด้วย มี 2 ชนิดคือ Carotene สีแดง แะล Xanthophyll สีเหลือง


             Phycobillin แบ่งเป็น Phycocyanin สีน้ําเงิน และ Phycoerythrin สีแดง


             Bacteriochlorophyll พบในแบคทีเรียสังเคราะห์แสงได้ มีหลายสี
การดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่างกัน ทําให้ สมชว. แต่ละชนิดสังเคราะห์แสงได้ดีที่ช่วง

ความยาวคลื่นต่างกัน




                      Absorption Spectrum ของ Chlorophyll แต่ละชนิด




         ACTION Spectrum ช่วงคลื่นที่พืชสังเคราะห์แสงได้มากที่สุดคือสีม่วง และ แดง
โครงสร้างในการสังเคราะห์แสง



ในเซลลพืชและ Eukaryote รงควัตถุจะอยูใน
organelle ที่มีเยื่อหุมสองชั้นเรียกวา chloroplast




                  เยื่อหุ้มสองชั้นคือ Inter,Outer membrane


               Thylakoid
                 lumen
               Thylakoid                                 Stroma lamella
                  lumen
               Thylakoid               Granum

                  lumen
               Thylakoid                                                  Stroma
                  lumen                                            ของเหลวภายในประกอบด้วย
                                                                     Enzyme,70s ribosome
                                                                          RNA,DNA




                                                      Chloroplast
การสังเคราะห์แสง
                          6CO2+12H2O -> C6H12O6 + 6O2 + 6H2O



                     H 2O                                                CO2




                                      ADP        NADP+
                                      + Pi

                                                            Calvin
                                                            cycle
                                   ATP        NADPH




                      o2                                               Sugar




                                                            CO2 Fixation
     Light Reaction                                         (Dark Reaction)
เกิดที่เยื่อหุ้ม Thylakoid
                                                       เกิดที่ Stroma นํา NADPH และ ATP มา
นําแสงมาสร้าง NADPH และ ATP
                                                       เปลี่ยน CO2 ให้กลายเป็นน้ําตาลใน
เกิดการถ่ายทอด e-
                                                       กระบวนการ Calvin cycle ซึี่งมีสามขั้น
!        เป็นวัฎจักร ได้ ATP
                                                       ตอนคือ
!        ไม่เป็นวัฎจักร ได้ ATP และ NADPH              !        Carboxylation
                                                       !        Reduction
                                                       !        Regeneration
Light Reaction
บนเยื่อ Thylakoid ประกอบด้วย
๏ระบบแสง PSII ,PSI ซึ่งประกอบด้วยรงควัตถุอยู่บนโปรตีน กลุ่มรงควัตถุเรียกว่า antenna
โดยตรงกลางของ Reaction center คือ Chlorophyll a โดย Chlorophyll a ที่ PSI จะรับพลังงานได้
ดีที่ 700nm. เรียก P700 และ Chlorophyll a ที่ PSII รับพลังงานได้ดีที่ 680nm. เรียก P680

๏Cytochrome(Cyt b6 และ Cyt f)
๏ATP Synthase,
๏Plastoquinone(PQ),PLASTOCYNIN(PC) และFerridoxin(FD)


!      การครั้งหนึ่ง ณ เยื่อหุ้ม Thylakoid เมื่อมีแสงส่องลงมาพลังงานแสงจะถูกรงควัตถุดูดกลืนและ
ส่งไปให้ Reaction center(Chlorophyll A)เมื่อถึงค่าหนึ่งจะเกิดการกระตุ้น e-ให้เปลี่ยนจาก ground

stateไปเป็น Excited state เรียกว่า Photo-oxidation


การถ่ายทอด e- แบบเป็นวัฎจักร เกิดอะไรขึ้นเติมเอาเอง :P



                                                                        Fd
                                  Cyt                      PS I
                     Pq                                                               ATP
    PS II
                                                                                     SYNT
                                                                                         HASE




                                               Pc
                                                                     NADPH
                                                                     REDUC
                                                                             TASE




การเดินทางของ e-

เริ่มที่ PSII -> Pq -> Cyt -> Pc -> Pq ->PSI
ระหว่งถ่ายทอดพลังงานจะนําไปปั้ม H+ จาก stromaเข้ามาใน Lumen(ช่องว่างใน Thylakoid) เมื่อมี
H+ มากจึงเกิดการแพร่ออก(Proton gradient หรือ Proton motive force) ผ่าน ATP synthaseเริ่มที่

เกิดการสร้าง ATP แบบ Photophosphorylation (ADP+Pi->ATP)
*น้ําใน Lumen จะแตกตัวดังสมการ H2O -> 1/2 O2 + 2H+ + 2e- เพื่อนํา e- ไปแทนที่ e- ที่หลุดมาจาก

PSII โดยมี Mn และ Cl เข้าช่วย เรียกว่า Photolysis


PSI -> Fd -> NADPH Reductase ได้ NADPH ตามสมการ NADP+ + H+ +2e- -> NADPH
การถ่ายทอด e- แบบเป็นวัฎจักร

       เนื่องจากใน Calvin cycle ต้องการ ATP มากกว่า NADPH จึงเกิดอะไรขึ้นเติมเอาเอง



                                                                     Fd
                                Cyt                      PS I
                        Pq                                                             ATP
  PS II
                                                                                      SYNT
                                                                                          HASE




                                             Pc
                                                                  NADPH
                                                                  REDUC
                                                                          TASE




การเดินทางของ e-

PSI -> Fd -> Cyt -> Pc กลับมาที่-> PSI
ระหว่างนั้นจะเกิดการดึง H+ จาก stromaเข้ามาใน Lumen เช่นเคย และเมื่อ H+ มากจึงเกิดการแพร่

ออกผ่าน ATP synthaseเริ่มที่ เกิดการสร้าง ATP แบบ Photophosphorylation (ADP+Pi->ATP)


สรุป

            Content                      Non-cyclic                        Cyclic

 ระบบแสงที่เกี่ยวข้อง                    PSII , PSI                          PSI

 ที่มาของ e- ที่มาแทนที่                    H 2O                             PSII

 เมื่อเกิดPhoto-oxidation

 Photolysis                              เกิด ได้ O2                        ไม่เกิด

 สารพลังงานสูงที่ได้                 ATP และ NADPH                           ATP

 ตัวรับ e- ตัวสุดท้าย                     NADP+                              ไม่มี
Carbon fixation / Dark Reaction
           การนํา ATP และ NADPH มา reduce(ให ้ e-)กับ CO2 ให้กลายเป็นน้ําตาล




                        3CO2               6 (3 -PGA)              6 ATP
                                  c   o       (C3)
                              bis
                         Ru                                               6 ADP
             3RuBP
   3 ADP
              (C5)

                                                                 6 (1,3 -PGA)
3 ATP                                                                (C3)

        5 (PGAL)
           (C3)
                                                                               6 NADPH




                                          6 (PGAL)
                                             (C3)
                                                                      6 NADP+

                      (PGAL)                                      6 Pi
                        (C3)
                                                     Starch, Sucrose, Glucose
Carboxylation
นํา RuBP(Ribulose bisphosphate) มาทําปฏิกริยากับ CO2 โดยใช้ Rubisco เป็น enzyme เร่ง
ปฏิกริยา ได้ 3 -PGA(Phosphoglycerate)


Reductase
นํา 3 -PGA(Phosphoglycerate) มาทําปฏิกริยากับ ATP ได้ 1,3 -PGA (Phosphoglycerate)
และนํามา reduce ด้วย NADPH ได้ G3P(Glyceraldehyde-3-phosphate) หรือ
PGAL(Phosphoglyceroldehyde)


*PGAL 1 โมเลกุลจะออกจาก Calvin cycle ไปรวมกับ PGAL ตัวอื่นกลายเป็นคาร์โบไฮเดรตขนาก
ใหญ่เช่น แป้ง เก็บไว้ใน Vacuole


 Regeneration
PGAL ที่เหลือจะทําปฏิกริยากับ ATP ได้เป็น RuBP


ข้อสังเกต
➡ Calvin cycle 1 รอบสมบูรณ์ได้ 1 PGAL(C3) ออกมา ใช้ 9 ATP และ 6 NADPH

** ดังนั้นถ้าต้องการน้ําตาล 1 โมเลกุล (C6) ต้องหมุนวัฏจักรสองรอบใช้สารเป็นสองเท่า
➡ จากสมการ 6CO2+12H2O -> C6H12O6 + 6O2 + 6H2O

!       O ในน้ําตาล(C6H12O6)มาจาก CO2 ตอน Calvin cycle
!       O ในออกซิเจน (O2) แตกตัวมาจากน้ํา


Photorespiration
•การหายใจแสง หมายถึง การใช้แก๊สออกซิเจนและคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
•ใช้ RuBP เป็นสารตั้งต้น

•ไม่มีการสร้าง ATP
•เป็นปฏิกิริยายับยั้งการสังเคราะห์แสง โดยที่มี O2 เป็น inhibitor ทําให้ไม่สามารถเกิด calvin cycle

ได้เมื่ออุณหภูมิสูง
•มีประโยชน์เมื่อพืชมี ATP สูงและต้องการใช้ให้หมด
•Organelle ที่เกี่ยวข้อง Chloroplast, Peroxisome และ Mitochondria
Photorespiration Pathway เติมเอง :P




                              Chloroplast




                              Peroxisome




                             Mitochondria
ปัญหาของพืช C3 คือ

1.ในกรณีอากาศร้อน แก๊สจะละลายในอากาศได้น้อยลง จึงตรึง CO2 ได้น้อย
2.ต้องปิดปากใบลดการคายน้ําถ้าอุณหภูมิสูงมากๆเช่นในทะเลทราย

3.เกิด Photorespiration เมื่ออุณหภูมิอากาศสูง
วิธีแก้ปัญหา
1.ตรึง CO2 2ครั้ง => พืช C4 , CAM

2.ปิดปากใบกลางวันเปิดกลางคืนที่อุณหภูมิเย็นลง => CAM
3.ใช้ PEP Carboxylase แทน Rubisco เพราะจะจับ CO2 อย่างเดียว และจับได้มีประสิทธิภาพ จึงไม่

เกิด Photorespiration และทํางานได้ดีแม้อากาศจะร้อน => พืช C4 , CAM


พืช C4
❖ พืช C4 มักเป็นพืชที่มีถิ่นกําเนิดในเขตศูนย์สูตร เช่น ข้าวโพด อ้อย และบานไม่รู้โรย

❖ มี bundle sheath cells ที่มีคลอโรพลาสต์ล้อมรอบกลุ่มท่อลําเลียง




❖ พืชพวกนี้จะมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกตรึงที่ mesophyll cell โดยมีตัวมารับ

CO2 คือ phosphoenol pyruvate (PEP) ได้เป็นสารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม (อันเป็นที่มาของชื่อ

ว่า พืช C4) คือ กรดออกซาโลเอซิติก (oxaloacetic acid) (OAA) แล้วถูกเปลี่ยนเป็น malic acid ก่อน
จะเคลื่อนที่เข้าสู่ bundle sheath cell เมื่อถึง bundle sheath cell สาร C4 จะถูกเปลี่ยนเป็นสาร C3 +
CO2 ในคลอโรพลาสต์ที่ bundle sheath cell ซึ่ง CO2 ก็จะเข้าสู่ Calvin Cycle ต่อไป ส่วนสาร C3 ก็

จะถูกนํากลับมายัง mesophyll cell เพื่อเปลี่ยนเป็น PEP สําหรับการตรึง CO2 ครั้งต่อไป ด้วยระบบ
เช่นนี้ จึงทําให้ความเข้มข้นของ CO2 บริเวณ bundle sheath cell มีความเข้มข้นสูงขึ้นกว่าบริเวณ

mesophyll ของพืช C3
พืช CAM(Crassulacean Acid Metabolism) =>กล้วยไม้ สับปะรด ว่านหางจระเข้ และ ศร
นารายณ์
✴เป็นพืชในที่แห้งแล้งจึงมีลักษณะอวบน้ํา
✴ปิดปากใบตอนกลางวัน จึงต้องตรึง CO2 กลางคืนได้ OAA เก็บในรูป Malic acid ใน Vacuole

พอกลางวันจึงเปลี่ยนกับ CO2 เข้าCalvin cycle




             Pathway ของพืช C4(Hatch-slack pathway) และ CAM เติมเอาเอง :P



Mesophyll cell                                      Night




Bundle-sheath cell                                  Day
สรุป

       ลักษณะ        C3 plant                C4 plant         CAM plant

Bundle-sheath cell   มีหรือไม่มี                มี             มีหรือไม่มี

Chloroplast ใน          ไม่มี                   มี                ไม่มี
Bundle-sheath cell

ช่วงเวลาสังเคราะห์    กลางวัน                 กลางวัน           กลางวัน
ด้วยแสง

จํานวนการตรึง CO2        1                       2                 2

enzyme ที่ใช้ตรึง    Rubisco              PEP Carboxylase   PEP Carboxylase
CO2

สารตั้งต้น            RuBP                     PEP               PEP

ผลิตภัณฑ์ที่เกิด     PGA(3C)                 OAA(4C)           OAA(4C)

ช่วงการตรึง           กลางวัน                 กลางวัน           กลางคืน

Calvin cycle cell    Mesophyll             Bundle-sheath       Mesophyll

Photorespiration         สูง                    ต่ํา              ต่ํา

More Related Content

What's hot

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Similar to การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis

การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointsupreechafkk
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์Issara Mo
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชPawida Chumpurat
 
วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช Jinnipa Taman
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์พัน พัน
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 

Similar to การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis (17)

การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืช
 
วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 

More from Pat Pataranutaporn

Biodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from Landfill
Biodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from LandfillBiodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from Landfill
Biodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from LandfillPat Pataranutaporn
 
Exploring Design & Emerging Sciences
Exploring Design & Emerging SciencesExploring Design & Emerging Sciences
Exploring Design & Emerging SciencesPat Pataranutaporn
 
Innovation + Aesthetics in Computational and Biological Era
Innovation + Aesthetics in Computational and Biological EraInnovation + Aesthetics in Computational and Biological Era
Innovation + Aesthetics in Computational and Biological EraPat Pataranutaporn
 
Technology, Science, Media, Art
Technology, Science, Media, ArtTechnology, Science, Media, Art
Technology, Science, Media, ArtPat Pataranutaporn
 
The future of Innovation is FREAK
The future of Innovation is FREAKThe future of Innovation is FREAK
The future of Innovation is FREAKPat Pataranutaporn
 
Pat's multidisciplinary projects 2015
Pat's multidisciplinary projects 2015Pat's multidisciplinary projects 2015
Pat's multidisciplinary projects 2015Pat Pataranutaporn
 
Thailand : the exotic inspiration
Thailand : the exotic inspirationThailand : the exotic inspiration
Thailand : the exotic inspirationPat Pataranutaporn
 
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version) : the new approach on ed...
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version)  : the new approach on ed...SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version)  : the new approach on ed...
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version) : the new approach on ed...Pat Pataranutaporn
 
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment place
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment placeSCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment place
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment placePat Pataranutaporn
 

More from Pat Pataranutaporn (20)

Machine of expression
Machine of expressionMachine of expression
Machine of expression
 
CODE D
CODE DCODE D
CODE D
 
Art Science Creativity
Art Science CreativityArt Science Creativity
Art Science Creativity
 
Biodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from Landfill
Biodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from LandfillBiodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from Landfill
Biodegradation of Polystyrene foam by the Microorganism from Landfill
 
Biomimetics
BiomimeticsBiomimetics
Biomimetics
 
Mission impossible
Mission impossibleMission impossible
Mission impossible
 
Exploring Design & Emerging Sciences
Exploring Design & Emerging SciencesExploring Design & Emerging Sciences
Exploring Design & Emerging Sciences
 
Hacks Health Humanity
Hacks Health HumanityHacks Health Humanity
Hacks Health Humanity
 
Coding
CodingCoding
Coding
 
Innovation + Aesthetics in Computational and Biological Era
Innovation + Aesthetics in Computational and Biological EraInnovation + Aesthetics in Computational and Biological Era
Innovation + Aesthetics in Computational and Biological Era
 
Technology, Science, Media, Art
Technology, Science, Media, ArtTechnology, Science, Media, Art
Technology, Science, Media, Art
 
The future of Innovation is FREAK
The future of Innovation is FREAKThe future of Innovation is FREAK
The future of Innovation is FREAK
 
Pat's multidisciplinary projects 2015
Pat's multidisciplinary projects 2015Pat's multidisciplinary projects 2015
Pat's multidisciplinary projects 2015
 
Mission impossible II
Mission impossible IIMission impossible II
Mission impossible II
 
Pattern
PatternPattern
Pattern
 
Thailand : the exotic inspiration
Thailand : the exotic inspirationThailand : the exotic inspiration
Thailand : the exotic inspiration
 
NGHU_1512_parallel
NGHU_1512_parallelNGHU_1512_parallel
NGHU_1512_parallel
 
Pataranutaporn_Pat_CV
Pataranutaporn_Pat_CVPataranutaporn_Pat_CV
Pataranutaporn_Pat_CV
 
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version) : the new approach on ed...
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version)  : the new approach on ed...SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version)  : the new approach on ed...
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE (Edited version) : the new approach on ed...
 
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment place
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment placeSCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment place
SCIENCE, TECHNOLOGY, ART + CULTURE : the new approach on edutainment place
 

การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis

  • 1. การสังเคราะหดวยแสง Photosynthesis Autotrophs สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้ PhotoAutotrophs สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้โดยใช้แสง ! รงควัตถุ(Pigment) สารที่ดูดกลืนแสง เราเห็นสีอะไรแสดงว่าสารนั้นไม่ดูดกลืนสีนั้นจึงสะท้อน เข้าตาเรา บางชนิดใช้นําแสงที่ดูดกลืนมาสังเคราะห์ด้วยแสง สิ่งมีชีวิต Chlorophyll Carotenoid Phycobillin Bacterio chlorophyll a b c d พืช + + + สาหรายเขียว + + + Eukaryote สาหรายสี นำตาล + + + สาหรายสีแดง + + + + สาหรายสีเขียว แกมนำเงิน + + + แบคทีเรีย Prokaryote บางชนิด + + Chlorophyll สีเขียว ดูดกลืน น้ําเงิน แดง มี Mg,N เป็นองค์ประกอบ Carotenoid สมชว. ทุกชนิดที่สังเคราะห์แสงได้ต้องมี เป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ และ ป้องกัน อันตรายจากแสง ดูดกลืนแสงด้วย มี 2 ชนิดคือ Carotene สีแดง แะล Xanthophyll สีเหลือง Phycobillin แบ่งเป็น Phycocyanin สีน้ําเงิน และ Phycoerythrin สีแดง Bacteriochlorophyll พบในแบคทีเรียสังเคราะห์แสงได้ มีหลายสี
  • 2. การดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่างกัน ทําให้ สมชว. แต่ละชนิดสังเคราะห์แสงได้ดีที่ช่วง ความยาวคลื่นต่างกัน Absorption Spectrum ของ Chlorophyll แต่ละชนิด ACTION Spectrum ช่วงคลื่นที่พืชสังเคราะห์แสงได้มากที่สุดคือสีม่วง และ แดง
  • 3. โครงสร้างในการสังเคราะห์แสง ในเซลลพืชและ Eukaryote รงควัตถุจะอยูใน organelle ที่มีเยื่อหุมสองชั้นเรียกวา chloroplast เยื่อหุ้มสองชั้นคือ Inter,Outer membrane Thylakoid lumen Thylakoid Stroma lamella lumen Thylakoid Granum lumen Thylakoid Stroma lumen ของเหลวภายในประกอบด้วย Enzyme,70s ribosome RNA,DNA Chloroplast
  • 4. การสังเคราะห์แสง 6CO2+12H2O -> C6H12O6 + 6O2 + 6H2O H 2O CO2 ADP NADP+ + Pi Calvin cycle ATP NADPH o2 Sugar CO2 Fixation Light Reaction (Dark Reaction) เกิดที่เยื่อหุ้ม Thylakoid เกิดที่ Stroma นํา NADPH และ ATP มา นําแสงมาสร้าง NADPH และ ATP เปลี่ยน CO2 ให้กลายเป็นน้ําตาลใน เกิดการถ่ายทอด e- กระบวนการ Calvin cycle ซึี่งมีสามขั้น ! เป็นวัฎจักร ได้ ATP ตอนคือ ! ไม่เป็นวัฎจักร ได้ ATP และ NADPH ! Carboxylation ! Reduction ! Regeneration
  • 5. Light Reaction บนเยื่อ Thylakoid ประกอบด้วย ๏ระบบแสง PSII ,PSI ซึ่งประกอบด้วยรงควัตถุอยู่บนโปรตีน กลุ่มรงควัตถุเรียกว่า antenna โดยตรงกลางของ Reaction center คือ Chlorophyll a โดย Chlorophyll a ที่ PSI จะรับพลังงานได้ ดีที่ 700nm. เรียก P700 และ Chlorophyll a ที่ PSII รับพลังงานได้ดีที่ 680nm. เรียก P680 ๏Cytochrome(Cyt b6 และ Cyt f) ๏ATP Synthase, ๏Plastoquinone(PQ),PLASTOCYNIN(PC) และFerridoxin(FD) ! การครั้งหนึ่ง ณ เยื่อหุ้ม Thylakoid เมื่อมีแสงส่องลงมาพลังงานแสงจะถูกรงควัตถุดูดกลืนและ ส่งไปให้ Reaction center(Chlorophyll A)เมื่อถึงค่าหนึ่งจะเกิดการกระตุ้น e-ให้เปลี่ยนจาก ground stateไปเป็น Excited state เรียกว่า Photo-oxidation การถ่ายทอด e- แบบเป็นวัฎจักร เกิดอะไรขึ้นเติมเอาเอง :P Fd Cyt PS I Pq ATP PS II SYNT HASE Pc NADPH REDUC TASE การเดินทางของ e- เริ่มที่ PSII -> Pq -> Cyt -> Pc -> Pq ->PSI ระหว่งถ่ายทอดพลังงานจะนําไปปั้ม H+ จาก stromaเข้ามาใน Lumen(ช่องว่างใน Thylakoid) เมื่อมี H+ มากจึงเกิดการแพร่ออก(Proton gradient หรือ Proton motive force) ผ่าน ATP synthaseเริ่มที่ เกิดการสร้าง ATP แบบ Photophosphorylation (ADP+Pi->ATP) *น้ําใน Lumen จะแตกตัวดังสมการ H2O -> 1/2 O2 + 2H+ + 2e- เพื่อนํา e- ไปแทนที่ e- ที่หลุดมาจาก PSII โดยมี Mn และ Cl เข้าช่วย เรียกว่า Photolysis PSI -> Fd -> NADPH Reductase ได้ NADPH ตามสมการ NADP+ + H+ +2e- -> NADPH
  • 6. การถ่ายทอด e- แบบเป็นวัฎจักร เนื่องจากใน Calvin cycle ต้องการ ATP มากกว่า NADPH จึงเกิดอะไรขึ้นเติมเอาเอง Fd Cyt PS I Pq ATP PS II SYNT HASE Pc NADPH REDUC TASE การเดินทางของ e- PSI -> Fd -> Cyt -> Pc กลับมาที่-> PSI ระหว่างนั้นจะเกิดการดึง H+ จาก stromaเข้ามาใน Lumen เช่นเคย และเมื่อ H+ มากจึงเกิดการแพร่ ออกผ่าน ATP synthaseเริ่มที่ เกิดการสร้าง ATP แบบ Photophosphorylation (ADP+Pi->ATP) สรุป Content Non-cyclic Cyclic ระบบแสงที่เกี่ยวข้อง PSII , PSI PSI ที่มาของ e- ที่มาแทนที่ H 2O PSII เมื่อเกิดPhoto-oxidation Photolysis เกิด ได้ O2 ไม่เกิด สารพลังงานสูงที่ได้ ATP และ NADPH ATP ตัวรับ e- ตัวสุดท้าย NADP+ ไม่มี
  • 7. Carbon fixation / Dark Reaction การนํา ATP และ NADPH มา reduce(ให ้ e-)กับ CO2 ให้กลายเป็นน้ําตาล 3CO2 6 (3 -PGA) 6 ATP c o (C3) bis Ru 6 ADP 3RuBP 3 ADP (C5) 6 (1,3 -PGA) 3 ATP (C3) 5 (PGAL) (C3) 6 NADPH 6 (PGAL) (C3) 6 NADP+ (PGAL) 6 Pi (C3) Starch, Sucrose, Glucose
  • 8. Carboxylation นํา RuBP(Ribulose bisphosphate) มาทําปฏิกริยากับ CO2 โดยใช้ Rubisco เป็น enzyme เร่ง ปฏิกริยา ได้ 3 -PGA(Phosphoglycerate) Reductase นํา 3 -PGA(Phosphoglycerate) มาทําปฏิกริยากับ ATP ได้ 1,3 -PGA (Phosphoglycerate) และนํามา reduce ด้วย NADPH ได้ G3P(Glyceraldehyde-3-phosphate) หรือ PGAL(Phosphoglyceroldehyde) *PGAL 1 โมเลกุลจะออกจาก Calvin cycle ไปรวมกับ PGAL ตัวอื่นกลายเป็นคาร์โบไฮเดรตขนาก ใหญ่เช่น แป้ง เก็บไว้ใน Vacuole  Regeneration PGAL ที่เหลือจะทําปฏิกริยากับ ATP ได้เป็น RuBP ข้อสังเกต ➡ Calvin cycle 1 รอบสมบูรณ์ได้ 1 PGAL(C3) ออกมา ใช้ 9 ATP และ 6 NADPH ** ดังนั้นถ้าต้องการน้ําตาล 1 โมเลกุล (C6) ต้องหมุนวัฏจักรสองรอบใช้สารเป็นสองเท่า ➡ จากสมการ 6CO2+12H2O -> C6H12O6 + 6O2 + 6H2O ! O ในน้ําตาล(C6H12O6)มาจาก CO2 ตอน Calvin cycle ! O ในออกซิเจน (O2) แตกตัวมาจากน้ํา Photorespiration •การหายใจแสง หมายถึง การใช้แก๊สออกซิเจนและคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ •ใช้ RuBP เป็นสารตั้งต้น •ไม่มีการสร้าง ATP •เป็นปฏิกิริยายับยั้งการสังเคราะห์แสง โดยที่มี O2 เป็น inhibitor ทําให้ไม่สามารถเกิด calvin cycle ได้เมื่ออุณหภูมิสูง •มีประโยชน์เมื่อพืชมี ATP สูงและต้องการใช้ให้หมด •Organelle ที่เกี่ยวข้อง Chloroplast, Peroxisome และ Mitochondria
  • 9. Photorespiration Pathway เติมเอง :P Chloroplast Peroxisome Mitochondria
  • 10. ปัญหาของพืช C3 คือ 1.ในกรณีอากาศร้อน แก๊สจะละลายในอากาศได้น้อยลง จึงตรึง CO2 ได้น้อย 2.ต้องปิดปากใบลดการคายน้ําถ้าอุณหภูมิสูงมากๆเช่นในทะเลทราย 3.เกิด Photorespiration เมื่ออุณหภูมิอากาศสูง วิธีแก้ปัญหา 1.ตรึง CO2 2ครั้ง => พืช C4 , CAM 2.ปิดปากใบกลางวันเปิดกลางคืนที่อุณหภูมิเย็นลง => CAM 3.ใช้ PEP Carboxylase แทน Rubisco เพราะจะจับ CO2 อย่างเดียว และจับได้มีประสิทธิภาพ จึงไม่ เกิด Photorespiration และทํางานได้ดีแม้อากาศจะร้อน => พืช C4 , CAM พืช C4 ❖ พืช C4 มักเป็นพืชที่มีถิ่นกําเนิดในเขตศูนย์สูตร เช่น ข้าวโพด อ้อย และบานไม่รู้โรย ❖ มี bundle sheath cells ที่มีคลอโรพลาสต์ล้อมรอบกลุ่มท่อลําเลียง ❖ พืชพวกนี้จะมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกตรึงที่ mesophyll cell โดยมีตัวมารับ CO2 คือ phosphoenol pyruvate (PEP) ได้เป็นสารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม (อันเป็นที่มาของชื่อ ว่า พืช C4) คือ กรดออกซาโลเอซิติก (oxaloacetic acid) (OAA) แล้วถูกเปลี่ยนเป็น malic acid ก่อน จะเคลื่อนที่เข้าสู่ bundle sheath cell เมื่อถึง bundle sheath cell สาร C4 จะถูกเปลี่ยนเป็นสาร C3 + CO2 ในคลอโรพลาสต์ที่ bundle sheath cell ซึ่ง CO2 ก็จะเข้าสู่ Calvin Cycle ต่อไป ส่วนสาร C3 ก็ จะถูกนํากลับมายัง mesophyll cell เพื่อเปลี่ยนเป็น PEP สําหรับการตรึง CO2 ครั้งต่อไป ด้วยระบบ เช่นนี้ จึงทําให้ความเข้มข้นของ CO2 บริเวณ bundle sheath cell มีความเข้มข้นสูงขึ้นกว่าบริเวณ mesophyll ของพืช C3
  • 11. พืช CAM(Crassulacean Acid Metabolism) =>กล้วยไม้ สับปะรด ว่านหางจระเข้ และ ศร นารายณ์ ✴เป็นพืชในที่แห้งแล้งจึงมีลักษณะอวบน้ํา ✴ปิดปากใบตอนกลางวัน จึงต้องตรึง CO2 กลางคืนได้ OAA เก็บในรูป Malic acid ใน Vacuole พอกลางวันจึงเปลี่ยนกับ CO2 เข้าCalvin cycle Pathway ของพืช C4(Hatch-slack pathway) และ CAM เติมเอาเอง :P Mesophyll cell Night Bundle-sheath cell Day
  • 12. สรุป ลักษณะ C3 plant C4 plant CAM plant Bundle-sheath cell มีหรือไม่มี มี มีหรือไม่มี Chloroplast ใน ไม่มี มี ไม่มี Bundle-sheath cell ช่วงเวลาสังเคราะห์ กลางวัน กลางวัน กลางวัน ด้วยแสง จํานวนการตรึง CO2 1 2 2 enzyme ที่ใช้ตรึง Rubisco PEP Carboxylase PEP Carboxylase CO2 สารตั้งต้น RuBP PEP PEP ผลิตภัณฑ์ที่เกิด PGA(3C) OAA(4C) OAA(4C) ช่วงการตรึง กลางวัน กลางวัน กลางคืน Calvin cycle cell Mesophyll Bundle-sheath Mesophyll Photorespiration สูง ต่ํา ต่ํา