SlideShare a Scribd company logo
*Photosynthesis
ประวัต ิก าร
ค้น พบ

Jan van Helmont (1948) ต้นหลิวนำ้า
หนักเพิ่มจากการรดนำ้าอย่างเดียว นำ้าหนักดิน
หายเล็กน้อย
Joseph Priestley (1772) พืชเปลี่ยน
อากาศเสียเป็นอากาศดี
Theodore de Saussure (1804) การ
สังเคราะห์แสงต้องใช้นำ้า คาร์บอนไดออกไซด์
และแสงสว่าง
การสังเคราะห์แสง  คือ กระบวนการซึ่งพืช
สังเคราะห์สารอินทรียจากสารประกอบอนินทรีย์ โดย
์
มีแสงปรากฏอยู่ดวย
้
สาหร่าย พืชชั้นสูง และแบคทีเรียบางชนิด
สามารถรับพลังงานโดยตรงจากแสงอาทิตย์ และใช้
พลังงานนีในการสังเคราะห์สารทีจำาเป็นต่อการดำารง
้
่
ชีพ  
สัตว์ไม่สามารถรับพลังงานโดยตรงจากแสง
อาทิตย์  ต้องรับพลังงานโดยการบริโภคพืชและสัตว์
อื่น
แหล่งของพลังงานทางเมตาบอลิสม์ในโลกคือ
 ดวงอาทิตย์
Van Neil
คลอโรฟิล ล์
การที่พืชรับพลังงานแสงจากดวง
อาทิตย์ได้โดยตรงนี้ พืชต้องมีกลไก
พิเศษ คือ มีรงควัตถุ (Pigment) สีเขียว
ซึ่งเรียกว่า คลอโรฟิลล์
(Chlorophylls)   
ชนิดของรงควัตถุ

ช่วงแสงทีดูดกลืนแสง
่
(nm)

ชนิดของพืช

คลอโรฟิลล์

 

 

 

คลอโรฟิลล์ เอ

420, 660

พืชชั้นสูงทุกชนิดและสาหร่าย

 

คลอโรฟิลล์ บี

435, 643

พืชชั้นสูงทุกชนิดและสาหร่ายสีเขียว

 

คลอโรฟิลล์ ซี

445, 625

ไดอะตอมและสาหร่ายสีนำ้าตาล

 

คลอโรฟิลล์ ดี

450, 690

สาหร่ายสีแดง

คาร์โรทีนอยด์

 

 

 

เบตา คาร์โรทีน

425, 450, 480

พืชชั้นสูงและสาหร่ายส่วนใหญ่

 

แอลฟา คาร์โรทีน

420, 440, 470

พืชส่วนใหญ่และสาหร่ายบางชนิด

 

ลูตออล (Luteol)
ี

425, 445, 475

สาหร่ายสีเขียว สีแดงและพืชชั้นสูง

 

ไวโอลาแซนธอล

425, 450, 475

พืชชั้นสูง

 

แกมมา คาร์โรทีน

-

แบคทีเรีย

 

ฟูโค

425, 450, 475

ไดอะตอมและสาหร่ายสีนำ้าตาล

ไฟโคบิลินส์

 

 

 

ไฟโคอีรีธรินส์         

 490, 546, 576

 สาหร่ายสีแดง    และสาหร่ายสีนำ้าเงิน

 

(Phycoerythrins)

 

 

 

ไฟโคไซยานินส์

618

สาหร่ายสีนำ้าเงินแกมเขียว   และ

 

(Phycocyanins)

 

สาหร่ายสีแดงบางชนิด
กระบวนการสัง เคราะห์
แสง
ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยาหลักๆ
คือ
1. ปฏิกิริยาใช้แสง (light
reaction)
2. ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง (dark
reaction)
เป็นปฏิกิริยาในการสังเคราะห์ที่ต้องอาศัยแสงเป็น
ตัวช่วยในการเกิดกระบวนการ จะเกิดในตอนกลางวัน
โดยอาศัยเกิดบริเวณไทลาคอยด์ ประกอบด้วย
Photosystem 2 ระบบ คือ

1. Photosystem 1 (P700)
2. Photosystem 2
(P680)
Photosystem 1
1. แสงกระตุ้นให้โมเลกุลของคลอโรฟิลล์จะรับ
พลังงานไว้ทำาให้ e- ในโมเลกุลของคลอโรฟิลล์
เคลื่อนที่หลุดออกไปโดยมีสารเป็นตัวรับอิเลค
ตรอนและส่งอิเลคตรอนเป็นทอด ๆ
2. คลอโรพลาสต์ (P700) มีกลุ่มโมเลกุลของ
รงควัตถุทำาหน้าที่รับพลังงาน
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนมี 2 แบบ
1. เป็นวัฏจักรคือ การถ่ายทอด e-ในลักษณะที่
ย้อนกลับได้ จะได้แต่
ADP+ Pi ATP
2. ไม่เป็นวัฏจักร คือ การถ่ายทอด e-ไปทาง
เดียว ให้ผลิตผลออกมาในขณะมีแสง แต่ไม่
ย้อนกลับ จะได้
ADP+Pi  ATP และ NADP+
e- +2H+  NADPH2
Photosystem
1. Photosystem 2 ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ P680
2
เป็นหลัก
2. Photosystem 1 แบบไม่เป็นวัฏจักรจะดึง e- ทีขาด
่
จาก Photosystem 2
3. เมื่อ P680 ขาด e- ก็จะดึง e- ต่อเป็นทอดๆจนถึงขั้น
ทำาให้นำ้าแตกตัว ดังสมการ
แสง
H2O

ผลลัพ
+1/2O2ธ์ คือ O2 และ ATP
Mn++ ,Cl-

2H+ +2e-
    1. Hill Reaction คือ การแตกตัวของนำ้าโดย

พลังงานแสง
พบโดย  Robert Hill เมื่อนำ้าแตกตัว
แล้วจะให้อเล็กตรอนออกมา ตัวรับอิเล็คตรอนคือ
ิ
NADP ทำาให้กลายเป็น NADPH ซึ่งจะนำาไปใช้
รีดิวซ์ CO2 ในกระบวนการต่อไป

          
การทีนำ้าแตกตัวเป็นออกซิเจนได้นี้ 
่
เกิดโดยพลังงานแสงทีคลอโรฟิลล์ดูดแล้วส่งไป
่
ช่วยเอนไซม์ททำาหน้าทีแยกโมเลกุลของนำ้า ให้
ี่
่
เกิดปฏิกิริยาได้อเล็กตรอนและก๊าซออกซิเจน
ิ
       นำาผลิตภัณฑ์ทได้จากการแตกตัวของนำ้าคือ
ี่
โปรตอน ซึ่งจะใช้เป็นตัวพาอิเล็กตรอนและนำาไป
สร้างสารให้พลังงานสูง NADPH นอกจากนัน
้
อิเล็กตรอนยังถูกส่งเข้าไปทดแทนอิเล็กตรอน
Photophosphorylatio
n คือ   การสัง เคราะห์ส าร
เคมีท ี่ใ ห้พ ลัง งานสูง ATP
จากการไหลของ
อิเ ล็ก ตรอน จากนำ้า ไปสู่
NADP ซึง NADP  ไม่
่
สามารถรับ อิเ ล็ก ตรอนได้
โดยตรง ต้อ งไหลผ่า นสาร
โฟโตไลซิส
(Photolysis)
โฟโตไลซิส (Photolysis) คือการ

สลายโมเลกุลของนำ้าใน

ปฏิกิริยาที่ใช้แสงทั้ง ATP และ NADPH2 ที่
เกิดขึ้นในปฏิกิริยาใช้แสงจะถูกนำาไปใช้ใน
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสงต่อไป
ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง ปฏิกิริยาที่เกิด
ขึนนั้นมีลักษณะที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักร เรียก
้
ว่า วัฏจักรของคัลวิน (Calvin cycle)
ปฏิก ิร ิย าไม่ใ ช้แ สง (dark
reaction)
1. เกิดในสโตรมาเป็นกระบวนการที่เปลี่ยน CO2 ให้เป็น
นำ้าตาลสามารถเกิดได้ใน
ที่มืดและที่มีแสง
2. ใช้ผลผลิตจากปฏิกิริยาใช้แสง ได้แก่ ATP และ
NADPH2
3. มีขั้นตอนใหญ่ๆ 3 ช่วง คือ

Step 1 carbon fixation
Step 2 Reduction and Sugar
production
• RuBP = ribulose bisphosphate
• RuDP =Ribulose Diphosphate
• PGA = phosphoglycerate
• PGAL = phosphoglyceraldehyde
(G3P)
• G3P = glyceraldehyde - 3 phosphate
Step 1 carbon fixation
สารตั้งต้นคือ RuBP รวมตัวกับ
คาร์บอนไดออกไซด์เป็นสาร
ประกอบใหม่มคาร์บอน 6 อะตอม สารใหม่
ี
จะสลายไปเป็น
PGA 2 โมเลกุล จะได้ PGA 12 โมเลกุล

**** RuBP = RuDP

RuBP =Ribulose-1,5-bisphosphate
RuDP =Ribulose Diphosphate
Step 2 Reduction and
Sugar production
1. เปลี่ยนแปลงจาก PGA จะได้ PGAL
2. ไฮโดรเจนจาก NADPH + H+ และ
พลังงานจาก ATP PGA 12
3. โมเลกุล จะเปลี่ยนเป็น PGAL 12 โมเลกุล
10 PGAL ขั้นที่ 3
2 PGAL  sugar, organic
compound
Step 3
Regeneration of น
1. PGAL 10 โมเลกุล เปลี่ยนแปลงไปเป็
RuBP 6 โมเลกุRuBP
ล
2. ต้องใช้พลังงานจากการสลายตัวของ
ATP
ปฏิก ร ิย าไม่ใ ช้แ สง
ิ
(dark reaction)

มีอ ยู่ 3 แนวทาง คือ

1. การสัง เคราะห์แ สงแบบ
C3
2. การสัง เคราะห์แ สงแบบ
C4
3. การสัง เคราะห์แ สงแบบ
The C4 photosynthesis
• Bundle sheath cell
• Mesophyll cell

Photosynthetic cells
of C4 plant leaf
 First product

four carbon
compound
 1000 species of angiosperm
(19 family)
 Sugarcane, corn, grass family
*Classulacean acid metabolism
(CAM)
*Carbon fixation in succulent
species
*Family crassulaceae
Family crassulaceae
Succulent species
*Cuticle หนา, ใบหนา
*Vacuole ใหญ่
*อัตราการคายนำ้าตำ่า
้
*พืนที่ผิว/ปริมาตร : ตำ่า
*cactus, pineapple
Adaptation to arid

- Hot

day high light intensity
- cool night
- dry soil
ถ้า ปลูก ในสภาพปกติ
แบบ C3 plant

ตรึง CO2
*The night

open stomata
Take up CO2

*The day

close stoma

- Conserve water
- prevent CO2 from
enter the leaf
Mesophyll cell
* Store the organic acid
(make during the night)

* Malic acid

vacuole
Chloroplast

* Light reaction
* Organic acid (malic acid)

ATP, NADPH

CO2

Calvin cycle
ปัจ จัย ภายใน

*ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ การ

       1.1 โครงสร้างของใบ

สัง เคราะห์แ สง

การเข้าสู่ใบของ CO2 จะยากง่ายไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่
กับ
ขนาดและจำานวนของใบ
ตำาแหน่งของปากใบ  
ปริมาณของช่องว่างระหว่างเซลล์ซงเกิดจากการ
ึ่
เรียงตัว
ของเนื้อเยื่อเม
โซฟิลล์ (Mesophyll) ของใบ
ความหนาของชั้นคิวติเคิล เซลล์ผิว (Epidermis)
และขนของใบ จะมีผลในการทำาให้คาร์บอนไดออกไซด์
กระจายเข้าสู่ใบได้ไม่เท่ากันเพราะถ้าหนาเกินไปแสงจะ
ตกกระทบกับคลอโรพลาสต์ได้นอยลง
้
* 1.2 อายุของใบ
เมือพิจารณาถึงใบแต่ละใบของพืช    จะพบว่าใบ
่
*       

อ่อนสามารถสังเคราะห์แสงได้สูงจนถึงจุดที่ใบแก่ แต่หลังจากนั้น
การสังเคราะห์แสงจะลดลงเมื่อใบแก่และเสื่อมสภาพ ใบเหลืองจะไม่
สามารถสังเคราะห์แสงได้ เพราะไม่มคลอโรฟิลล์
ี
* 1.3  การเคลื่อนย้ายคาร์โบไฮเดรต

           โดยทัวไปนำ้าตาลซูโครสจะเคลื่อนย้ายจาก   Source
่
  ไปสู่ Sink  ดังนันมักพบเสมอว่าเมือเอาส่วนหัว เมล็ด  หรือผลที่
้
่
กำาลังเจริญเติบโตออกไปจากต้นจะทำาให้การสังเคราะห์แสงลดลง
ไป 2-3 วัน     เพราะว่านำ้าตาลจากใบไม่สามารถเคลือนย้ายได้
่
 พืชทีมีอตราการสังเคราะห์แสงสูง   จะมีการเคลื่อนย้ายนำ้าตาลได้
่ ั
สูงด้วย การที่ใบเป็นโรคจะทำาให้พืชสังเคราะห์แสงได้ลดลง เพราะ
ว่าใบกลายสภาพเป็น  Sink มากกว่า  Source   แต่ใบที่อยู่ใกล้
กันแต่ไม่เป็นโรคจะมีอัตราการสังเคราะห์แสงเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม
การเพิม Sink ให้กับต้น เช่นเพิมจำานวนฝักของข้าวโพด เพิ่ม
่
่
จำานวนผลที่ติด เพิ่มจำานวนหัว จะทำาให้การสังเคราะห์แสงเพิมขึ้น
่
1.4  โปรโตพลาสต์
อัตราการสังเคราะห์แสงจะมีความสัมพันธ์กบการ
ั
ทำางานของโปรโตพลาสต์มาก เมือพืชขาดนำ้าสภาพคอลลอยด์ของ
่
โปรโตพลาสต์จะอยู่ในสภาพขาดนำ้าด้วยทำาให้เอนไซม์ที่ เกี่ยวข้อง
กับการสังเคราะห์แสงทำางานได้ไม่เต็มที่   แต่พชแต่ละชนิดโปรโตื
พลาสต์จะปรับตัวให้ทำางานได้ดไม่เท่ากัน  ทำาให้อตราการ
ี
ั
สังเคราะห์แสงเปลี่ยนไปไม่เท่ากัน
2.1. ปริมาณของ CO2 ปกติ = 0.03% การสังเคราะห์แสงจะเพิมขึ้น
่
เมือปริมาณของ CO2 ในบรรยากาศเพิ่มขึ้น ยกเว้นเมือปากใบปิด
่
่
เพราะการขาดนำ้า
ความแตกต่างระหว่างพืช C3 และ C4 ในแง่ของ CO2 คือ
ถ้าปริมาณของ  CO2 ลดลงตำ่ากว่าสภาพบรรยากาศปกติแต่แสงยัง
อยู่ในระดับความเข้มเหนือจุด    Light Compensation  พบว่า
พืช C3 จะมีการสังเคราะห์แสง เป็น 0  ถ้ามีความเข้มข้นของ CO2
 50-100 ส่วนต่อล้าน แต่พช C4 จะยังคงสังเคราะห์แสงได้ต่อไป
ื
แม้ CO2  จะตำ่าเพียง 0-5 ส่วนต่อล้านก็ตาม ความเข้มข้นของ CO2
ที่จุดซึ่งอัตราการสังเคราะห์แสงเท่ากับอัตราการหายใจเรียกว่า
CO2 Compensation   Point   ข้าวโพดมี   CO2
Compensation Point อยู่ที่ 0 ส่วนต่อล้าน ในขณะที่ทานตะวัน
มีค่าถึง 50 ส่วนต่อล้าน

*             
*การเพิ่มความเข้มข้นของ

คาร์บอนไดออกไซด์ให้สูงขึ้นไป
เรื่อย ๆ   จะมีผลทำาให้เกิดการ
สังเคราะห์แสงได้มากขึ้น   แต่
เมื่อเพิ่มขึนสูงถึง 0.5
้
 เปอร์เซ็นต์  พืชจะมีการ
สังเคราะห์แสงได้มากขึ้น      แต่
พืชจะทนได้ระยะหนึ่ง คือ
ประมาณ 10-15 วัน หลังจาก
นั้นพืชจะชะงักการเจริญเติบโต
2.2 ความเข้มของแสง หรือปริมาณพลังงานแสงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
 ซึ่งมีหน่วยเป็นลักซ์ (Lux) (10.76 lux = 1 ft-c)  ในแต่ละท้องที่
จะมีความเข้มของแสงไม่เท่ากัน ซึ่งทำาให้พชมีการปรับตัวทาง
ื
พันธุกรรมต่างกัน  การสังเคราะห์แสงของพืชโดยทั่วไปจะดีขึ้นเมือ
่
พืชได้รับความเข้มของแสงมากขึน  เมือพืชได้รับความเข้มของแสง
้
่
ตำ่ากว่าที่พชต้องการพืชจะมีอัตราการสังเคราะห์แสงตำ่าลง แต่อัตรา
ื
การหายใจของพืชจะเท่าเดิม  เมื่ออัตราการสังเคราะห์แสงลดตำ่าลง
จนทำาให้อัตราการสร้างอาหารเท่ากับอัตราการใช้อาหารจากการ
หายใจ
2.3 ความยาวของช่วงที่ได้รับแสง (Light Duration)  เมือช่วง
่
เวลาที่ได้รับแสงยาวนานขึ้น อัตราการสังเคราะห์แสงจะเพิ่มขึ้น
ด้วย  โดยเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความยาวของวัน  ดังนั้นการเร่ง
การเจริญเติบโตของพืชในเขตหนาวซึ่งในช่วงฤดูหนาวจะมีวันที่
สั้นจึงจำาเป็นต้องให้แสงเพิมกับพืชที่ปลูกในเรือนกระจก
่
2.4 คุณภาพของแสง (Light quality)  แสงแต่ละสีจะมีคณภาพ
ุ
หรือขนาดของโฟตอนหรือพลังงานที่ไม่เท่ากัน จึงทำาให้เกิดจาก
เคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนได้ไม่เท่ากัน ขนาดของโฟตอนจะต้องพอดี
กับโครงสร้างของโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ ถ้าหากไม่พอดีกันจะต้อง
มี Accessory  pigment  มาช่วยรับแสง  โดยมีลักษณะเป็นแผง
รับพลังงาน  (Antenna system) แล้วส่งพลังงานต่อไปให้คลอโร
ฟิลล์ เอ ดังกล่าวมาแล้ว ในสภาพธรรมชาติ เช่น ในป่าหรือท้อง
ทะเลลึก  แสงที่พชสามารถใช้ประโยชน์ในการสังเคราะห์แสงได้
ื
มักจะถูกกรองเอาไว้โดยต้นไม้ที่สูงกว่าหรือแสงดังกล่าวไม่สามารถ
ส่องลงไปถึง   พืชเหล่านี้มักจะได้รับแสงสีเขียวเท่านั้น      พืช
เหล่านี้หลายชนิดจะพัฒนาระบบให้มรงควัตถุซึ่งสามารถนำาเอา
ี
พลังงานจากแสงสีเขียวมาใช้ประโยชน์ได้
ิ
* 2.3. อุณหภูม      ช่วงอุณหภูมิที่พืชสังเคราะห์แสงใบของ

พืชชั้นสูงทั่ว ๆ ไป อาจจะมีอุณหภูมสูงถึง 35 องศาเซลเซียส ใน
ิ
ขณะได้รับแสง   แต่การสังเคราะห์แสงก็ยังดำาเนินต่อไปได้   ผล
ของอุณหภูมต่อการสังเคราะห์แสงจึงขึ้นกับชนิดของพืชและสภาพ
ิ
แวดล้อมที่พืชเจริญเติบโต เช่น พืชทะเลทราย จะมีอุณหภูมเหมาะ
ิ
สมสูงกว่าพืชในเขตอาร์คติก พืชที่เจริญได้ดในเขตอุณหภูมสูง
ี
ิ
เช่น ข้าวโพด    ข้าวฟ่าง ฝ้าย และถั่วเหลืองจะมีอุณหภูมิที่เหมาะ
สมสูงกว่าพืชที่เจริญได้ดในเขตอุณหภูมิตำ่า เช่น   มันฝรั่ง ข้าวสาลี
ี
และข้าวโอ๊ต โดยทั่วไปอุณหภูมิเหมาะสมในการสังเคราะห์แสงของ
พืชแต่ละชนิดจะใกล้เคียงกับอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมตอนกลาง
วันในเขตนั้น ๆ
ื
ุ
ิ
* ตามปกติพช C4 จะมีอณหภูมเหมาะสมต่อการสังเคราะห์แสงสูง
กว่าพืช C3     ค่า Q10  ของการสังเคราะห์แสงประมาณ  2-3  
และอุณหภูมจะมีผลกระทบต่อ Light  Reaction น้อยมาก เมือ
ิ
่
เทียบกับ Enzymatic Reaction
่
* 2.4. นำ้า  จะเกี่ยวข้องกับการปิดเปิดของปากใบ  และเกียวข้องกับ

การให้อิเล็กตรอน เมือเกิดสภาวะขาดแคลนนำ้า  พืชจะคายนำ้าได้
่
เร็วว่าการดูดนำ้าและลำาเลียงนำ้าของราก   ทำาให้ต้นไม้สูญเสียนำ้า
อย่างรวดเร็ว    ทำาให้การทำางานของเอนไซม์ต่าง ๆ ผิดปกติ และ
ต่อมาปากใบจะปิด การขาดแคลนนำ้าที่ตำ่ากว่า 15 เปอร์เซ็นต์  อาจ
จะยังไม่มผลกระทบกระเทือนต่ออัตราการสังเคราะห์แสงมากนัก
ี
แต่ถ้าเกิดสภาวะขาดแคลนถึง  15 เปอร์เซ็นต์แล้วจะทำาให้ปากใบ
ปิดจึงรับคาร์บอนได ออกไซด์ไม่ได้
2.5. ธาตุอาหาร
                 เนื่องจากคลอโรฟิลล์มแมกนีเซียมและไนโตรเจนเป็น
ี
ธาตุที่อยู่ในโมเลกุลด้วย ดังนั้นหากมีการขาดธาตุทั้งสองจะทำาให้
การสังเคราะห์แสงลดลง
1. เป็นกระบวนการสร้างอาหารเพื่อการดำารงชีวิตของ
พืช
2. เป็นกระบวนการซึ่งสร้างสารประกอบชนิดอื่น ซึ่ง
จำาเป็นต่อกระบวนการเจริญเติบโตของพืช
3. เป็นกระบวนการซึ่งให้ก๊าซออกซิเจนแก่บรรยากาศ
4. ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ให้อยู่ในสภาวะสมดุล
Photosynthesis

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
Thanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
Thanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
Thitaree Samphao
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
Thanyamon Chat.
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Similar to Photosynthesis

เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
appseper
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงdnavaroj
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
sukanya petin
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
Aimie 'owo
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 

Similar to Photosynthesis (20)

Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3
 
1
11
1
 

Photosynthesis

  • 2. ประวัต ิก าร ค้น พบ Jan van Helmont (1948) ต้นหลิวนำ้า หนักเพิ่มจากการรดนำ้าอย่างเดียว นำ้าหนักดิน หายเล็กน้อย Joseph Priestley (1772) พืชเปลี่ยน อากาศเสียเป็นอากาศดี Theodore de Saussure (1804) การ สังเคราะห์แสงต้องใช้นำ้า คาร์บอนไดออกไซด์ และแสงสว่าง
  • 3. การสังเคราะห์แสง  คือ กระบวนการซึ่งพืช สังเคราะห์สารอินทรียจากสารประกอบอนินทรีย์ โดย ์ มีแสงปรากฏอยู่ดวย ้ สาหร่าย พืชชั้นสูง และแบคทีเรียบางชนิด สามารถรับพลังงานโดยตรงจากแสงอาทิตย์ และใช้ พลังงานนีในการสังเคราะห์สารทีจำาเป็นต่อการดำารง ้ ่ ชีพ   สัตว์ไม่สามารถรับพลังงานโดยตรงจากแสง อาทิตย์  ต้องรับพลังงานโดยการบริโภคพืชและสัตว์ อื่น แหล่งของพลังงานทางเมตาบอลิสม์ในโลกคือ  ดวงอาทิตย์
  • 5.
  • 7. ชนิดของรงควัตถุ ช่วงแสงทีดูดกลืนแสง ่ (nm) ชนิดของพืช คลอโรฟิลล์       คลอโรฟิลล์ เอ 420, 660 พืชชั้นสูงทุกชนิดและสาหร่าย   คลอโรฟิลล์ บี 435, 643 พืชชั้นสูงทุกชนิดและสาหร่ายสีเขียว   คลอโรฟิลล์ ซี 445, 625 ไดอะตอมและสาหร่ายสีนำ้าตาล   คลอโรฟิลล์ ดี 450, 690 สาหร่ายสีแดง คาร์โรทีนอยด์       เบตา คาร์โรทีน 425, 450, 480 พืชชั้นสูงและสาหร่ายส่วนใหญ่   แอลฟา คาร์โรทีน 420, 440, 470 พืชส่วนใหญ่และสาหร่ายบางชนิด   ลูตออล (Luteol) ี 425, 445, 475 สาหร่ายสีเขียว สีแดงและพืชชั้นสูง   ไวโอลาแซนธอล 425, 450, 475 พืชชั้นสูง   แกมมา คาร์โรทีน - แบคทีเรีย   ฟูโค 425, 450, 475 ไดอะตอมและสาหร่ายสีนำ้าตาล ไฟโคบิลินส์       ไฟโคอีรีธรินส์           490, 546, 576  สาหร่ายสีแดง    และสาหร่ายสีนำ้าเงิน   (Phycoerythrins)       ไฟโคไซยานินส์ 618 สาหร่ายสีนำ้าเงินแกมเขียว   และ   (Phycocyanins)   สาหร่ายสีแดงบางชนิด
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. กระบวนการสัง เคราะห์ แสง ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยาหลักๆ คือ 1. ปฏิกิริยาใช้แสง (light reaction) 2. ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง (dark reaction)
  • 14. Photosystem 1 1. แสงกระตุ้นให้โมเลกุลของคลอโรฟิลล์จะรับ พลังงานไว้ทำาให้ e- ในโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ เคลื่อนที่หลุดออกไปโดยมีสารเป็นตัวรับอิเลค ตรอนและส่งอิเลคตรอนเป็นทอด ๆ 2. คลอโรพลาสต์ (P700) มีกลุ่มโมเลกุลของ รงควัตถุทำาหน้าที่รับพลังงาน
  • 15. การถ่ายทอดอิเล็กตรอนมี 2 แบบ 1. เป็นวัฏจักรคือ การถ่ายทอด e-ในลักษณะที่ ย้อนกลับได้ จะได้แต่ ADP+ Pi ATP 2. ไม่เป็นวัฏจักร คือ การถ่ายทอด e-ไปทาง เดียว ให้ผลิตผลออกมาในขณะมีแสง แต่ไม่ ย้อนกลับ จะได้ ADP+Pi  ATP และ NADP+ e- +2H+  NADPH2
  • 16. Photosystem 1. Photosystem 2 ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ P680 2 เป็นหลัก 2. Photosystem 1 แบบไม่เป็นวัฏจักรจะดึง e- ทีขาด ่ จาก Photosystem 2 3. เมื่อ P680 ขาด e- ก็จะดึง e- ต่อเป็นทอดๆจนถึงขั้น ทำาให้นำ้าแตกตัว ดังสมการ แสง H2O ผลลัพ +1/2O2ธ์ คือ O2 และ ATP Mn++ ,Cl- 2H+ +2e-
  • 17.     1. Hill Reaction คือ การแตกตัวของนำ้าโดย พลังงานแสง พบโดย  Robert Hill เมื่อนำ้าแตกตัว แล้วจะให้อเล็กตรอนออกมา ตัวรับอิเล็คตรอนคือ ิ NADP ทำาให้กลายเป็น NADPH ซึ่งจะนำาไปใช้ รีดิวซ์ CO2 ในกระบวนการต่อไป            การทีนำ้าแตกตัวเป็นออกซิเจนได้นี้  ่ เกิดโดยพลังงานแสงทีคลอโรฟิลล์ดูดแล้วส่งไป ่ ช่วยเอนไซม์ททำาหน้าทีแยกโมเลกุลของนำ้า ให้ ี่ ่ เกิดปฏิกิริยาได้อเล็กตรอนและก๊าซออกซิเจน ิ        นำาผลิตภัณฑ์ทได้จากการแตกตัวของนำ้าคือ ี่ โปรตอน ซึ่งจะใช้เป็นตัวพาอิเล็กตรอนและนำาไป สร้างสารให้พลังงานสูง NADPH นอกจากนัน ้ อิเล็กตรอนยังถูกส่งเข้าไปทดแทนอิเล็กตรอน
  • 18. Photophosphorylatio n คือ   การสัง เคราะห์ส าร เคมีท ี่ใ ห้พ ลัง งานสูง ATP จากการไหลของ อิเ ล็ก ตรอน จากนำ้า ไปสู่ NADP ซึง NADP  ไม่ ่ สามารถรับ อิเ ล็ก ตรอนได้ โดยตรง ต้อ งไหลผ่า นสาร
  • 19. โฟโตไลซิส (Photolysis) โฟโตไลซิส (Photolysis) คือการ สลายโมเลกุลของนำ้าใน ปฏิกิริยาที่ใช้แสงทั้ง ATP และ NADPH2 ที่ เกิดขึ้นในปฏิกิริยาใช้แสงจะถูกนำาไปใช้ใน ปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสงต่อไป ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง ปฏิกิริยาที่เกิด ขึนนั้นมีลักษณะที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักร เรียก ้ ว่า วัฏจักรของคัลวิน (Calvin cycle)
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28. ปฏิก ิร ิย าไม่ใ ช้แ สง (dark reaction) 1. เกิดในสโตรมาเป็นกระบวนการที่เปลี่ยน CO2 ให้เป็น นำ้าตาลสามารถเกิดได้ใน ที่มืดและที่มีแสง 2. ใช้ผลผลิตจากปฏิกิริยาใช้แสง ได้แก่ ATP และ NADPH2 3. มีขั้นตอนใหญ่ๆ 3 ช่วง คือ Step 1 carbon fixation Step 2 Reduction and Sugar production
  • 29. • RuBP = ribulose bisphosphate • RuDP =Ribulose Diphosphate • PGA = phosphoglycerate • PGAL = phosphoglyceraldehyde (G3P) • G3P = glyceraldehyde - 3 phosphate
  • 30.
  • 31. Step 1 carbon fixation สารตั้งต้นคือ RuBP รวมตัวกับ คาร์บอนไดออกไซด์เป็นสาร ประกอบใหม่มคาร์บอน 6 อะตอม สารใหม่ ี จะสลายไปเป็น PGA 2 โมเลกุล จะได้ PGA 12 โมเลกุล **** RuBP = RuDP RuBP =Ribulose-1,5-bisphosphate RuDP =Ribulose Diphosphate
  • 32. Step 2 Reduction and Sugar production 1. เปลี่ยนแปลงจาก PGA จะได้ PGAL 2. ไฮโดรเจนจาก NADPH + H+ และ พลังงานจาก ATP PGA 12 3. โมเลกุล จะเปลี่ยนเป็น PGAL 12 โมเลกุล 10 PGAL ขั้นที่ 3 2 PGAL  sugar, organic compound
  • 33. Step 3 Regeneration of น 1. PGAL 10 โมเลกุล เปลี่ยนแปลงไปเป็ RuBP 6 โมเลกุRuBP ล 2. ต้องใช้พลังงานจากการสลายตัวของ ATP
  • 34.
  • 35. ปฏิก ร ิย าไม่ใ ช้แ สง ิ (dark reaction) มีอ ยู่ 3 แนวทาง คือ 1. การสัง เคราะห์แ สงแบบ C3 2. การสัง เคราะห์แ สงแบบ C4 3. การสัง เคราะห์แ สงแบบ
  • 36. The C4 photosynthesis • Bundle sheath cell • Mesophyll cell Photosynthetic cells of C4 plant leaf
  • 37.
  • 38.
  • 39.  First product four carbon compound  1000 species of angiosperm (19 family)  Sugarcane, corn, grass family
  • 40.
  • 41. *Classulacean acid metabolism (CAM) *Carbon fixation in succulent species *Family crassulaceae
  • 43. Succulent species *Cuticle หนา, ใบหนา *Vacuole ใหญ่ *อัตราการคายนำ้าตำ่า ้ *พืนที่ผิว/ปริมาตร : ตำ่า *cactus, pineapple
  • 44. Adaptation to arid - Hot day high light intensity - cool night - dry soil ถ้า ปลูก ในสภาพปกติ แบบ C3 plant ตรึง CO2
  • 45. *The night open stomata Take up CO2 *The day close stoma - Conserve water - prevent CO2 from enter the leaf
  • 46. Mesophyll cell * Store the organic acid (make during the night) * Malic acid vacuole
  • 47. Chloroplast * Light reaction * Organic acid (malic acid) ATP, NADPH CO2 Calvin cycle
  • 48.
  • 49.
  • 50. ปัจ จัย ภายใน *ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ การ        1.1 โครงสร้างของใบ สัง เคราะห์แ สง การเข้าสู่ใบของ CO2 จะยากง่ายไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่ กับ ขนาดและจำานวนของใบ ตำาแหน่งของปากใบ   ปริมาณของช่องว่างระหว่างเซลล์ซงเกิดจากการ ึ่ เรียงตัว ของเนื้อเยื่อเม โซฟิลล์ (Mesophyll) ของใบ ความหนาของชั้นคิวติเคิล เซลล์ผิว (Epidermis) และขนของใบ จะมีผลในการทำาให้คาร์บอนไดออกไซด์ กระจายเข้าสู่ใบได้ไม่เท่ากันเพราะถ้าหนาเกินไปแสงจะ ตกกระทบกับคลอโรพลาสต์ได้นอยลง ้
  • 51. * 1.2 อายุของใบ เมือพิจารณาถึงใบแต่ละใบของพืช    จะพบว่าใบ ่ *        อ่อนสามารถสังเคราะห์แสงได้สูงจนถึงจุดที่ใบแก่ แต่หลังจากนั้น การสังเคราะห์แสงจะลดลงเมื่อใบแก่และเสื่อมสภาพ ใบเหลืองจะไม่ สามารถสังเคราะห์แสงได้ เพราะไม่มคลอโรฟิลล์ ี
  • 52. * 1.3  การเคลื่อนย้ายคาร์โบไฮเดรต            โดยทัวไปนำ้าตาลซูโครสจะเคลื่อนย้ายจาก   Source ่   ไปสู่ Sink  ดังนันมักพบเสมอว่าเมือเอาส่วนหัว เมล็ด  หรือผลที่ ้ ่ กำาลังเจริญเติบโตออกไปจากต้นจะทำาให้การสังเคราะห์แสงลดลง ไป 2-3 วัน     เพราะว่านำ้าตาลจากใบไม่สามารถเคลือนย้ายได้ ่  พืชทีมีอตราการสังเคราะห์แสงสูง   จะมีการเคลื่อนย้ายนำ้าตาลได้ ่ ั สูงด้วย การที่ใบเป็นโรคจะทำาให้พืชสังเคราะห์แสงได้ลดลง เพราะ ว่าใบกลายสภาพเป็น  Sink มากกว่า  Source   แต่ใบที่อยู่ใกล้ กันแต่ไม่เป็นโรคจะมีอัตราการสังเคราะห์แสงเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การเพิม Sink ให้กับต้น เช่นเพิมจำานวนฝักของข้าวโพด เพิ่ม ่ ่ จำานวนผลที่ติด เพิ่มจำานวนหัว จะทำาให้การสังเคราะห์แสงเพิมขึ้น ่
  • 53. 1.4  โปรโตพลาสต์ อัตราการสังเคราะห์แสงจะมีความสัมพันธ์กบการ ั ทำางานของโปรโตพลาสต์มาก เมือพืชขาดนำ้าสภาพคอลลอยด์ของ ่ โปรโตพลาสต์จะอยู่ในสภาพขาดนำ้าด้วยทำาให้เอนไซม์ที่ เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์แสงทำางานได้ไม่เต็มที่   แต่พชแต่ละชนิดโปรโตื พลาสต์จะปรับตัวให้ทำางานได้ดไม่เท่ากัน  ทำาให้อตราการ ี ั สังเคราะห์แสงเปลี่ยนไปไม่เท่ากัน
  • 54. 2.1. ปริมาณของ CO2 ปกติ = 0.03% การสังเคราะห์แสงจะเพิมขึ้น ่ เมือปริมาณของ CO2 ในบรรยากาศเพิ่มขึ้น ยกเว้นเมือปากใบปิด ่ ่ เพราะการขาดนำ้า ความแตกต่างระหว่างพืช C3 และ C4 ในแง่ของ CO2 คือ ถ้าปริมาณของ  CO2 ลดลงตำ่ากว่าสภาพบรรยากาศปกติแต่แสงยัง อยู่ในระดับความเข้มเหนือจุด    Light Compensation  พบว่า พืช C3 จะมีการสังเคราะห์แสง เป็น 0  ถ้ามีความเข้มข้นของ CO2  50-100 ส่วนต่อล้าน แต่พช C4 จะยังคงสังเคราะห์แสงได้ต่อไป ื แม้ CO2  จะตำ่าเพียง 0-5 ส่วนต่อล้านก็ตาม ความเข้มข้นของ CO2 ที่จุดซึ่งอัตราการสังเคราะห์แสงเท่ากับอัตราการหายใจเรียกว่า CO2 Compensation   Point   ข้าวโพดมี   CO2 Compensation Point อยู่ที่ 0 ส่วนต่อล้าน ในขณะที่ทานตะวัน มีค่าถึง 50 ส่วนต่อล้าน *             
  • 55. *การเพิ่มความเข้มข้นของ คาร์บอนไดออกไซด์ให้สูงขึ้นไป เรื่อย ๆ   จะมีผลทำาให้เกิดการ สังเคราะห์แสงได้มากขึ้น   แต่ เมื่อเพิ่มขึนสูงถึง 0.5 ้  เปอร์เซ็นต์  พืชจะมีการ สังเคราะห์แสงได้มากขึ้น      แต่ พืชจะทนได้ระยะหนึ่ง คือ ประมาณ 10-15 วัน หลังจาก นั้นพืชจะชะงักการเจริญเติบโต
  • 56. 2.2 ความเข้มของแสง หรือปริมาณพลังงานแสงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่  ซึ่งมีหน่วยเป็นลักซ์ (Lux) (10.76 lux = 1 ft-c)  ในแต่ละท้องที่ จะมีความเข้มของแสงไม่เท่ากัน ซึ่งทำาให้พชมีการปรับตัวทาง ื พันธุกรรมต่างกัน  การสังเคราะห์แสงของพืชโดยทั่วไปจะดีขึ้นเมือ ่ พืชได้รับความเข้มของแสงมากขึน  เมือพืชได้รับความเข้มของแสง ้ ่ ตำ่ากว่าที่พชต้องการพืชจะมีอัตราการสังเคราะห์แสงตำ่าลง แต่อัตรา ื การหายใจของพืชจะเท่าเดิม  เมื่ออัตราการสังเคราะห์แสงลดตำ่าลง จนทำาให้อัตราการสร้างอาหารเท่ากับอัตราการใช้อาหารจากการ หายใจ
  • 57. 2.3 ความยาวของช่วงที่ได้รับแสง (Light Duration)  เมือช่วง ่ เวลาที่ได้รับแสงยาวนานขึ้น อัตราการสังเคราะห์แสงจะเพิ่มขึ้น ด้วย  โดยเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความยาวของวัน  ดังนั้นการเร่ง การเจริญเติบโตของพืชในเขตหนาวซึ่งในช่วงฤดูหนาวจะมีวันที่ สั้นจึงจำาเป็นต้องให้แสงเพิมกับพืชที่ปลูกในเรือนกระจก ่
  • 58.
  • 59. 2.4 คุณภาพของแสง (Light quality)  แสงแต่ละสีจะมีคณภาพ ุ หรือขนาดของโฟตอนหรือพลังงานที่ไม่เท่ากัน จึงทำาให้เกิดจาก เคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนได้ไม่เท่ากัน ขนาดของโฟตอนจะต้องพอดี กับโครงสร้างของโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ ถ้าหากไม่พอดีกันจะต้อง มี Accessory  pigment  มาช่วยรับแสง  โดยมีลักษณะเป็นแผง รับพลังงาน  (Antenna system) แล้วส่งพลังงานต่อไปให้คลอโร ฟิลล์ เอ ดังกล่าวมาแล้ว ในสภาพธรรมชาติ เช่น ในป่าหรือท้อง ทะเลลึก  แสงที่พชสามารถใช้ประโยชน์ในการสังเคราะห์แสงได้ ื มักจะถูกกรองเอาไว้โดยต้นไม้ที่สูงกว่าหรือแสงดังกล่าวไม่สามารถ ส่องลงไปถึง   พืชเหล่านี้มักจะได้รับแสงสีเขียวเท่านั้น      พืช เหล่านี้หลายชนิดจะพัฒนาระบบให้มรงควัตถุซึ่งสามารถนำาเอา ี พลังงานจากแสงสีเขียวมาใช้ประโยชน์ได้
  • 60. ิ * 2.3. อุณหภูม      ช่วงอุณหภูมิที่พืชสังเคราะห์แสงใบของ พืชชั้นสูงทั่ว ๆ ไป อาจจะมีอุณหภูมสูงถึง 35 องศาเซลเซียส ใน ิ ขณะได้รับแสง   แต่การสังเคราะห์แสงก็ยังดำาเนินต่อไปได้   ผล ของอุณหภูมต่อการสังเคราะห์แสงจึงขึ้นกับชนิดของพืชและสภาพ ิ แวดล้อมที่พืชเจริญเติบโต เช่น พืชทะเลทราย จะมีอุณหภูมเหมาะ ิ สมสูงกว่าพืชในเขตอาร์คติก พืชที่เจริญได้ดในเขตอุณหภูมสูง ี ิ เช่น ข้าวโพด    ข้าวฟ่าง ฝ้าย และถั่วเหลืองจะมีอุณหภูมิที่เหมาะ สมสูงกว่าพืชที่เจริญได้ดในเขตอุณหภูมิตำ่า เช่น   มันฝรั่ง ข้าวสาลี ี และข้าวโอ๊ต โดยทั่วไปอุณหภูมิเหมาะสมในการสังเคราะห์แสงของ พืชแต่ละชนิดจะใกล้เคียงกับอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมตอนกลาง วันในเขตนั้น ๆ ื ุ ิ * ตามปกติพช C4 จะมีอณหภูมเหมาะสมต่อการสังเคราะห์แสงสูง กว่าพืช C3     ค่า Q10  ของการสังเคราะห์แสงประมาณ  2-3   และอุณหภูมจะมีผลกระทบต่อ Light  Reaction น้อยมาก เมือ ิ ่ เทียบกับ Enzymatic Reaction
  • 61. ่ * 2.4. นำ้า  จะเกี่ยวข้องกับการปิดเปิดของปากใบ  และเกียวข้องกับ การให้อิเล็กตรอน เมือเกิดสภาวะขาดแคลนนำ้า  พืชจะคายนำ้าได้ ่ เร็วว่าการดูดนำ้าและลำาเลียงนำ้าของราก   ทำาให้ต้นไม้สูญเสียนำ้า อย่างรวดเร็ว    ทำาให้การทำางานของเอนไซม์ต่าง ๆ ผิดปกติ และ ต่อมาปากใบจะปิด การขาดแคลนนำ้าที่ตำ่ากว่า 15 เปอร์เซ็นต์  อาจ จะยังไม่มผลกระทบกระเทือนต่ออัตราการสังเคราะห์แสงมากนัก ี แต่ถ้าเกิดสภาวะขาดแคลนถึง  15 เปอร์เซ็นต์แล้วจะทำาให้ปากใบ ปิดจึงรับคาร์บอนได ออกไซด์ไม่ได้
  • 62. 2.5. ธาตุอาหาร                  เนื่องจากคลอโรฟิลล์มแมกนีเซียมและไนโตรเจนเป็น ี ธาตุที่อยู่ในโมเลกุลด้วย ดังนั้นหากมีการขาดธาตุทั้งสองจะทำาให้ การสังเคราะห์แสงลดลง
  • 63.
  • 64. 1. เป็นกระบวนการสร้างอาหารเพื่อการดำารงชีวิตของ พืช 2. เป็นกระบวนการซึ่งสร้างสารประกอบชนิดอื่น ซึ่ง จำาเป็นต่อกระบวนการเจริญเติบโตของพืช 3. เป็นกระบวนการซึ่งให้ก๊าซออกซิเจนแก่บรรยากาศ 4. ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ให้อยู่ในสภาวะสมดุล