SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 12
การสังเคราะห์ด้วยแสง
โดย
นางสาวอุไร โยธะคง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช แบ่งออกเป็ น
2 ขั้นตอนใหญ่ คือ
1. ปฏิกิริยาแสง (light reaction)
2. การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (cabondioxide fixation)
หรือ การตรึงคาร์บอน (carbon fixation)
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
คลอโรพลาสต์ของพืชส่วนใหญ่จะมีรูปร่างกลมรี ยาว 5
ไมโครเมตร กว้าง 2 ไมโครเมตร หนา 1-2 ไมโครเมตร พบได้
มากในเซลล์ของใบ
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
คลอโรพลาสต์ ประกอบด้วย เยื่อหุ้ม 2 ชั้น ภายในมี
ของเหลว เรียกว่า สโตรมา (stroma) มีไทลาคอยด์
(taylakoid)เยื่อที่พับเหมือนถุงทับซ้อนกันเป็ นชั้นๆแต่ละชั้น
เรียกว่า กรานุม (granum)เยื่อที่ไม่ทับซ้อนกันอยู่ระหว่างกรานุม
เรียกว่า สโตรมาลาเมลลา ในไทราคอยด์เป็ นถุงมีช่องเรียกว่า ลู
เมน (lumen)
โครงสร้างและส่วนประกอบของคลอโรพลาสต์
สารสีในปฏิกิริยาแสง
คลอโรฟิลล์มี 2 ชนิด คือ คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์บี
คลอโรฟิลล์เอจะดูดกลืนแสง 2 ช่วง คือ 450 กับ 680 นา
โนเมตร แต่ไม่ดูดกลืนแสงในช่วง 500 – 600 นาโนเมตร
คลอโรฟิลล์บีและแคโรทีนอยด์ ดูดกลืนแสงในช่วงอื่นๆที่
แตกต่างกันไป
นอกจากคลอโรฟิลล์แล้วยังมีแคโรทีนอยด์ (carotenoid)
ไฟโคบิลิน (phycobilin) และ แบคเทอริโอคลอโรฟิลล์
แคโรทีนอยด์เป็ นสารประกอบประเภทลิพิดประกอบด้วย
สารสี 2 ชนิด คือ แคโรทีน มีสารสีแดงหรือส้ม และแซนโทฟิลล์
มีสารสีเหลืองหรือน้าตาล อยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สังเคราะห์แสง
ได้
ไฟโคบิลิน มีในสาหร่ายสีแดงและไซยาโนแบคทีเรีย
ประกอบด้วยสารสี 2 ชนิด คือไฟโคอีรีทริน เป็ นสารสีแดงแกม
น้าตาล และไฟโคไซยานิน สารสีเขียวแกมน้าเงิน เป็ นกลุ่มโปรตีนที่
ฝังตัวเองอยู่ในไทลาคอยด์ ทาหน้าที่รับพลังงานแสงแล้วส่งไปยัง
คลอโรฟิลล์เอชนิดพิเศษ ที่เป็ นศูนย์กลางปฏิกิริยา หรือที่เรียกว่า
แอนเทนนา
***ข้อควรจา***
คลอโรฟิลล์จะดูดแสงสีน้าเงินได้ดีที่สุด รองลงมาคือแสงสีแดง
แต่สามารถดูดแสงสีเขียวได้น้อยที่สุด
แอนเทนนา
ประกอบด้วยสารสี 350 โมเลกุล ซึ่งจะมีตัวรับ
อิเล็กตรอนที่ เรียกว่า ระบบแสง (photosystem ; PS) ซึ่งในพืช
ชั้นสูงจะมีระบบแสง 2 ชนิด คือ ระบบแสง I ; (photosystem ;
PSI) และระบบแสง II (photosystem ; PSII)
ระบบแสง I รับพลังงานแสงขั้นต่าที่สุดที่ความยาวคลื่น
700 นาโนเมตร หรือ P 700 ส่วนระบบแสง II รับพลังงานแสง
ขั้นต่าที่สุดที่ความยาวคลื่น 680 นาโนเมตร หรือ P 680
ปฏิกิริยาแสง
เป็ นการเปลี่ยนพลังงานแสงไปยังตัวรับอิเล็กตรอนทาให้เกิด
การสร้างพลังงานเคมี การถ่ายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นได้ 2
ลักษณะคือ การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็ นวัฏจักร (non-
cyclie electron transfer)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็ นวัฏจักร (cyclie electron
transfer)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็ นวัฏจักร
เป็ นกระบวนการที่ต้องการแสง ซึ่งอิเล็กตรอนจากน้าจะ
เคลื่อนที่ทาให้เกิด O2 และอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านตัวรับ
อิเล็กตรอนหลายตัว จนถึง NADP แล้วเกิด NADPH ขึ้น
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนชนิดนี้เกิดขึ้นเป็ นส่วนใหญ่
เป็ นการเคลื่อนที่ที่จะสูญเสียอิเล็กตรอนไป จานวน ATP จะ
เกิดขึ้น 2 โมเลกุลต่อการเกิด NADPH 2 โมเลกุล ในขณะที่การ
รีดิวซ์ CO2 1 โมเลกุลต้องใช้ ATP 3 โมเลกุล และ NADPH 2
โมเลกุล
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็ นวัฏจักร
(non-cyclie electron transfer)
Fd
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็ นวัฏจักร
เป็ นกระบวนการที่ต้องการแสงและคลอโรพลาสต์ และ
สังเคราะห์ ATP ได้ แต่ไม่เกิดNADPH อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่
จาก Photosystem I ไปยัง
เฟอริดอกซิน แต่เฟอริดอกซินจะส่งอิเล็กตรอนกลับมาที่ไซโต
โครม บี อีก แล้วกลับไป Photosystem I ดังนั้น จึงไม่มีการ
สูญเสียอิเล็กตรอนไปจานวน ATP ที่เกิดต่ออิเล็กตรอนไม่
สามารถวัดได้แน่นอน
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็ นวัฏจักร
(cyclie electron transfer)
Fd
Fd
e-
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
ในปี พ.ศ.2493 เมลวิน คัลวิน กับแอนดรู เอ เบนสัน ทา
การทดลองคลอเรลลา พบว่า จะมีคาร์บอน 3 อะตอมเกิดขึ้น คือ
ฟอสโฟ กลีเซอเรต (phosphoglycerate) หรือ PGA ซึ่ง PGA เป็ น
น้าตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม คือ ไรบูโลส 1,5 –บิสฟอสเฟต
(RuBP) ซึ่งเมื่อรวมตัวกับคาร์บอนจะได้สารประกอบตัวใหม่ที่มี
คาร์บอน 6 อะตอม เรียกกระบวนการนี้ว่า การตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งต่อมาเรียกว่า วัฏจักรคัลวิน (calvin
cycle) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้
การสังเคราะห์แสง เป็นการนาเอา ATP และ NADPH ที่
ได้จากการไหลของอิเล็กตรอนมาใช้ในการรีดิวซ์ CO2
1. คาร์บอกซิเลชัน (carboxylation) ในระยะนี้เป็น
ที่ CO2 จะรวมกับRuBP (ribulose-1,5-bisphosphte)น้าตาลที่มี
คาร์บอน 5 อะตอมโดยมีเอนไซม์ rubisco เป็นตัวเร่ง
จะได้คาร์บอน 6 อะตอม แต่ไม่เสถียรจะสลายเป็นฟอสโฟกลี
เซอเรต (PGA) ซึ่งมีคาร์บอน 3 อะตอม จานวน 2 โมเลกุล
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 1โมเลกุล ซึ่งเป็นสารที่เสถียรตัว
แรกนั้นเอง
2. รีดักชัน (reduction) PGA จะรับหมู่ฟอสเฟตจาก ATP
กลายเป็ น 1,3-bisphosphoglycerate จะถูกรีดิวซ์เป็ นน้าตาล
คาร์บอน 3 อะตอม เมื่อรับอิเล็กตรอนจาก NADPH คือ
glyceraldehyde 3-phosphate ; G3P จะได้น้าตาลชนิดแรกที่
เกิดขึ้นในวัฏจักรคัลวิน
3. รีเจเนอเรชัน (regeneration) ในขั้นตอนนี้ RuBP จะ
เกิดขึ้นมาใหม่เพื่อใช้ในการรวมกับCO2ต่อไป โดย RuBP ซึ่ง
มีคาร์บอน 5 อะตอม จะต้องอาศัย G3P ที่มีคาร์บอน 3
อะตอม ซึ่งต้องอาศัย ATP จากปฏิกิริยาแสงช่วยด้วย
ผลิตภัณฑ์สุดท้ายของการสังเคราะห์แสงคือ น้าตาลถูก
นาไปสังเคราะห์เป็ นไขมัน กรดอะมิโน และกรดอินทรีย์
เป็ นกระบวนการที่พืชสูญเสียคาร์บอน ทาให้พืชสร้างอาหาร
ได้น้อยลงเกิดในพืช สาหร่าย เกือบทั้งหมด ยกเว้นพืชพวก C4
และ CAM เกิดจากเอนไซม์ Rubisco สามารถคะตะไลซ์ ได้ทั้ง
ปฏิกิริยา RuBP + CO2 และปฏิกิริยา RuBP + O2 กระบวนการนี้
จะเป็ นการช่วยป้ องกันความเสียหายของระบบสังเคราะห์ด้วยแสง
ให้น้อยลงด้วย
photorespiration
ปฏิกิริยาการตรึง CO2 และ ตรึง O2 โดยเอนไซม์ Rubisco
RuBP
PGA (2 โมเลกุล)
PGA (1 โมเลกุล)
+ 2-phosphoglycolate
(1 โมเลกุล)
+ CO2
+ O2
CO2 และ O2 จะแก่งแย่งกันเพื่อทาปฏิกิริยากับ RuBP
บนตาแหน่งเร่ง (active sites) ของเอนไซม์ Rubisco
กลไกลการเพิ่มความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4
พืชโดยทั่วไปสารที่เสถียรชนิดแรกเป็ นสารที่มีคาร์บอน
3 อะตอม คือ PGA ในวัฏจักรคัลวิน หรือพืช C3
ต่อมานักวิทยาศาสตร์ค้นพบพืชบางชนิดที่มีสารเสถียร
ชนิดแรกเป็ นคาร์บอน 4 อะตอม หรือพืช C4
โครงสร้างของใบพืช C3
พืช C3 มีเซลล์ในมีโซฟิลล์ 2 ชนิด คือ แพลิเซดมีโซฟิลล์
และ
สปันจีมีโซฟิลล์ จะพบคลอโรพลาสต์ในมีโซฟิลล์ทั้ง 2 ชนิด
ชัดเจน อาจมีหรือไม่มีบันเดิลชีลก็ได้ และมักไม่พบคลอโรพลาสต์
ใน
บันเดิลชีท
โครงสร้างของใบพืช C4
พืช C4 พบว่ามีโซฟิลล์เป็ นเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกัน มี
คลอโรพลาสต์ในมีโซฟิลล์ และบันเดิลชีทชัดเจน
พืชส่วนใหญ่ในโลกจะเป็ นพืช C3 ส่วนพืช C4 มักพบในเขต
ร้อนหรือกึ่งร้อนมีประมาณ 1,500 ชนิด เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย
หญ้าแพรก หญ้าแห้วหมู ผักโขมจีน และบานไม่รู้โรย เป็ นต้น
โครงสร้างของใบพืช C3 และ ใบพืช C4
• C4 cycle หรือ C-4 Dicarboxylic Acid Pathway
• พืช C4 มีการสังเคราะห์แสงได้อย่างเร็ว และมีประสิทธิภาพ
มาก ใบของพืช C4 จะมีเมโซฟิลล์ (Mesophyll) และบันเดิล ชีท
(Bundle Sheath) รอบ ๆ ท่อน้าท่ออาหาร
• พืช C4 มีเซลล์พิเศษเรียกว่า Bundle Sheath
• การเกิดกรดมาลิกและกรดแอสพาติกจะเกิดในเมโซฟิลล์ ส่วน 3-
PGA น้าตาลซูโครสและแป้ งจะสังเคราะห์ใน Bundle Sheath
• Calvin Cycle ของพืช C4 เกิดอยู่ใน Bundle Sheath PEP
Carboxylase จะปรากฏอยู่ในเมโซฟิลล์ ดังนั้นพืช C4 จึงมีการจับ
CO2 2 แบบ
พืช C 4
ครั้งแรก เกิดขึ้นที่เซลล์มีโซฟิลล์ เป็ นการตรึงคาร์บอนใน
รูปของสารประกอบอนินทรีย์ของไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน
โดยฟอสโฟอีนอลไพรูเวต หรือกรดฟอสโฟอีนอลไพรูวิก (PEP)
ซึ่งเป็ นสารคาร์บอน 3 อะตอม ได้เป็ นออกซาโลแอซิเตต หรือ
กรดออกซาโลแอซิติก (OAA) ซึ่งมีคาร์บอน 4 อะตอม เป็ น
สารประกอบชนิดแรกที่เสถียร จึงเรียกว่าพืช C4 จากนั้น OAA
จะถูกเปลี่ยนเป็ นมาเลต (malate) หรือ กรดมาลิก (malic acid)
แล้วลาเลียงผ่านพลาสโมเดลมาตาเข้าสู่เซลล์บันเดิลชีท
การตรึงคาร์บอนของพืช C4
การตรึงคาร์บอนของพืช C4
ครั้งที่สอง เกิดขึ้นในเซลล์บันเดิลชีท โดยมาเลตที่ถูก
ลาเลียงจากเซลล์มีโซฟิลล์เข้ามาสู่เซลล์มาบันเดิลชีลจะถูก
สลายไปเป็ น ไพรูเวตและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งแก๊ส
คาร์บอนจะเข้าสู่
วัฏจักรคัลวินในคลอโรพลาสต์ของเซลล์บันเดิลชีท ส่วนไพรูเว
ตจะถูกส่งผ่านพลาสโมเดลมาตาไปยังเซลล์มีโซฟิลล์เพื่อ
เปลี่ยนเป็ น PEP โดยใช้พลังงาน ATP
Copyright © 2002 Pearson Education, Inc., publishing as Benjamin Cummings
Fig. 10.18
Copyright © 2002 Pearson Education, Inc., publishing as Benjamin Cummings
Fig. 10.18
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของพืช CAM
พืชตระกูลครัสซูลาซีอี(Crussulaceae) เช่น กระบองเพชร
จึงเรียกว่าพืช ซีเอเอ็ม (Crussulacean Acid Metabolism หรือ
CAM)แต่ในปัจจุบันพบว่าสามารถพบได้ในพืชวงศ์ อื่นๆ เช่น
กล้วยไม้ สับปะรด ว่านหางจระเข้ และ ศรนารายณ์
เป็ นพืชที่อยู่ในสภาพแห้งแล้งหรือในทะเลทราย ช่วง
กลางวันอุณหภูมิสูงและความชื้นต่าพืชจะสูญเสียน้าได้ง่าย พืชจึง
มีการปรับตัวเพื่อลดอัตราการสูญเสียน้า โดยการลดรูปใบให้มี
ขนาดเล็กลงเพื่อลดการคายน้า และปิ ดรูปากใบในเวลากลางวัน
เพื่อป้ องกันการคายน้า หรือมีลาต้นหรือใบอวบน้าเพื่อจะสงวนและ
รักษาน้าไว้ในกระบวนการต่างๆการตรึง C
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของพืช CAM
พืชในกลุ่มนี้เจริญได้ดีในที่แห้งแล้ง เนื่องจากมีวิวัฒนาการที่จะลด
การสูญเสียน้าได้ โดยกลางวันปากใบปิ ด ทาให้ CO2 ไม่สามารถเข้าทาง
ปากใบได้ กลางคืนปากใบเปิ ด ทาให้ CO2เข้าทางปากใบได้
กระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
ในเวลากลางคืนมีอุณหภูมิต่าและความชื้นสูง ปากใบเปิ ด
CO2 จะเข้าทางปากใบไปยังเซลล์มีโซฟิลล์ สารประกอบ PEP
(phosphoenolpyruvic acid ) จะตรึง CO2 ไว้แล้วเปลี่ยนเป็ นสาร
OAA ( oxaloacetic acid ) ซึ่งมี C 4 อะตอม จากนั้น OAA จะ
เปลี่ยนเป็ นกรดมาลิก ( malic acid ) และเคลื่อนย้ายมาสะสมไว้ใน
แวคิวโอล
กลางคืน
กระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
ในเวลากลางวันเมื่อเริ่มมีแสง ปากใบจะปิ ดเพื่อลดการ
สูญเสียน้า กรดมาลิกจะถูกลาเลียงจากแวคิวโอลเข้าสู่คลอโรพ
ลาสต์ มีกระบวนการปล่อย CO2 จากกรดมาลิก และ CO2 จะถูก
ตรึงเข้าสู่วัฎจักคัลวินเพื่อนาไปสร้างเป็ นน้าตาลกลูโคสต่อไป
กลางวัน
เมื่อนาพืชมาตรวจสอบปริมาณน้าที่ใช้เปรียบเทียบกับ
น้าหนักแห้งของพืช 1 กรัม พบว่า พืช CAM จะใช้น้าประมาณ
50 – 55 กรัม พืช C4 ใช้น้าประมาณ 250 – 350 กรัม ในขณะ
ที่พืช C3 ใช้น้าถึง 450 – 950 กรัม ซึ่งพืช CAM ใช้น้าน้อย
ที่สุดต่ออัตราการเจริญเติบโตที่เท่ากันจึงสามารถมีชีวิตรอดอยู่
ในสภาพแวดล้อมที่มีน้าน้อย หรือขาดแคลนน้าได้ดีกว่าพืช C4
หรือ พืช C3
ข้อควรจา
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชแต่ละชนิดมี
ประสิทธิภาพแตกต่างกัน
- พืชส่วนใหญ่ เช่น ข้าวเจ้า ข้าวบาร์เล่ย์ และถั่วต่างๆ
เรียกว่าพืช C3
- พืชบางชนิด เช่น ข้าวโพด อ้อย ข้าวฟ่าง เรียกว่าพืช C4
พืช C4 จะมีประสิทธิภาพในการตรึง CO2 มากกว่าพืช C3
เนื่องจากมีครอโรพลาสในบันเดิลชีทเซลล์
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. แสงและความเข้มของแสง
แสงอาทิตย์ที่ส่องลงมายังโลกมีปริมาณแตกต่างกันไป
ขึ้นกับตาแหน่งบนพื้นโลกและฤดูกาล แสงบางส่วนจะถูกดูดและ
สะท้อนโดยบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก แสงที่สามารถผ่านบรรยากาศ
มากระทบผิวใบ พืชสามารถดูดกลืนไว้ได้เพียงร้อยละ 40 จะเกิด
การสะท้อนและส่องผ่านไปร้อยละ 8 และสูญเสียไปในรูปความ
ร้อนร้อยละ 8 มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่พืชนาไปใช้สร้าง
คาร์โบไฮเดรตด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงส่วนอีกร้อย
ละ 19 นั้น สูญเสียไปในกระบวนการเมแทบอลิซึมของพืช
กระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชที่
ได้รับผลกระทบจากความเข้มของ
แสง มีหลายกระบวนการดังต่อไปนี้
- การสังเคราะห์แสง
(photosynthesis) การสังเคราะห์
แสงของใบจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อ
ปริมาณแสงเพิ่มมาก
- การหายใจ (respiration)
พืชที่เติบโตอยู่ในสภาพที่มีแสงน้อย
มักจะมีอัตราการหายใจต่า ความ
เข้มของแสงที่ทาให้อัตราการ
สังเคราะห์แสงมีค่าเท่ากับอัตราการ
หายใจ เรียกว่า compensation
point
ความเข้มของแสง
- การสืบพันธุ์ (reproduction) พืชหลายชนิดจะไม่มีการ
ออกดอก หากอยู่ในสภาพที่มีความเข้มแสงต่า
- การผลิตฮอร์โมน (production of growth hormone)
แสงมีผลทาให้ออกซินที่สร้างขึ้นในพืชเสื่อมสภาพ เรียก
กระบวนการที่เกิดขึ้นนี้ว่า โฟโตออกซิเดชัน
และพบว่าพืชที่ขึ้นในที่มืดจึงมักมีการยืดยาวของลาต้น
ส่วนการเบนหาแสงของพืช เรียกว่า โฟโตโทรปิซึม
(phototropism)
ความเข้มของแสง
2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง หากปริมาณแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์มาก อัตราการสังเคราะห์แสงจะ
เพิ่มขึ้น แต่เมื่อปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ตั้งแต่
0.1% ขึ้นไป อัตราการสังเคราะห์จะคงที่
3. อุณหภูมิ อุณหภูมิมีผลต่อการสังเคราะห์แสง เนื่องจาก
ปฏิกิริยาต่างๆ ของการสังเคราะห์แสงอาศัย
เอนไซม์ต่างๆ เป็ นคะตะลิสต์ ดังนั้นถ้าอุณหภูมิ
เหมาะสมต่อการทางานของเอนไซม์ต่างๆ จะทา
ให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นสูงสุด
โดยทั่วไปพืชแต่ละชนิดจะมีช่วงอุณหภูมิที่
เหมาะสมตามแต่เขตภูมิภาค ถ้าอุณหภูมิสูงหรือ
ต่าเกินไปจะมีผลให้การทางานเอนไซม์เปลี่ยนไป
อุณหภูมิ
อัตราการสังเคราะห์แสง
4. ปริมาณน้าที่พืชได้รับ
5. อายุของใบพืช
น้า ถือเป็ นวัตถุดิบที่จาเป็ นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง (แต่ต้องการประมาณ 1% เท่านั้น จึงไม่สาคัญมากนักเพราะ
พืชมีน้าอยู่ภายในเซลล์อย่างเพียงพอ) อิทธิพลของน้ามีผลต่อ
กระบวน
การสังเคราะห์ด้วยแสงทางอ้อม คือ ช่วยกระตุ้นการทางานของ
เอนไซม์
ใบจะต้องไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป ทั้งนี้เพราะในใบอ่อน
คลอโรฟิลล์ยังเจริญไม่เต็มที่ ส่วนใบที่แก่มากๆ คลอโรฟิลล์จะ
สลายตัวไปเป็ นจานวนมาก
ธาตุแมกนีเซียมและไนโตรเจนเป็ นธาตุสาคัญใน
องค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ การขาดธาตุเหล่านี้ส่งผลให้พืชเกิด
อาการใบเหลืองซีดที่เรียกว่า คลอโรซิส (chlorosis) เนื่องจากใบ
ขาดคลอโรฟิลล์
ธาตุเหล็กจาเป็ นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์และเป็ น
องค์ประกอบของไซโทโครมซึ่งเป็ นตัวถ่ายอิเล็กตรอน
ส่วนธาตุแมงกานีสและคลอรีนจาเป็ นต่อกระบวนการแตก
ตัวของน้าในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง
การขาดธาตุอาหารต่างๆ ที่กล่าวมานี้จะมีผลให้อัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงลดลงด้วย
6. สารอาหาร
การปรับตัวของพืชเมื่อรับแสง
ให้นักเรียนย่อตั้งแต่หน้า 108 - 111

More Related Content

What's hot

ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์พัน พัน
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
Wuttipong Tubkrathok
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
Thanyamon Chat.
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
Thitaree Samphao
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 

What's hot (20)

ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
Pasit Suwanichkul
 

Viewers also liked (15)

เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similar to บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
Y'tt Khnkt
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
Aimie 'owo
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
Thanyamon Chat.
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
Manee Mukhariwattananon
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
BoviBow
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
appseper
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
kasidid20309
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
kasidid20309
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
Thanyamon Chat.
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
kkrunuch
 

Similar to บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง (20)

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
 

บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง