SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การตรึงคาร์บอนไดออกไซค์ของพืช C4
พืช C4 ปรับตัวโดยมีการตรึง CO2 2 ครั้ง ครั้งแรก เกิดขึ้น
ที่มีโซฟิลล์ (Mesophyll) มีการตรึงCO2 จากบรรยากาศเข้า
สู่มีโซฟิลล์ใช้ Phosphoenol pyruvate (PEP: C3) เป็นสาร
ตั้งต้น และโดยใช้เอนไซม์ PEP Carboxylase เป็นเอนไซม์
เร่งปฏิกิริยา ได้ Oxaloacetate (OAA: C4) แล้วเปลี่ยนเป็น
Malate (C4) แล้ว Malate กลับไปเป็น PEP เพื่อให้ได้ CO2
ออกมา
การตรึงคาร์บอนไดออกไซค์ของพืช CAM
พืช CAM (Crassulacean Acid Metabolism)
คือพืชทนแล้งและอวบน้า จะปรับตัวโดย
จะตรึง CO2 ตอนกลางคืน เข้ากับ PEP ด้วย
PEP carboxylase ได้ OAA ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น
Malic acid แล้วเก็บไว้ใน vacuole จนถึงเวลา
กลางวัน malic acid ก็จะปล่อย CO2 เข้า calvin
cycle ใน chloroplast ต่อไป ความเข้มข้นของ
CO2 จึงสูงตลอดเวลา
ตัวอย่างพืชแต่ละชนิด
พืช C3
พืชทั่วๆไป เช่น มะม่วง กล้วย ข้าวเจ้า ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว มีจานวน
มากกว่า 90% ในโลก
พืช C4
พืชเมืองร้อน เช่น อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง เป็นต้น
พืช CAM (Crassulacean Acid Metabolism)
พืชที่สามารถเจริญเติบโตในที่แห้งแล้ง เช่น กระบองเพชร สับปะรด ป่านศรนารายณ์
(Agave) กล้วยไม้ กุหลาบหิน เป็นต้น
ลักษณะ พืช C3 พืช C4 พืช CAM
ช่วงเวลาที่เกิดกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
กลางวัน กลางวัน กลางวัน
จานวนครั้งในการตรึง CO2 1 ครั้ง 2 ครั้ง 2 ครั้ง
การตรึง CO2 จากอากาศ
- เอนไซม์ที่ใช้
- สารตั้งต้นที่ใช้
- ผลิตภัณฑ์ที่เกิด
- ช่วงเวลาที่เกิด
Rubisco
RuBP
PGA (C3)
กลางวัน
PEP carboxylase
PEP
OAA (C4)
กลางวัน
PEP carboxylase
PEP
OAA (C4)
กลางคืน
เซลล์ที่เกิด Calvin cycle Mesophyll Bundle sheath Mesophyll
อัตราการเกิด Photorespiration สูง ต่า ต่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ในการทดลองวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง มักวัดจากการตรึง CO2 ตรึงมากก็
แสดงว่าเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงมาก โดยปัจจัยที่มีผลได้แก่
1. ความยาวคลื่นแสง – แสงสีน้าเงินและสีแดงทาให้สังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี
2. ความเข้มแสง และอุณหภูมิ
3. ปริมาณ CO2
4. ปริมาณ O2 - มีผลเฉพาะในพืช C3 (Photorespiration)
5. ปริมาณน้าในดิน
6. อายุใบ
7. ธาตุอาหาร
การลาเลียงสารของพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊สของพืช
แก๊สต่างๆที่พืชต้องการ เช่น CO2 O2 ethylene หรือ ไอน้า จะแลกเปลี่ยนกับพืชด้วย
การแพร่ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
การคายน้า คือการสูญเสียน้าในรูปแก๊สผ่านทางปากใบ โดยปัจจัยที่ทาให้พืชคายน้า
คือ อุณหภูมิ อากาศแห้ง ลมพัดแรง ความเข้มแสงมาก แต่ถ้ามากเกินไปจะทาให้พืชสูญเสีย
น้ามากเกินไปจะทาให้พืชสูญเสียน้าเกินความจาเป็น ปากใบก็จะปิดเพื่อสงวนน้าเอาไว้
การลาเลียงสารของพืช
การเปิดปิดของปากใบ ถูกควบคุมโดยแสงและ K+
ตอนเช้า แสงจะกระตุ้นให้ K+ แพร่เข้าเซลล์คุม ในเซลล์จึงเข้มข้น น้าจึงแพร่เข้า
เซลล์คุม ปากใบจึงเปิด เมื่อมีแก๊สและแสง เซลล์คุมจึงสังเคราะห์ด้วยแสงได้น้าตาล ในเซลล์
จึงยิ่งมีความเข้มข้น ปากใบจึงยิ่งเปิด ตอนเย็น แสงหมด ความเข้มข้นในเซลล์ จึงน้อยลง
การเปิดปิดของปากใบทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส และในขณะเดียวกันก็ต้อง
สูญเสียไอน้าภายใน mesophyll เมื่อพืชขาดน้าหรือน้าในดินมีน้อย ฮอร์โมน abscisic acid
จะควบคุมให้ปากใบปิด แม้ว่าจะมีแสงก็ตาม
*** น้าในดินน้อย ปากใบปิด ลดการคายน้า น้าในอากาศน้อย (อากาศแห้ง) เพิ่มการ
คายน้า
การลาเลียงสารของพืช
การดูดแร่ธาตุของพืช
เกิดที่ขนราก ให้ทั้งแบบ passive และ active transport เซลล์บริเวณนี้จึงพบ
mitochondria มาก และต้องได้รับ O2 อย่างเพียงพอ active transport ทาให้พืชสะสมธาตุ
บางชนิดในรากได้ ธาตุอาหารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. ธาตุอาหารหลัก (Macronutrients) ที่พืชต้องการมากมี 9 ชนิด คือ C H O N P K
Ca Mg S
2. ธาตุอาหารรอง (Micronutrients) ที่พืชต้องการน้อยมี 9 ชนิด คือ B Fe Cu Zn
Mn Mo Cl Ni Si
การลาเลียงสารของพืช
การลาเลียงน้าและอาหารของพืช
การลาเลียงสารของพืช
การลาเลียงน้าและอาหารของพืช
การลาเลียง Xylem Phloem
ลำเลียงอะไร นำและแร่ธำตุ นำซูโครส
กลไกยังไง Transpiration pull ในท่อกลวง Cytoplasmic streaming ในท่อตัน
โดยเซลล์อะไร Vessel และ Tracheid Sieve tube member
ใช้พลังงำนหรือไม่ ไม่ใช้ ใช้
จำกไหนไปไหน รำกไปยอด แหล่งสร้ำงไปยังแหล่งที่ต้องกำร
การสังเคราะห์ด้วยแสง

More Related Content

Similar to กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam

2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)Kriangkasem
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 

Similar to กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam (20)

2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 

กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam

  • 1. การตรึงคาร์บอนไดออกไซค์ของพืช C4 พืช C4 ปรับตัวโดยมีการตรึง CO2 2 ครั้ง ครั้งแรก เกิดขึ้น ที่มีโซฟิลล์ (Mesophyll) มีการตรึงCO2 จากบรรยากาศเข้า สู่มีโซฟิลล์ใช้ Phosphoenol pyruvate (PEP: C3) เป็นสาร ตั้งต้น และโดยใช้เอนไซม์ PEP Carboxylase เป็นเอนไซม์ เร่งปฏิกิริยา ได้ Oxaloacetate (OAA: C4) แล้วเปลี่ยนเป็น Malate (C4) แล้ว Malate กลับไปเป็น PEP เพื่อให้ได้ CO2 ออกมา
  • 2. การตรึงคาร์บอนไดออกไซค์ของพืช CAM พืช CAM (Crassulacean Acid Metabolism) คือพืชทนแล้งและอวบน้า จะปรับตัวโดย จะตรึง CO2 ตอนกลางคืน เข้ากับ PEP ด้วย PEP carboxylase ได้ OAA ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น Malic acid แล้วเก็บไว้ใน vacuole จนถึงเวลา กลางวัน malic acid ก็จะปล่อย CO2 เข้า calvin cycle ใน chloroplast ต่อไป ความเข้มข้นของ CO2 จึงสูงตลอดเวลา
  • 3. ตัวอย่างพืชแต่ละชนิด พืช C3 พืชทั่วๆไป เช่น มะม่วง กล้วย ข้าวเจ้า ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว มีจานวน มากกว่า 90% ในโลก พืช C4 พืชเมืองร้อน เช่น อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง เป็นต้น พืช CAM (Crassulacean Acid Metabolism) พืชที่สามารถเจริญเติบโตในที่แห้งแล้ง เช่น กระบองเพชร สับปะรด ป่านศรนารายณ์ (Agave) กล้วยไม้ กุหลาบหิน เป็นต้น
  • 4. ลักษณะ พืช C3 พืช C4 พืช CAM ช่วงเวลาที่เกิดกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง กลางวัน กลางวัน กลางวัน จานวนครั้งในการตรึง CO2 1 ครั้ง 2 ครั้ง 2 ครั้ง การตรึง CO2 จากอากาศ - เอนไซม์ที่ใช้ - สารตั้งต้นที่ใช้ - ผลิตภัณฑ์ที่เกิด - ช่วงเวลาที่เกิด Rubisco RuBP PGA (C3) กลางวัน PEP carboxylase PEP OAA (C4) กลางวัน PEP carboxylase PEP OAA (C4) กลางคืน เซลล์ที่เกิด Calvin cycle Mesophyll Bundle sheath Mesophyll อัตราการเกิด Photorespiration สูง ต่า ต่า
  • 5. ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ในการทดลองวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง มักวัดจากการตรึง CO2 ตรึงมากก็ แสดงว่าเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงมาก โดยปัจจัยที่มีผลได้แก่ 1. ความยาวคลื่นแสง – แสงสีน้าเงินและสีแดงทาให้สังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี 2. ความเข้มแสง และอุณหภูมิ 3. ปริมาณ CO2 4. ปริมาณ O2 - มีผลเฉพาะในพืช C3 (Photorespiration) 5. ปริมาณน้าในดิน 6. อายุใบ 7. ธาตุอาหาร
  • 6. การลาเลียงสารของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สของพืช แก๊สต่างๆที่พืชต้องการ เช่น CO2 O2 ethylene หรือ ไอน้า จะแลกเปลี่ยนกับพืชด้วย การแพร่ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า การคายน้า คือการสูญเสียน้าในรูปแก๊สผ่านทางปากใบ โดยปัจจัยที่ทาให้พืชคายน้า คือ อุณหภูมิ อากาศแห้ง ลมพัดแรง ความเข้มแสงมาก แต่ถ้ามากเกินไปจะทาให้พืชสูญเสีย น้ามากเกินไปจะทาให้พืชสูญเสียน้าเกินความจาเป็น ปากใบก็จะปิดเพื่อสงวนน้าเอาไว้
  • 7. การลาเลียงสารของพืช การเปิดปิดของปากใบ ถูกควบคุมโดยแสงและ K+ ตอนเช้า แสงจะกระตุ้นให้ K+ แพร่เข้าเซลล์คุม ในเซลล์จึงเข้มข้น น้าจึงแพร่เข้า เซลล์คุม ปากใบจึงเปิด เมื่อมีแก๊สและแสง เซลล์คุมจึงสังเคราะห์ด้วยแสงได้น้าตาล ในเซลล์ จึงยิ่งมีความเข้มข้น ปากใบจึงยิ่งเปิด ตอนเย็น แสงหมด ความเข้มข้นในเซลล์ จึงน้อยลง การเปิดปิดของปากใบทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส และในขณะเดียวกันก็ต้อง สูญเสียไอน้าภายใน mesophyll เมื่อพืชขาดน้าหรือน้าในดินมีน้อย ฮอร์โมน abscisic acid จะควบคุมให้ปากใบปิด แม้ว่าจะมีแสงก็ตาม *** น้าในดินน้อย ปากใบปิด ลดการคายน้า น้าในอากาศน้อย (อากาศแห้ง) เพิ่มการ คายน้า
  • 8. การลาเลียงสารของพืช การดูดแร่ธาตุของพืช เกิดที่ขนราก ให้ทั้งแบบ passive และ active transport เซลล์บริเวณนี้จึงพบ mitochondria มาก และต้องได้รับ O2 อย่างเพียงพอ active transport ทาให้พืชสะสมธาตุ บางชนิดในรากได้ ธาตุอาหารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ธาตุอาหารหลัก (Macronutrients) ที่พืชต้องการมากมี 9 ชนิด คือ C H O N P K Ca Mg S 2. ธาตุอาหารรอง (Micronutrients) ที่พืชต้องการน้อยมี 9 ชนิด คือ B Fe Cu Zn Mn Mo Cl Ni Si
  • 10. การลาเลียงสารของพืช การลาเลียงน้าและอาหารของพืช การลาเลียง Xylem Phloem ลำเลียงอะไร นำและแร่ธำตุ นำซูโครส กลไกยังไง Transpiration pull ในท่อกลวง Cytoplasmic streaming ในท่อตัน โดยเซลล์อะไร Vessel และ Tracheid Sieve tube member ใช้พลังงำนหรือไม่ ไม่ใช้ ใช้ จำกไหนไปไหน รำกไปยอด แหล่งสร้ำงไปยังแหล่งที่ต้องกำร