SlideShare a Scribd company logo
บทที 1ทีมาและความสํ าคัญ

ทีมาและความสํ าคัญ
          ปั จจุบนโลกของเรากําลังประสบกัญหาสภาวะโลกร้อน ซึ งเป็ นปั ญหาทีสําคัญมากสังเกตได้จากการที
                  ั
อุณหภูมิของโลกสู งขึ'นเรื อยๆ สาเหตุหลักของปั ญหานี'เกิดจาก “ปรากฏการณ์เรื อนกระจก” เนืองจากก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลูออไรคาร์ บอน ไนตรัสออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน และก๊าศมีเทนจะกักเก็บ
ความร้อนบางส่ วนไว้ในโลกไม่ให้สะท้อนกลับสู่ ช' นบรรยากาศ ซึ งก๊าซเหล่านี'ลวนแล้วแต่ได้มาจากการเผาไหม้
                                                    ั                          ้
เชื'อเพลิงจําพวกนํ'ามันหรื อถ่านหิ น สารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรม การตัดไม้ทาลายป่ า การเผาขยะ รวมไปถึง
                                                                                 ํ
การเผากระดาษก็เป็ นส่ วนหนึงของการเกิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เหมือนกัน เกิดผลกระทบทําให้สิงแวดล้อม
และภูมิอากาศของโลกเกิดการเปลียนแปลง ทําให้เกิด “สภาวะโลกร้อน”ขึ'น ดังนั'นกลุ่มของข้าพเจ้าได้ตระหนัก
และเล็งเห็นถึงปั ญหาดังกล่าวจึงได้จดทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่จากกระดาษหนังสื อพิมพ์ข' ึนเพือช่วยลดปั ญหา
                                      ั
สภาวะโลกร้อน
           ในปั จจุบนก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มีการเพิมขึ'นอย่างรวดเร็ วในปริ มาณทีมากขึ'น การเผากระดาษก็ถือ
                       ั
เป็ นส่ วนหนึงทีทําให้ก๊าซชนิดนี'เพิมปริ มาณขึ'นอย่างรวดเร็ วเหมือนกัน ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความตระหนัก
และเล็งเห็นถึงปั ญหาสภาวะโลกร้อนทีเกิดจากการเผากระดาษนี'จึงคิดลดปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จากการ
เผากระดาษ จึงได้คิดทีจะจัดทําโครงงานนี'ข' ึนมาโดยการนําเอากระดาษหนังสื อพิมพ์ทีไม่ใช้แล้ว มาสร้างสรรค์
                                                      ุ่
ปั' นแต่ง เป็ นชิ'นงานทีมีราคาแถมขั'นตอนการทําไม่ยงยาก ลงทุนไม่มาก ซึ งชิ'นงานบางอย่างทีเราพบเจอใน
ชีวตประจําวันก็ลวนประดิษฐ์มาจากเศษหนังสื อพิมพ์เหล่านี'ท' งสิ' น
     ิ               ้                                         ั

วัตถุประสงค์
    1.      เพือลดปริ มาณขยะ (เศษกระดาษ) ในสังคมให้มีจานวนลดลง
                                                          ํ
    2.      ชิ'นงานทีได้สามารถใช้งานได้จริ งในชี วตประจําวัน และมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                  ิ
    3.      เป็ นอีกวิธีหนึงทีช่วยในการลดปั ญหาโลกร้อน

ขอบเขตการศึกษา
    ได้ชิ'นงานทีเกิดจากการสร้างสรรค์เปเปอร์ มาเช่จานวน 3 ชิ'น
                                                  ํ

ประโยชน์ ทได้ รับ
          ี
    1.      ปริ มาณขยะ (เศษกระดาษ) มีจานวนลดลง
                                        ํ
    2.      ชิ'นงานทีได้สามารถใช้งานได้จริ งในชี วตประจําวัน
                                                  ิ
    3.      เป็ นส่ วนหนึงในการช่วยลดปั ญหาภาวะโลกร้อน
วิธีดําเนินการ
     1.       ตั'งชือโครงงานทีสนใจ
     2.       ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกียวกับเรื องทีสนใจ
     3.       รวบรวมข้อมูล
     4.       แบ่งหน้าทีในการทํางาน
     5.       นําเสนอโครงงานต่อครู ทีปรึ กษา
     6.       ครู ทีปรึ กษาเห็นชอบและให้ขอเสนอแนะ
                                          ้



นิยามศัพท์
-
บทที 2 เอกสารทีเกียวข้ อง
ภาวะโลกร้ อน (Global Warming)

       บรรยากาศของโลกประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซออกซิ เจน 21% ก๊าซอาร์ กอน 0.9% นอกจากนั'น
                                                       ่
เป็ น ไอนํ'า ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จานวนเล็กน้อย แม้วาไนโตรเจนออกซิ เจน และอาร์ กอน จะเป็ นองค์ประกอบ
                                    ํ
หลักของบรรยากาศแต่ก็มิได้มีอิทธิ พลต่ออุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ามก๊าซโมเลกุลใหญ่ เช่นไอนํ'า
                                                                ่
คาร์ บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และโอโซนแม้จะมีอยูในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยแต่มีความสามารถ
ในการดูดกลืนรังสี อินฟราเรด ทําให้อุณหภูมิพ'นผิวโลกอบอุ่น เหมาะแก่การดํารงชีวตเราเรี ยกก๊าซจําพวกนี'วา
                                            ื                                   ิ                    ่
“ก๊าซเรื อนกระจก” (Greenhouse gas) เนืองจากคุณสมบัติในการเก็บกักความร้อน หากปราศจากก๊าซเรื อนกระจก
แล้วพื'นผิวโลกจะมีอุณหภูมิเพียง -18 องศาเซลเซี ยส ซึ งนันก็หมายความว่านํ'าทั'งหมดบนโลกนี'จะกลายเป็ น
นํ'าแข็ง




                                   ภาพที 1 ประโยชน์ ของภาวะเรือนกระจก

ไอนํา (H2O)
     <
                                                   ่                                ่ ั
ไอนํ'า เป็ นก๊าซเรื อนกระจกทีมีมากทีสุ ดบนโลก มีอยูในอากาศประมาณ 0 – 4% ขึ'นอยูกบลักษณะภูมิประเทศ
                                                                                     ่
ภูมิอากาศ และอุณหภูมิในบริ เวณเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรและชายทะเล จะมีไอนํ'าอยูมากส่ วนในบริ เวณเขต
หนาวแถบขั'วโลก อุณหภูมิตาจะมีไอนํ'าในบรรยากาศเพียงเล็กน้อย ไอนํ'าเป็ นสิ งจําเป็ นต่อสิ งมีชีวตไอนํ'าเป็ นส่ วน
                             ํ                                                                 ิ
หนึงของวัฏจักรนํ'าในธรรมชาติ นํ'าสามารถเปลียนสถานะไปมาทั'ง 3 สถานะ จึงเป็ นตัวพาและกระจายความร้อน
แก่บรรยากาศและพื'นผิวไอนํ'าเกิดขึ'นโดยฝี มือมนุษย์ 2 วิธี คือจากการเผาไหม้เชื'อเพลิงหรื อก๊าซธรรมชาติและจาก
การหายใจและคายนํ'าของสัตว์และพืชในการทําเกษตรกรรม
ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2)
ในยุคเริ มแรกของโลกและระบบสุ ริยะ มีก๊าซคาร์ บอนได ออกไซด์ในบรรยากาศถึง 98% เนื องจากดวงอาทิตย์ยงมี   ั
ขนาดเล็กและแสงอาทิตย์ยงไม่สว่างเท่าทุกวันนี'ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ช่วยทําให้โลกอบอุ่นเหมาะสําหรับเป็ น
                           ั
         ่
ถินทีอยูอาศัยของสิ งมีชีวตครั'นกาลเวลาผ่านไปดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ข' ึนนํ'าฝนได้ละลายคาร์ บอนไดออกไซด์
                         ิ
ในอากาศ ลงมายังพื'นผิวแพลงตอนบางชนิดและพืชตรึ งก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศมาสร้างเป็ นอาหาร
โดยการสังเคราะห์ดวยแสง ทําให้ภาวะเรื อนกระจกลดลงโดยธรรมชาติก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เกิดขึ'นจากการ
                    ้
หลอมละลายของหิ นปูนซึ งโผล่ข' ึนมาจากปล่องภูเขาไฟ และการหายใจของสิ งมีชีวต       ิ
ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มีปริ มาณเพิมขึ'น เนื องจากการเผาไหม้ในรู ปแบบต่างๆเช่น การเผาไหม้เชื'อเพลิง โรงงาน
                                            ่
อุตสาหกรรมการเผาป่ าเพือใช้พ'ืนทีสําหรับอยูอาศัยและการทําปศุสัตว์การเผาป่ าเป็ นการปล่อยก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ข' ึนสู่ ช' นบรรยากาศได้โดยเร็ วทีสุ ดเนื องจากต้นไม้มีคุณสมบัติในการตรึ งก๊าซ
                             ั
คาร์ บอนไดออกไซด์ไว้ก่อนทีจะลอยขึ'นสู่ ช' นบรรยากาศ ดังนั'นเมือพื'นทีป่ าลดน้อยลงก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จึง
                                          ั
                      ่
ลอยขึ'นไปสะสม อยูในบรรยากาศได้มากยิงขึ'นและทําให้พลังงานความร้อนสะสมบนผิวโลกและในบรรยากาศ
เพิมขึ'นประมาณ 1.56 วัตต์/ตารางเมตร (ปริ มาณนี'ยงไม่คิดรวมผลกระทบทีเกิดขึ'นทางอ้อม)
                                                 ั




                  ภาพที 2 กราฟแสดงปริมาณก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ทเพิมขึนในแต่ ละปี
                                                                ี     <
ภาพที 2 แสดงปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ทีเพิมขึ'น ตั'งแต่ปี พ.ศ.2500 เป็ นต้นมา เส้นกราฟเป็ น
ลักษณะฟันปลา สู งตําสลับกันในแต่ละรอบปี มีค่าต่างกันประมาณ 5 - 6 ppm ((part per million - ส่ วนต่ออากาศ
หนึงล้านส่ วน) ในฤดูร้อนมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์นอยลงเนืองจากพืชตรึ งก๊าซเอาไว้สร้างอาหารมากกว่าใช้
                                                   ้
หายใจส่ วนในฤดูหนาวมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มากขึ'นเนื องจากพืชคายก๊าซออกมาจากการหายใจมากกว่าการ
ตรึ งเพือสร้างอาหารอย่างไรก็ตามเมือพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว อุณหภูมิมีแนวโน้มสู งขึ'นในแต่ละปี

ก๊ าซมีเทน (CH4)
ก๊าซมีเทนเกิดขึ'นจากการย่อยสลายของซากสิ งมีชีวตแม้วามีก๊าซมีเทนอยูในอากาศเพียง 1.7 ppm แต่ก๊าซมีเทนมี
                                               ิ    ่               ่
คุณสมบัติของก๊าซเรื อนกระจกสู งกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์กล่าวคือ ด้วยปริ มาตรทีเท่ากันก๊าซมีเทนสามารถ
ดูดกลืนรังสี อินฟราเรดได้ดีกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ก๊าซมีเทนมีปริ มาณเพิมขึ'นเนืองจากการทํานาข้าว ปศุ
สัตว์และการเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้เชื'อเพลิงประเภทถ่านหิ น นํ'ามันและก๊าซธรรมชาติการเพิมขึ'นของ

ก๊าซมีเทนส่ งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะเรื อนกระจกมากเป็ นอันดับสอง รองจากก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์
พลังงานรวมทีเกิดขึ'นโดยเฉลีย 0.47 วัตต์/ตารางเมตร

ก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (N2O)
ก๊าซไนตรัสออกไซด์ในธรรมชาติ เกิดจากการย่อยสลายซากสิ งมีชิวตโดยแบคทีเรี ยก๊าซไนตรัสมีปริ มาณเพิมขึ'น
                                                              ิ
เนืองจากอุตสาหกรรมทีใช้กรดไนตริ กในกระบวนการผลิต เช่น อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรม
เคมีและพลาสติกบางชนิดก๊าซไนตรัสออกไซด์ทีเพิมขึ'นส่ งผลกระทบโดยตรงต่อการเพิมพลังงานความร้อน
สะสมบนพื'นผิวโลกประมาณ 0.14 วัตต์/ตารางเมตรนอกจากนั'นเมือก๊าซไนตรัสออกไซด์ลอยขึ'นสู่ บรรยากาศชั'น
สตราโตสเฟี ยร์ มนจะทําปฏิกิริยากับก๊าซโอโซนทําให้เกราะป้ องกันรังสี อลตราไวโอเล็ตของโลกลดน้อยลง
                ั                                                    ั

สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFC)
                                                                                                       ่
มีแหล่งกําเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื องใช้ในชีวตประจําวันเช่น ตูเ้ ย็น เครื องปรับอากาศแม้วา
                                                              ิ
จะมีการจํากัดการใช้ก๊าซประเภทนี'ให้นอยลง 40% เมือเทียบกับสิ บกว่าปี ก่อนแต่ปริ มาณสารคลอโรฟลูออโร
                                    ้
                       ่
คาร์ บอนทียังคงสะสมอยูในชั'นบรรยากาศยังเป็ นต้นเหตุทีทําให้มีพลังงานความร้อนสะสมบนพื'นผิวโลกประมาณ
0.28 วัตต์ต่อตารางเมตรนอกจากนี'สารคลอโรฟลูออโรคาร์ บอนยังทําลายชั'นโอโซนในบรรยากาศชั'นสตราโตส
เฟี ยร์

โอโซน (O3)
โอโซนเป็ นก๊าซทีมีคุณสมบัติความเป็ นก๊าซเรื อนกระจกมากทีสุ ดทําให้เกิดพลังงานความร้อนสะสมบนพื'นผิวโลก
ประมาณ 2.85 วัตต์/ตารางเมตรก๊าซโอโซนเกิดขึ'นจากการเผาไหม้มวลชีวภาพและการสันดาปของเครื องยนต์มีอยู่
                                                           ่
ในหมอกควันซึ งเกิดจากการจราจรและโรงงานก๊าซโอโซนทีอยูในบรรยากาศชั'นโทรโพสเฟี ยร์ (บนพื'นผิวโลก)
เป็ นพิษต่อร่ างกาย แต่ก๊าซโอโซนในบรรยากาศชั'นสตราโตสเฟี ยร์ ดูดกลืนรังสี อลตราไวโอเล็ตไม่ให้ส่องลงมาทํา
                                                                           ั
                              ่
อันตรายต่อสิ งมีชีวตทีอาศัยอยูบนพื'นโลก
                    ิ
ภาพที 3 กราฟแสดงอัตราการเพิมพลังงานของก๊ าซเรือนกระจก

กราฟในภาพที 3 แสดงอัตราการเพิมปริ มาณของก๊าซเรื อน กระจกแต่ละชนิดนับตั'งแต่ปี พ.ศ.2400 เป็ นต้นมาจะ
        ่
เห็นได้วาก๊าซเรื อนกระจกในบรรยากาศมีปริ มาณเพิมขึ'นนับตั'งแต่การเติบโตทางอุตสาหกรรมในปี พ.ศ.2443 เป็ น
ต้นมาและได้หยุดใช้สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFC) ตั'งแต่ พ.ศ.2530 เนื องจากการประชุมนานาชาติ
ทีเมืองมอนทรี ล ประเทศแคนนาดา (Montreal Protocol) อย่างไรก็ตามยังมีสารนี'ตกค้างในบรรยากาศอีกนับร้อยปี
(รายละเอียดในตารางที 2)

นักวิทยาศาสตร์ ทาการศึกษาอุณหภูมิของโลกย้อนกลับไปในอดีตสี แสนปี โดยการวิเคราะห์ฟองอากาศในแท่ง
                   ํ
นํ'าแข็งซึ งทําการขุดเจาะทีสถานีวจยวอสต็อก ทวีปแอนตาร์ คติกพบว่าอุณหภูมิของโลกแปรผันตามปริ มาณก๊าซ
                                 ิั
คาร์ บอนไดออกไซด์ ดังกราฟในภาพที 4 นันก็หมายความว่า การเพิมปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เข้าสู่
บรรยากาศของโลกยุคปั จจุบนย่อมทําให้อุณหภูมิของพื'นผิวโลกสู งขึ'นตามไปด้วย
                             ั




           ภาพที 4 กราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างอุณหภูมิและปริมาณก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์

การเพิมขึนของระดับนําในมหาสมุทร
           <         <
อุณหภูมิของบรรยากาศมีความสัมพันธ์ต่อการเปลียนสถานะของนํ'าบนโลกอุณหภูมิทีสู งขึ'นจะทําให้อตราการ
                                                                                             ั
ระเหยของนํ'ามากขึ'นรวมถึงอัตราการหลอมละลายของแผ่นนํ'าแข็งขั'วโลกก็จะมากขึ'นตามไปด้วยถ้าหากอุณหภูมิ
ของบรรยากาศลดตําลงอัตราการควบแน่นของไอนํ'าในบรรยากาศก็จะมากขึ'นรวมถึงอัตราการเยือกแข็งของนํ'าใน
มหาสมุทรก็จะมากขึ'นเช่นกัน กราฟในภาพที 5 แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของอุณหภูมิของบรรยากาศและ
                                                        ่
ระดับนํ'าทะเลในมหาสมุทรในช่วงศตวรรษทีแล้วจะเห็นได้วาระดับนํ'าทะเลสู งขึ'นนับตั'งแต่ปี พ.ศ.2450 เป็ นต้น
มาซึ งเป็ นผลมาจากอุณหภูมิของบรรยากาศทีสู งขึ'นเนื องจากการเพิมปริ มาณของก๊าซเรื อนกระจก
ภาพที 5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและระดับนํ'าทะเล

         เมือประมาณ 2 หมืนปี มาแล้วโลกเป็ นยุคนํ'าแข็ง ร้อยละ 30 ของพื'นทวีปทั'งหมดถูกปกคลุมด้วยแผ่นนํ'าแข็ง
นับตั'งแต่ข' วโลกเหนือลงมาจรดตอนกลางของทวีปอเมริ กาเหนื อ ยุโรป และเอเชียระดับนํ'าทะเลในยุคนั'น ตํากว่า
             ั
ปั จจุบนประมาณ 110 – 140 เมตรในเอเชียอาคเนย์ บริ เวณทะเลอันดามันและทะเลจีนใต้เกือบทั'งหมดเคยแห้ง
       ั
กลายเป็ นแผ่นดินทั'งนี'เนื องจากนํ'าทะเลทีระเหยขึ'นไปเป็ นไอนํ'าในบรรยากาศไปควบแน่นเป็ นหิ มะและตก ลงมา
สะสมตัวกันบนยอดเขาและพื'นทีตอนเหนือกลายเป็ นแผ่นนํ'าแข็งต่อมาเมือโลกอุ่นขึ'นเนืองจากปริ มาณก๊าซเรื อน

กระจกทีปรับตัวเองตามธรรมชาติ ระดับนํ'าทะเลจึงสู งขึ'นจนมีระดับใกล้เคียงกับทุกวันนี'แต่ทว่าในช่วงศตวรรษที
ผ่านมา ได้มีการตัดไม้ทาลายป่ าและทําอุตสาหกรรมหนักทําให้ปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกเพิมขึ'นอย่างรวดเร็ วจน
                      ํ
เกิด ปรากฏการณ์โลกร้อน (Global warming) และหากอัตราการเพิมขึ'นของก๊าซเรื อนกระจกยังคงเป็ นเช่นนี'แผ่น
นํ'าแข็งขั'วโลกจะละลายทําให้ระดับนํ'าทะเลสู งขึ'น

     การละลายของแผ่นนํ'าแข็งขั'วโลกนอกจากจะส่ งผลให้ระดับนํ'าทะเลสู งขึ'นแล้วยังทําให้อลบีโดของโลกลดลง
                                                                                               ั
     อีกด้วย กล่าวคือพื'นทีสี ขาวซึ งทําหน้าทีสะท้อนรังสี จากดวงอาทิตย์คืนสู่ อวกาศลดน้อยลง (นํ'าทะเลมีอลบีโดย
                                                                                                          ั
 น้อยกว่าก้อนนํ'าแข็ง) พื'นทีสี เข้มเช่นนํ'าทะเลจะดูดความร้อนได้ดีข' ึนและส่ งผลซํ'าเติมทําให้อุณหภูมิของโลกและ
         ระดับนํ'าทะเลสู งขึ'นไปอีกอย่างรวดเร็ ว บริ เวณพื'นทีเกาะและทีราบลุ่มชายฝังทะเล เช่นตอนใต้ของประทศ
เวียดนามและประเทศกัมพูชาจะถูกนํ'าท่วม ดังภาพที 6 ความเค็มของนํ'าทะเลซึ งเจือจางลงเนืองจากการละลายของ
     นํ'าแข็งจะส่ งผลให้การไหลเวียนของกระแสนํ'าในมหาสมุทรเปลียนทิศทางและความจุความร้อนเปลียนไปส่ ง
                                                 ผลกระทบให้เกิดการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างรุ นแรง




                   กราฟแสดงการเพิมขึ'นของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในชั'นบรรยากาศโลก
                      ในรอบ 50 ปี ทีผ่านมา จาก 310ppm ขึ'นมาเป็ น 380ppm ในปั จจุบน
                                                                                  ั
                           ทีมา : NOAA/Scripps Institution of Oceanography
ก๊ าซเรือนกระจกประกอบด้ วยก๊ าซทีสํ าคัญ คือ

 53 % ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (380ppm)
ทุกวันนี'ในชั'นบรรยากาศมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ 380 โมเลกุลในทุกๆ 1ล้านโมเลกุลของมวลอากาศ หรื อ
380ppm (parts per million) และมีการเพิมขึ'นประมาณปี ละ 1 เปอร์ เซ็นต์ เมือเทียบกับราว 100 ปี ก่อนในยุคปฏิวติ
                                                                                                          ั
                                                                              ่
อุตสาหกรรมระดับความเข้มของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในชั'นบรรยากาศอยูทีประมาณ 280 ppm
                           ่
นักวิทยาศาสตร์ คาดการณ์วา ในอีก 100 ปี ข้างหน้าถ้าไม่มีการแก้ไขหรื อชะลอการใช้พลังงานจากเชื'อเพลิง
ฟอสซิ ลความเข้มข้นของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จะเพิมขึ'นเป็ นเกือบ 1,000 ppm ซึ งเป็ นการเพิมในอัตราทีเร็ ว
กว่าทีผ่านมาอย่างมาสาเหตุทีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เพิมสู งขึ'นเรื อยๆ ในชั'นบรรยากาศนั'นนอกจากว่ามาจาก
การเผาไหม้เชื' อเพลิงฟอสซิ ลแล้วสาเหตุสาคัญอีกประการหนึงคือการตัดไม้ทาลายป่ าและเผาป่ าเพือเปลียนเป็ น
                                          ํ                                 ํ
พื'นทีการเกษตรเนื องจากต้นไม้มีคุณสมบัติทีดีในการดูดซับก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ไม่ให้ลอยขึ'นสู่ ช' น ั
บรรยากาศ เมือพื'นทีป่ าลดน้อยลงปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศจึงสู งขึ'นและการเผาป่ ายังทําให้ซาก
                   ่
พืชซากสัตว์ทีอยูในดินถูกทําลายกลายเป็ นก๊าซชนิดนี'เพิมขึ'นในชั'นบรรยากาศด้วยเมือ 10 ปี ก่อน นักวิทยาศาสตร์
ได้สารวจวัดปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิของโลกย้อนกลับไปเมือ 650,000 ปี ก่อนโดยวิเคราะห์จาก
       ํ
                 ่                                                                  ั
แท่งนํ'าแข็งทีอยูลึกลงไปใต้ผิวโลกและได้ขอสรุ ปว่าอุณหภูมิของโลกมีความสัมพันธ์กบปริ มาณก๊าซ
                                            ้
คาร์ บอนไดออกไซด์ในชั'นบรรยากาศ เมือช่วงเวลาใดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มากอุณหภูมิของโลกก็จะ
สู งขึ'น
 17% ก๊ าซมีเทน (1.8ppm)
                                                                                ่
เป็ นก๊าซทีเกิดจากปลูกข้าว การเลี'ยงสัตว์และการเผาไหม้ของเชื'อเพลิงฟอสซิ ลแม้วาก๊าซมีเทนในชั'นบรรยากาศจะ
มีเพียงเล็กน้อยแต่โมเลกุลของก๊าซมีเทนสามารถดูดกลืนรังสี ความร้อนได้มากกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ถึง 25
เท่าปั ญหาการปลดปล่อยก๊าซมีเทนในชั'นบรรยากาศได้กลายเป็ นประเด็นทางการเมืองระหว่างประเทศด้วย
กล่าวคือทีผ่านมาเวลามีการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยปั ญหาภาวะเรื อนกระจกประเทศทีพัฒนาแล้วซึ งส่ วน
ใหญ่เป็ นประเทศอุตสาหกรรมทีปลดปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในปริ มาณมากจะพยายามยกประเด็นว่า
ประเทศกําลังพัฒนาซึ งส่ วนใหญ่เป็ นประเทศเกษตรกรรมก็ปลดปล่อยก๊าซมีเทนมากด้วยเช่นกันโดยยกตัวอย่าง
การปลูกข้าวแบบให้น' าท่วมขังเพือเป็ นการควบคุมวัชพืชซึ งจะทําให้ดินขาดออกซิ เจน แบคทีเรี ยบางชนิ ดจึงผลิต
                      ํ
ก๊าซมีเทนมากขึ'นและเนืองจากก๊าซมีเทนสามารถเก็บกักความร้อนได้ดีกว่าดังนั'นประเทศพัฒนาแล้วจึงพยายาม
กดดันให้ประเทศกําลังพัฒนาร่ วมรับผิดชอบด้วยในระดับหนึง
 13% ก๊ าซโอโซนระดับผิวโลก (0.03ppm)
         ่
เมืออยูในชั'นบรรยากาศสู งๆก๊าซโอโซนจะช่วยปกป้ องโลกจากรังสี อลตราไวโอเลตแต่โอโซนทีอยูในระดับผิว
                                                                  ั                             ่
โลกจะทําหน้าทีเป็ นสารออกซิ แดนท์ซึงจะทําปฏิกิริยากับเนื'อเยือของสิ งมีชีวตถือได้วาเป็ นก๊าซโอโซนทีแม้จะอยู่
                                                                          ิ       ่
ในบรรยากาศของโลกเพียงเล็กน้อยแต่มีความสามารถในการดูดกลืนรังสี อินฟราเรด ทําให้โลกอบอุ่นขึ'นด้วย
12% ก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (0,3ppm)
โรงงานอุตสาหกรรมทีผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรมเคมีและพลาสติกใช้กรดไนตริ กในกระบวนการผลิตจะ
ปลดปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์ข' ึนสู่ ช' นบรรยากาศรวมไปถึงปุ๋ ยไนโตรเจนทีใช้ในการทําการเกษตรและแม้วาใน
                                     ั                                                                 ่
ธรรมชาติจะมีการปล่อยก๊าซชนิดนี' ออกมาแต่ก๊าซไนตรัสออกไซด์จากโรงงานอุตสาหกรรมมีปริ มาณเพิมขึ'นอย่าง
รวดเร็ วส่ งผลให้ความร้อนในชั'นบรรยากาศเพิมขึ'น
 5 % ก๊ าซซีเอฟซี (1ppm)
                                                               ่
ก๊าซชนิดนี'เป็ นก๊าซทีมีสารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์ บอนมีใช้อยูในเครื องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น สเปรย์ นํ'ายา
ดับเพลิง ฯลฯเป็ นตัวการสําคัญทีทําให้เกิดรู โหว่ของโอโซนในชั'นบรรยากาศทําให้รังสี อลตราไวโอเลตส่ องลง
                                                                                   ั
มาถึงพื'นโลกได้มากขึ'นแม้วาปั จจุบนทัวโลกได้รณรงค์ลดการปล่อยก๊าซซี เอฟซี ลงได้ถึง 40 %แต่ทียังหลงเหลืออยู่
                            ่     ั
ในชั'นบรรยากาศก็มีส่วนในการดูดกลืนรังสี อินฟราเรดจนเกิดความร้อนสะสมขึ'นประมาณ 0.28 วัตต์/ตารางเมตร

กระดาษจะใช้เวลาในการย่อยสลาย 8-13 กก./ปี การใช้กระดาษ รี ไซเคิล 1 ตันจึง สามารถลดการปล่อยก๊าซเรื อน
กระจกได้ถึง 7 ตัน
บทที 3 อุปกรณ์ และขั<นตอนการทํา

อุปกรณ์
   1.   กระดาหนังสื อพิมพ์ทีไม่ใช้แล้ว
   2.   กรรไกร
   3.   กาว หรื อ แป้ งเปี ยก
   4.   แม่แบบทีต้องการ
   5.   สี โปสเตอร์
   6.   คัตเตอร์
   7.   เทปกาว

ขั<นตอนการทําหมูออมสิ น และไข่ ออมสิ น
   1.   ตัดกระดาษหนังสื อพิมพ์เป็ นชิ'นเล็กๆขนาดประมาณ 1x2 เซนติเมตร
   2.   ทากาวทีแม่แบบแล้วนํากระดาษหนังสื อพิมพ์ติดให้ทว ทิ'งไว้ไห้แห้ง
                                                             ั
   3.   เมือแม่แบบแข็งตัวดีแล้วใช้มีดคัตเตอร์ กรี ดออกเป็ น 2 ส่ วน
   4.   ติดเทปกาวตามรอยให้ติดกันและตกแต่งระบายสี ตามใจชอบ
   5.   ได้ชิ'นงานทีมีชือว่า “ไข่ออมสิ น”
        และ “หมูออมสิ น”

สถานทีปฏิบัติงาน
   - โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

ระยะเวลาในการดําเนินงาน
        ตั'งแต่วนที 5 มกราคม 2556 – วันที 5 กุมภาพันธ์ 2556
                ั
บทที 5 อภิปรายและสรุ ปผล
       จากการทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนแล้วจะพบว่ากระดาษทีนํามาประดิษฐ์เปเปอร์ มาเช่น' นถ้า
                                                                                              ั
นําไปเผาจะทําให้เกิดกลุ่มควันทําให้เกิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ซึ งเป็ นสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อน แต่ถา
                                                                                                   ้
นํามาประดิษฐ์ สร้างสรรค์เป็ นชิ'นงานอย่างอืนแล้ว จะเป็ นการช่วยลดการเผากระดาษ และช่วยลดปั ญหาภาวะโลก
ร้อนด้วย สําหรับชิ'นงานทีได้จากการทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนั'น จะได้ชิ'นงาน จํานวน 3 ชิ'น ได้แก่
หมูออมสิ น ไข่ออมสิ น ละกล่องกระดาษทิชชู สําหรับหมูออมสิ นนั'นใช้กระดาษไปทั'งหมด 200 กรัม ไข่ออม
สิ นใช้กระดาษไปทั'งหมด 200 กรัม และกล่องกระดาษทิชชูใช้กระดาษไปทั'งหมด 300 กรัม รวมแล้วโครงงานเป
เปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนี'ใช้กระดาษไปทั'งสิ' น 700 กรัม สามารถลดปริ มาณกระดาษทีเหลือใช้ได้ถึง 60 % ลดก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ทีจะก่อตัวในชั'นบรรยากาศได้ถึง 0.60 ppm. กระปุกออมสิ นทั'ง 2 แบบ และกล่องกระดาษ
ทิชชูทีได้จากการทําโครงงานนี'มีประสิ ทธิ ภาพและสามารถใช้งานได้จริ งในชีวตประจําวัน
                                                                        ิ
บทที 4 ผลการทดลอง


                     350

                     300

                     250

                     200

                     150                                          การเพิมของก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์

                     100

                      50

                       0




        จากการทดลองทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนี'ทางกลุ่มของพวกเราพบว่า ใช้กระดาษ
หนังสื อพิมพ์ไปทั'งหมด 700 กรัม โดยหมูออมสิ นใช้กระดาษ 200 กรัม ไข่ออมสิ นใช้กระดาษ 200 กรัม และกล่อง
กระดาษทิชชูใช้กระดาษ 300 กรัม ซึ งชิ'นงานทีเราได้น' นล้วนมีประสิ ทธิ ภาพและสามารถใช้งานได้จริ งใน
                                                    ั
ชีวตประจําวันถึง 60%
   ิ
กราฟแท่ งแสดงการลดปริมาณของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์
              400

              300

              200

              100
                                                                การเพิมของก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์
                0
                                                                การลดของก๊ าซคาร์ บอนไดออไซด์
              -100

              -200

              -300

              -400


         จากการทดลองทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนี'ทางกลุ่มของพวกเราพบว่า ปริ มาณก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ลดลงอย่างเห็นได้ชด สังเกตได้จากกราฟด้านบนนี' กระดาษทีใช้ทาหมูออมสิ น สามารถลด
                                      ั                                      ํ
ปริ มาณการเผาได้ถึง 200 กรัม ไข่ออมสิ นสามารถลดปริ มาณการเผากระดาษได้ถึง 200 กรัม และกล่องกระดาษ
ทิชชูสามารถลดได้ถึง 300 กรัม หรื อสามารถลดปริ มารก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ทีเกิดจากการเผาได้มาถึง
0.5 ppm.
บทที 6 บรรณานุกรม

www.archeep.com/invention/prd_6.htm
www.archeep.com/invention/prd_8.htm
www.geocities.com/bansaat/papamachar.htm
www.geocities.com/papers3d/faq_frame.htm
www.geocities.com/papers3d/how_to.html
www.geocities.com/papers3d/material.html
www.geocities.com/papers3d/tip.html
www.smilehand.com/flower-papermache.htm
www.smilehand.com/papermache.html

More Related Content

What's hot

หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
NetnapaSakulthong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d051
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
Nuttakit Wunprasert
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Ritthinarongron School
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
มารินทร์ จานแก้ว
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
Katewaree Yosyingyong
 

What's hot (20)

หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 

Viewers also liked

สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์Aungkana Na Na
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทSittidet Nawee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

Viewers also liked (9)

สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
 
เปเปอร์มาเช่
เปเปอร์มาเช่เปเปอร์มาเช่
เปเปอร์มาเช่
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Similar to โครงงานวิทย์ งานคอม

โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
Jatupon Panjoi
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2sudsanguan
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติOui Nuchanart
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
parwaritfast
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
parwaritfast
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติOui Nuchanart
 

Similar to โครงงานวิทย์ งานคอม (20)

โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
ภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจกภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจก
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

More from Aungkana Na Na

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งAungkana Na Na
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า JengAungkana Na Na
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานAungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Aungkana Na Na
 

More from Aungkana Na Na (20)

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
11
1111
11
 
10
1010
10
 
9
99
9
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 

โครงงานวิทย์ งานคอม

  • 1. บทที 1ทีมาและความสํ าคัญ ทีมาและความสํ าคัญ ปั จจุบนโลกของเรากําลังประสบกัญหาสภาวะโลกร้อน ซึ งเป็ นปั ญหาทีสําคัญมากสังเกตได้จากการที ั อุณหภูมิของโลกสู งขึ'นเรื อยๆ สาเหตุหลักของปั ญหานี'เกิดจาก “ปรากฏการณ์เรื อนกระจก” เนืองจากก๊าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลูออไรคาร์ บอน ไนตรัสออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน และก๊าศมีเทนจะกักเก็บ ความร้อนบางส่ วนไว้ในโลกไม่ให้สะท้อนกลับสู่ ช' นบรรยากาศ ซึ งก๊าซเหล่านี'ลวนแล้วแต่ได้มาจากการเผาไหม้ ั ้ เชื'อเพลิงจําพวกนํ'ามันหรื อถ่านหิ น สารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรม การตัดไม้ทาลายป่ า การเผาขยะ รวมไปถึง ํ การเผากระดาษก็เป็ นส่ วนหนึงของการเกิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เหมือนกัน เกิดผลกระทบทําให้สิงแวดล้อม และภูมิอากาศของโลกเกิดการเปลียนแปลง ทําให้เกิด “สภาวะโลกร้อน”ขึ'น ดังนั'นกลุ่มของข้าพเจ้าได้ตระหนัก และเล็งเห็นถึงปั ญหาดังกล่าวจึงได้จดทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่จากกระดาษหนังสื อพิมพ์ข' ึนเพือช่วยลดปั ญหา ั สภาวะโลกร้อน ในปั จจุบนก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มีการเพิมขึ'นอย่างรวดเร็ วในปริ มาณทีมากขึ'น การเผากระดาษก็ถือ ั เป็ นส่ วนหนึงทีทําให้ก๊าซชนิดนี'เพิมปริ มาณขึ'นอย่างรวดเร็ วเหมือนกัน ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความตระหนัก และเล็งเห็นถึงปั ญหาสภาวะโลกร้อนทีเกิดจากการเผากระดาษนี'จึงคิดลดปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จากการ เผากระดาษ จึงได้คิดทีจะจัดทําโครงงานนี'ข' ึนมาโดยการนําเอากระดาษหนังสื อพิมพ์ทีไม่ใช้แล้ว มาสร้างสรรค์ ุ่ ปั' นแต่ง เป็ นชิ'นงานทีมีราคาแถมขั'นตอนการทําไม่ยงยาก ลงทุนไม่มาก ซึ งชิ'นงานบางอย่างทีเราพบเจอใน ชีวตประจําวันก็ลวนประดิษฐ์มาจากเศษหนังสื อพิมพ์เหล่านี'ท' งสิ' น ิ ้ ั วัตถุประสงค์ 1. เพือลดปริ มาณขยะ (เศษกระดาษ) ในสังคมให้มีจานวนลดลง ํ 2. ชิ'นงานทีได้สามารถใช้งานได้จริ งในชี วตประจําวัน และมีประสิ ทธิ ภาพ ิ 3. เป็ นอีกวิธีหนึงทีช่วยในการลดปั ญหาโลกร้อน ขอบเขตการศึกษา ได้ชิ'นงานทีเกิดจากการสร้างสรรค์เปเปอร์ มาเช่จานวน 3 ชิ'น ํ ประโยชน์ ทได้ รับ ี 1. ปริ มาณขยะ (เศษกระดาษ) มีจานวนลดลง ํ 2. ชิ'นงานทีได้สามารถใช้งานได้จริ งในชี วตประจําวัน ิ 3. เป็ นส่ วนหนึงในการช่วยลดปั ญหาภาวะโลกร้อน
  • 2. วิธีดําเนินการ 1. ตั'งชือโครงงานทีสนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกียวกับเรื องทีสนใจ 3. รวบรวมข้อมูล 4. แบ่งหน้าทีในการทํางาน 5. นําเสนอโครงงานต่อครู ทีปรึ กษา 6. ครู ทีปรึ กษาเห็นชอบและให้ขอเสนอแนะ ้ นิยามศัพท์ -
  • 3. บทที 2 เอกสารทีเกียวข้ อง ภาวะโลกร้ อน (Global Warming) บรรยากาศของโลกประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซออกซิ เจน 21% ก๊าซอาร์ กอน 0.9% นอกจากนั'น ่ เป็ น ไอนํ'า ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จานวนเล็กน้อย แม้วาไนโตรเจนออกซิ เจน และอาร์ กอน จะเป็ นองค์ประกอบ ํ หลักของบรรยากาศแต่ก็มิได้มีอิทธิ พลต่ออุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ามก๊าซโมเลกุลใหญ่ เช่นไอนํ'า ่ คาร์ บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และโอโซนแม้จะมีอยูในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยแต่มีความสามารถ ในการดูดกลืนรังสี อินฟราเรด ทําให้อุณหภูมิพ'นผิวโลกอบอุ่น เหมาะแก่การดํารงชีวตเราเรี ยกก๊าซจําพวกนี'วา ื ิ ่ “ก๊าซเรื อนกระจก” (Greenhouse gas) เนืองจากคุณสมบัติในการเก็บกักความร้อน หากปราศจากก๊าซเรื อนกระจก แล้วพื'นผิวโลกจะมีอุณหภูมิเพียง -18 องศาเซลเซี ยส ซึ งนันก็หมายความว่านํ'าทั'งหมดบนโลกนี'จะกลายเป็ น นํ'าแข็ง ภาพที 1 ประโยชน์ ของภาวะเรือนกระจก ไอนํา (H2O) < ่ ่ ั ไอนํ'า เป็ นก๊าซเรื อนกระจกทีมีมากทีสุ ดบนโลก มีอยูในอากาศประมาณ 0 – 4% ขึ'นอยูกบลักษณะภูมิประเทศ ่ ภูมิอากาศ และอุณหภูมิในบริ เวณเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรและชายทะเล จะมีไอนํ'าอยูมากส่ วนในบริ เวณเขต หนาวแถบขั'วโลก อุณหภูมิตาจะมีไอนํ'าในบรรยากาศเพียงเล็กน้อย ไอนํ'าเป็ นสิ งจําเป็ นต่อสิ งมีชีวตไอนํ'าเป็ นส่ วน ํ ิ หนึงของวัฏจักรนํ'าในธรรมชาติ นํ'าสามารถเปลียนสถานะไปมาทั'ง 3 สถานะ จึงเป็ นตัวพาและกระจายความร้อน แก่บรรยากาศและพื'นผิวไอนํ'าเกิดขึ'นโดยฝี มือมนุษย์ 2 วิธี คือจากการเผาไหม้เชื'อเพลิงหรื อก๊าซธรรมชาติและจาก การหายใจและคายนํ'าของสัตว์และพืชในการทําเกษตรกรรม
  • 4. ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) ในยุคเริ มแรกของโลกและระบบสุ ริยะ มีก๊าซคาร์ บอนได ออกไซด์ในบรรยากาศถึง 98% เนื องจากดวงอาทิตย์ยงมี ั ขนาดเล็กและแสงอาทิตย์ยงไม่สว่างเท่าทุกวันนี'ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ช่วยทําให้โลกอบอุ่นเหมาะสําหรับเป็ น ั ่ ถินทีอยูอาศัยของสิ งมีชีวตครั'นกาลเวลาผ่านไปดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ข' ึนนํ'าฝนได้ละลายคาร์ บอนไดออกไซด์ ิ ในอากาศ ลงมายังพื'นผิวแพลงตอนบางชนิดและพืชตรึ งก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศมาสร้างเป็ นอาหาร โดยการสังเคราะห์ดวยแสง ทําให้ภาวะเรื อนกระจกลดลงโดยธรรมชาติก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เกิดขึ'นจากการ ้ หลอมละลายของหิ นปูนซึ งโผล่ข' ึนมาจากปล่องภูเขาไฟ และการหายใจของสิ งมีชีวต ิ ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มีปริ มาณเพิมขึ'น เนื องจากการเผาไหม้ในรู ปแบบต่างๆเช่น การเผาไหม้เชื'อเพลิง โรงงาน ่ อุตสาหกรรมการเผาป่ าเพือใช้พ'ืนทีสําหรับอยูอาศัยและการทําปศุสัตว์การเผาป่ าเป็ นการปล่อยก๊าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ข' ึนสู่ ช' นบรรยากาศได้โดยเร็ วทีสุ ดเนื องจากต้นไม้มีคุณสมบัติในการตรึ งก๊าซ ั คาร์ บอนไดออกไซด์ไว้ก่อนทีจะลอยขึ'นสู่ ช' นบรรยากาศ ดังนั'นเมือพื'นทีป่ าลดน้อยลงก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จึง ั ่ ลอยขึ'นไปสะสม อยูในบรรยากาศได้มากยิงขึ'นและทําให้พลังงานความร้อนสะสมบนผิวโลกและในบรรยากาศ เพิมขึ'นประมาณ 1.56 วัตต์/ตารางเมตร (ปริ มาณนี'ยงไม่คิดรวมผลกระทบทีเกิดขึ'นทางอ้อม) ั ภาพที 2 กราฟแสดงปริมาณก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ทเพิมขึนในแต่ ละปี ี <
  • 5. ภาพที 2 แสดงปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ทีเพิมขึ'น ตั'งแต่ปี พ.ศ.2500 เป็ นต้นมา เส้นกราฟเป็ น ลักษณะฟันปลา สู งตําสลับกันในแต่ละรอบปี มีค่าต่างกันประมาณ 5 - 6 ppm ((part per million - ส่ วนต่ออากาศ หนึงล้านส่ วน) ในฤดูร้อนมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์นอยลงเนืองจากพืชตรึ งก๊าซเอาไว้สร้างอาหารมากกว่าใช้ ้ หายใจส่ วนในฤดูหนาวมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มากขึ'นเนื องจากพืชคายก๊าซออกมาจากการหายใจมากกว่าการ ตรึ งเพือสร้างอาหารอย่างไรก็ตามเมือพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว อุณหภูมิมีแนวโน้มสู งขึ'นในแต่ละปี ก๊ าซมีเทน (CH4) ก๊าซมีเทนเกิดขึ'นจากการย่อยสลายของซากสิ งมีชีวตแม้วามีก๊าซมีเทนอยูในอากาศเพียง 1.7 ppm แต่ก๊าซมีเทนมี ิ ่ ่ คุณสมบัติของก๊าซเรื อนกระจกสู งกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์กล่าวคือ ด้วยปริ มาตรทีเท่ากันก๊าซมีเทนสามารถ ดูดกลืนรังสี อินฟราเรดได้ดีกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ก๊าซมีเทนมีปริ มาณเพิมขึ'นเนืองจากการทํานาข้าว ปศุ สัตว์และการเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้เชื'อเพลิงประเภทถ่านหิ น นํ'ามันและก๊าซธรรมชาติการเพิมขึ'นของ ก๊าซมีเทนส่ งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะเรื อนกระจกมากเป็ นอันดับสอง รองจากก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ พลังงานรวมทีเกิดขึ'นโดยเฉลีย 0.47 วัตต์/ตารางเมตร ก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ในธรรมชาติ เกิดจากการย่อยสลายซากสิ งมีชิวตโดยแบคทีเรี ยก๊าซไนตรัสมีปริ มาณเพิมขึ'น ิ เนืองจากอุตสาหกรรมทีใช้กรดไนตริ กในกระบวนการผลิต เช่น อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรม เคมีและพลาสติกบางชนิดก๊าซไนตรัสออกไซด์ทีเพิมขึ'นส่ งผลกระทบโดยตรงต่อการเพิมพลังงานความร้อน สะสมบนพื'นผิวโลกประมาณ 0.14 วัตต์/ตารางเมตรนอกจากนั'นเมือก๊าซไนตรัสออกไซด์ลอยขึ'นสู่ บรรยากาศชั'น สตราโตสเฟี ยร์ มนจะทําปฏิกิริยากับก๊าซโอโซนทําให้เกราะป้ องกันรังสี อลตราไวโอเล็ตของโลกลดน้อยลง ั ั สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFC) ่ มีแหล่งกําเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื องใช้ในชีวตประจําวันเช่น ตูเ้ ย็น เครื องปรับอากาศแม้วา ิ จะมีการจํากัดการใช้ก๊าซประเภทนี'ให้นอยลง 40% เมือเทียบกับสิ บกว่าปี ก่อนแต่ปริ มาณสารคลอโรฟลูออโร ้ ่ คาร์ บอนทียังคงสะสมอยูในชั'นบรรยากาศยังเป็ นต้นเหตุทีทําให้มีพลังงานความร้อนสะสมบนพื'นผิวโลกประมาณ 0.28 วัตต์ต่อตารางเมตรนอกจากนี'สารคลอโรฟลูออโรคาร์ บอนยังทําลายชั'นโอโซนในบรรยากาศชั'นสตราโตส เฟี ยร์ โอโซน (O3) โอโซนเป็ นก๊าซทีมีคุณสมบัติความเป็ นก๊าซเรื อนกระจกมากทีสุ ดทําให้เกิดพลังงานความร้อนสะสมบนพื'นผิวโลก ประมาณ 2.85 วัตต์/ตารางเมตรก๊าซโอโซนเกิดขึ'นจากการเผาไหม้มวลชีวภาพและการสันดาปของเครื องยนต์มีอยู่ ่ ในหมอกควันซึ งเกิดจากการจราจรและโรงงานก๊าซโอโซนทีอยูในบรรยากาศชั'นโทรโพสเฟี ยร์ (บนพื'นผิวโลก) เป็ นพิษต่อร่ างกาย แต่ก๊าซโอโซนในบรรยากาศชั'นสตราโตสเฟี ยร์ ดูดกลืนรังสี อลตราไวโอเล็ตไม่ให้ส่องลงมาทํา ั ่ อันตรายต่อสิ งมีชีวตทีอาศัยอยูบนพื'นโลก ิ
  • 6. ภาพที 3 กราฟแสดงอัตราการเพิมพลังงานของก๊ าซเรือนกระจก กราฟในภาพที 3 แสดงอัตราการเพิมปริ มาณของก๊าซเรื อน กระจกแต่ละชนิดนับตั'งแต่ปี พ.ศ.2400 เป็ นต้นมาจะ ่ เห็นได้วาก๊าซเรื อนกระจกในบรรยากาศมีปริ มาณเพิมขึ'นนับตั'งแต่การเติบโตทางอุตสาหกรรมในปี พ.ศ.2443 เป็ น ต้นมาและได้หยุดใช้สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFC) ตั'งแต่ พ.ศ.2530 เนื องจากการประชุมนานาชาติ ทีเมืองมอนทรี ล ประเทศแคนนาดา (Montreal Protocol) อย่างไรก็ตามยังมีสารนี'ตกค้างในบรรยากาศอีกนับร้อยปี (รายละเอียดในตารางที 2) นักวิทยาศาสตร์ ทาการศึกษาอุณหภูมิของโลกย้อนกลับไปในอดีตสี แสนปี โดยการวิเคราะห์ฟองอากาศในแท่ง ํ นํ'าแข็งซึ งทําการขุดเจาะทีสถานีวจยวอสต็อก ทวีปแอนตาร์ คติกพบว่าอุณหภูมิของโลกแปรผันตามปริ มาณก๊าซ ิั คาร์ บอนไดออกไซด์ ดังกราฟในภาพที 4 นันก็หมายความว่า การเพิมปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เข้าสู่ บรรยากาศของโลกยุคปั จจุบนย่อมทําให้อุณหภูมิของพื'นผิวโลกสู งขึ'นตามไปด้วย ั ภาพที 4 กราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างอุณหภูมิและปริมาณก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ การเพิมขึนของระดับนําในมหาสมุทร < < อุณหภูมิของบรรยากาศมีความสัมพันธ์ต่อการเปลียนสถานะของนํ'าบนโลกอุณหภูมิทีสู งขึ'นจะทําให้อตราการ ั ระเหยของนํ'ามากขึ'นรวมถึงอัตราการหลอมละลายของแผ่นนํ'าแข็งขั'วโลกก็จะมากขึ'นตามไปด้วยถ้าหากอุณหภูมิ ของบรรยากาศลดตําลงอัตราการควบแน่นของไอนํ'าในบรรยากาศก็จะมากขึ'นรวมถึงอัตราการเยือกแข็งของนํ'าใน มหาสมุทรก็จะมากขึ'นเช่นกัน กราฟในภาพที 5 แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของอุณหภูมิของบรรยากาศและ ่ ระดับนํ'าทะเลในมหาสมุทรในช่วงศตวรรษทีแล้วจะเห็นได้วาระดับนํ'าทะเลสู งขึ'นนับตั'งแต่ปี พ.ศ.2450 เป็ นต้น มาซึ งเป็ นผลมาจากอุณหภูมิของบรรยากาศทีสู งขึ'นเนื องจากการเพิมปริ มาณของก๊าซเรื อนกระจก
  • 7. ภาพที 5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและระดับนํ'าทะเล เมือประมาณ 2 หมืนปี มาแล้วโลกเป็ นยุคนํ'าแข็ง ร้อยละ 30 ของพื'นทวีปทั'งหมดถูกปกคลุมด้วยแผ่นนํ'าแข็ง นับตั'งแต่ข' วโลกเหนือลงมาจรดตอนกลางของทวีปอเมริ กาเหนื อ ยุโรป และเอเชียระดับนํ'าทะเลในยุคนั'น ตํากว่า ั ปั จจุบนประมาณ 110 – 140 เมตรในเอเชียอาคเนย์ บริ เวณทะเลอันดามันและทะเลจีนใต้เกือบทั'งหมดเคยแห้ง ั กลายเป็ นแผ่นดินทั'งนี'เนื องจากนํ'าทะเลทีระเหยขึ'นไปเป็ นไอนํ'าในบรรยากาศไปควบแน่นเป็ นหิ มะและตก ลงมา สะสมตัวกันบนยอดเขาและพื'นทีตอนเหนือกลายเป็ นแผ่นนํ'าแข็งต่อมาเมือโลกอุ่นขึ'นเนืองจากปริ มาณก๊าซเรื อน กระจกทีปรับตัวเองตามธรรมชาติ ระดับนํ'าทะเลจึงสู งขึ'นจนมีระดับใกล้เคียงกับทุกวันนี'แต่ทว่าในช่วงศตวรรษที ผ่านมา ได้มีการตัดไม้ทาลายป่ าและทําอุตสาหกรรมหนักทําให้ปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกเพิมขึ'นอย่างรวดเร็ วจน ํ เกิด ปรากฏการณ์โลกร้อน (Global warming) และหากอัตราการเพิมขึ'นของก๊าซเรื อนกระจกยังคงเป็ นเช่นนี'แผ่น นํ'าแข็งขั'วโลกจะละลายทําให้ระดับนํ'าทะเลสู งขึ'น การละลายของแผ่นนํ'าแข็งขั'วโลกนอกจากจะส่ งผลให้ระดับนํ'าทะเลสู งขึ'นแล้วยังทําให้อลบีโดของโลกลดลง ั อีกด้วย กล่าวคือพื'นทีสี ขาวซึ งทําหน้าทีสะท้อนรังสี จากดวงอาทิตย์คืนสู่ อวกาศลดน้อยลง (นํ'าทะเลมีอลบีโดย ั น้อยกว่าก้อนนํ'าแข็ง) พื'นทีสี เข้มเช่นนํ'าทะเลจะดูดความร้อนได้ดีข' ึนและส่ งผลซํ'าเติมทําให้อุณหภูมิของโลกและ ระดับนํ'าทะเลสู งขึ'นไปอีกอย่างรวดเร็ ว บริ เวณพื'นทีเกาะและทีราบลุ่มชายฝังทะเล เช่นตอนใต้ของประทศ เวียดนามและประเทศกัมพูชาจะถูกนํ'าท่วม ดังภาพที 6 ความเค็มของนํ'าทะเลซึ งเจือจางลงเนืองจากการละลายของ นํ'าแข็งจะส่ งผลให้การไหลเวียนของกระแสนํ'าในมหาสมุทรเปลียนทิศทางและความจุความร้อนเปลียนไปส่ ง ผลกระทบให้เกิดการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างรุ นแรง กราฟแสดงการเพิมขึ'นของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในชั'นบรรยากาศโลก ในรอบ 50 ปี ทีผ่านมา จาก 310ppm ขึ'นมาเป็ น 380ppm ในปั จจุบน ั ทีมา : NOAA/Scripps Institution of Oceanography
  • 8. ก๊ าซเรือนกระจกประกอบด้ วยก๊ าซทีสํ าคัญ คือ 53 % ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (380ppm) ทุกวันนี'ในชั'นบรรยากาศมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ 380 โมเลกุลในทุกๆ 1ล้านโมเลกุลของมวลอากาศ หรื อ 380ppm (parts per million) และมีการเพิมขึ'นประมาณปี ละ 1 เปอร์ เซ็นต์ เมือเทียบกับราว 100 ปี ก่อนในยุคปฏิวติ ั ่ อุตสาหกรรมระดับความเข้มของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในชั'นบรรยากาศอยูทีประมาณ 280 ppm ่ นักวิทยาศาสตร์ คาดการณ์วา ในอีก 100 ปี ข้างหน้าถ้าไม่มีการแก้ไขหรื อชะลอการใช้พลังงานจากเชื'อเพลิง ฟอสซิ ลความเข้มข้นของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จะเพิมขึ'นเป็ นเกือบ 1,000 ppm ซึ งเป็ นการเพิมในอัตราทีเร็ ว กว่าทีผ่านมาอย่างมาสาเหตุทีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เพิมสู งขึ'นเรื อยๆ ในชั'นบรรยากาศนั'นนอกจากว่ามาจาก การเผาไหม้เชื' อเพลิงฟอสซิ ลแล้วสาเหตุสาคัญอีกประการหนึงคือการตัดไม้ทาลายป่ าและเผาป่ าเพือเปลียนเป็ น ํ ํ พื'นทีการเกษตรเนื องจากต้นไม้มีคุณสมบัติทีดีในการดูดซับก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ไม่ให้ลอยขึ'นสู่ ช' น ั บรรยากาศ เมือพื'นทีป่ าลดน้อยลงปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศจึงสู งขึ'นและการเผาป่ ายังทําให้ซาก ่ พืชซากสัตว์ทีอยูในดินถูกทําลายกลายเป็ นก๊าซชนิดนี'เพิมขึ'นในชั'นบรรยากาศด้วยเมือ 10 ปี ก่อน นักวิทยาศาสตร์ ได้สารวจวัดปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิของโลกย้อนกลับไปเมือ 650,000 ปี ก่อนโดยวิเคราะห์จาก ํ ่ ั แท่งนํ'าแข็งทีอยูลึกลงไปใต้ผิวโลกและได้ขอสรุ ปว่าอุณหภูมิของโลกมีความสัมพันธ์กบปริ มาณก๊าซ ้ คาร์ บอนไดออกไซด์ในชั'นบรรยากาศ เมือช่วงเวลาใดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์มากอุณหภูมิของโลกก็จะ สู งขึ'น 17% ก๊ าซมีเทน (1.8ppm) ่ เป็ นก๊าซทีเกิดจากปลูกข้าว การเลี'ยงสัตว์และการเผาไหม้ของเชื'อเพลิงฟอสซิ ลแม้วาก๊าซมีเทนในชั'นบรรยากาศจะ มีเพียงเล็กน้อยแต่โมเลกุลของก๊าซมีเทนสามารถดูดกลืนรังสี ความร้อนได้มากกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ถึง 25 เท่าปั ญหาการปลดปล่อยก๊าซมีเทนในชั'นบรรยากาศได้กลายเป็ นประเด็นทางการเมืองระหว่างประเทศด้วย กล่าวคือทีผ่านมาเวลามีการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยปั ญหาภาวะเรื อนกระจกประเทศทีพัฒนาแล้วซึ งส่ วน ใหญ่เป็ นประเทศอุตสาหกรรมทีปลดปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในปริ มาณมากจะพยายามยกประเด็นว่า ประเทศกําลังพัฒนาซึ งส่ วนใหญ่เป็ นประเทศเกษตรกรรมก็ปลดปล่อยก๊าซมีเทนมากด้วยเช่นกันโดยยกตัวอย่าง การปลูกข้าวแบบให้น' าท่วมขังเพือเป็ นการควบคุมวัชพืชซึ งจะทําให้ดินขาดออกซิ เจน แบคทีเรี ยบางชนิ ดจึงผลิต ํ ก๊าซมีเทนมากขึ'นและเนืองจากก๊าซมีเทนสามารถเก็บกักความร้อนได้ดีกว่าดังนั'นประเทศพัฒนาแล้วจึงพยายาม กดดันให้ประเทศกําลังพัฒนาร่ วมรับผิดชอบด้วยในระดับหนึง 13% ก๊ าซโอโซนระดับผิวโลก (0.03ppm) ่ เมืออยูในชั'นบรรยากาศสู งๆก๊าซโอโซนจะช่วยปกป้ องโลกจากรังสี อลตราไวโอเลตแต่โอโซนทีอยูในระดับผิว ั ่ โลกจะทําหน้าทีเป็ นสารออกซิ แดนท์ซึงจะทําปฏิกิริยากับเนื'อเยือของสิ งมีชีวตถือได้วาเป็ นก๊าซโอโซนทีแม้จะอยู่ ิ ่ ในบรรยากาศของโลกเพียงเล็กน้อยแต่มีความสามารถในการดูดกลืนรังสี อินฟราเรด ทําให้โลกอบอุ่นขึ'นด้วย
  • 9. 12% ก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (0,3ppm) โรงงานอุตสาหกรรมทีผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรมเคมีและพลาสติกใช้กรดไนตริ กในกระบวนการผลิตจะ ปลดปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์ข' ึนสู่ ช' นบรรยากาศรวมไปถึงปุ๋ ยไนโตรเจนทีใช้ในการทําการเกษตรและแม้วาใน ั ่ ธรรมชาติจะมีการปล่อยก๊าซชนิดนี' ออกมาแต่ก๊าซไนตรัสออกไซด์จากโรงงานอุตสาหกรรมมีปริ มาณเพิมขึ'นอย่าง รวดเร็ วส่ งผลให้ความร้อนในชั'นบรรยากาศเพิมขึ'น 5 % ก๊ าซซีเอฟซี (1ppm) ่ ก๊าซชนิดนี'เป็ นก๊าซทีมีสารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์ บอนมีใช้อยูในเครื องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น สเปรย์ นํ'ายา ดับเพลิง ฯลฯเป็ นตัวการสําคัญทีทําให้เกิดรู โหว่ของโอโซนในชั'นบรรยากาศทําให้รังสี อลตราไวโอเลตส่ องลง ั มาถึงพื'นโลกได้มากขึ'นแม้วาปั จจุบนทัวโลกได้รณรงค์ลดการปล่อยก๊าซซี เอฟซี ลงได้ถึง 40 %แต่ทียังหลงเหลืออยู่ ่ ั ในชั'นบรรยากาศก็มีส่วนในการดูดกลืนรังสี อินฟราเรดจนเกิดความร้อนสะสมขึ'นประมาณ 0.28 วัตต์/ตารางเมตร กระดาษจะใช้เวลาในการย่อยสลาย 8-13 กก./ปี การใช้กระดาษ รี ไซเคิล 1 ตันจึง สามารถลดการปล่อยก๊าซเรื อน กระจกได้ถึง 7 ตัน
  • 10. บทที 3 อุปกรณ์ และขั<นตอนการทํา อุปกรณ์ 1. กระดาหนังสื อพิมพ์ทีไม่ใช้แล้ว 2. กรรไกร 3. กาว หรื อ แป้ งเปี ยก 4. แม่แบบทีต้องการ 5. สี โปสเตอร์ 6. คัตเตอร์ 7. เทปกาว ขั<นตอนการทําหมูออมสิ น และไข่ ออมสิ น 1. ตัดกระดาษหนังสื อพิมพ์เป็ นชิ'นเล็กๆขนาดประมาณ 1x2 เซนติเมตร 2. ทากาวทีแม่แบบแล้วนํากระดาษหนังสื อพิมพ์ติดให้ทว ทิ'งไว้ไห้แห้ง ั 3. เมือแม่แบบแข็งตัวดีแล้วใช้มีดคัตเตอร์ กรี ดออกเป็ น 2 ส่ วน 4. ติดเทปกาวตามรอยให้ติดกันและตกแต่งระบายสี ตามใจชอบ 5. ได้ชิ'นงานทีมีชือว่า “ไข่ออมสิ น” และ “หมูออมสิ น” สถานทีปฏิบัติงาน - โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ระยะเวลาในการดําเนินงาน ตั'งแต่วนที 5 มกราคม 2556 – วันที 5 กุมภาพันธ์ 2556 ั
  • 11. บทที 5 อภิปรายและสรุ ปผล จากการทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนแล้วจะพบว่ากระดาษทีนํามาประดิษฐ์เปเปอร์ มาเช่น' นถ้า ั นําไปเผาจะทําให้เกิดกลุ่มควันทําให้เกิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ซึ งเป็ นสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อน แต่ถา ้ นํามาประดิษฐ์ สร้างสรรค์เป็ นชิ'นงานอย่างอืนแล้ว จะเป็ นการช่วยลดการเผากระดาษ และช่วยลดปั ญหาภาวะโลก ร้อนด้วย สําหรับชิ'นงานทีได้จากการทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนั'น จะได้ชิ'นงาน จํานวน 3 ชิ'น ได้แก่ หมูออมสิ น ไข่ออมสิ น ละกล่องกระดาษทิชชู สําหรับหมูออมสิ นนั'นใช้กระดาษไปทั'งหมด 200 กรัม ไข่ออม สิ นใช้กระดาษไปทั'งหมด 200 กรัม และกล่องกระดาษทิชชูใช้กระดาษไปทั'งหมด 300 กรัม รวมแล้วโครงงานเป เปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนี'ใช้กระดาษไปทั'งสิ' น 700 กรัม สามารถลดปริ มาณกระดาษทีเหลือใช้ได้ถึง 60 % ลดก๊าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ทีจะก่อตัวในชั'นบรรยากาศได้ถึง 0.60 ppm. กระปุกออมสิ นทั'ง 2 แบบ และกล่องกระดาษ ทิชชูทีได้จากการทําโครงงานนี'มีประสิ ทธิ ภาพและสามารถใช้งานได้จริ งในชีวตประจําวัน ิ
  • 12. บทที 4 ผลการทดลอง 350 300 250 200 150 การเพิมของก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ 100 50 0 จากการทดลองทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนี'ทางกลุ่มของพวกเราพบว่า ใช้กระดาษ หนังสื อพิมพ์ไปทั'งหมด 700 กรัม โดยหมูออมสิ นใช้กระดาษ 200 กรัม ไข่ออมสิ นใช้กระดาษ 200 กรัม และกล่อง กระดาษทิชชูใช้กระดาษ 300 กรัม ซึ งชิ'นงานทีเราได้น' นล้วนมีประสิ ทธิ ภาพและสามารถใช้งานได้จริ งใน ั ชีวตประจําวันถึง 60% ิ
  • 13. กราฟแท่ งแสดงการลดปริมาณของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ 400 300 200 100 การเพิมของก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ 0 การลดของก๊ าซคาร์ บอนไดออไซด์ -100 -200 -300 -400 จากการทดลองทําโครงงานเปเปอร์ มาเช่ ลดโลกร้อนนี'ทางกลุ่มของพวกเราพบว่า ปริ มาณก๊าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ลดลงอย่างเห็นได้ชด สังเกตได้จากกราฟด้านบนนี' กระดาษทีใช้ทาหมูออมสิ น สามารถลด ั ํ ปริ มาณการเผาได้ถึง 200 กรัม ไข่ออมสิ นสามารถลดปริ มาณการเผากระดาษได้ถึง 200 กรัม และกล่องกระดาษ ทิชชูสามารถลดได้ถึง 300 กรัม หรื อสามารถลดปริ มารก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ทีเกิดจากการเผาได้มาถึง 0.5 ppm.