SlideShare a Scribd company logo
Colligative Properties สมบัติคอลลิเกทิฟ จุดประสงค์ ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมบัติคอลลิเกทิฟ การศึกษาจุดเดือด  -  จุดหลอมเหลว ( หรือจุดเยือกแข็ง )  ของ สารละลาย เปรียบเทียบกับจุดเดือด  -  จุดหลอมเหลว ( จุดเยือกแข็ง )  สารบริสุทธิ์ ที่เป็นตัวทำละลายในสารละลายนั้น น้ำ เชื่อม  ---  น้ำ
สมบัติ คอลลิเกทิฟ  หมายถึงสมบัติกายภาพของสารละลายที่ขึ้นอยู่กับ จำนวนอนุภาค ของ ตัวละลาย   (solute)   หรือ  ความเข้มข้น ของสารละลาย (solution)   แต่  ไม่ขึ้นกับชนิดของตัวละลาย  ทฤษฎี
สมบัติคอลลิเกทิฟในระดับนี้เน้นเฉพาะสารละลาย   non - electrolyte ,[object Object],[object Object]
จุดเดือด  ( Boiling point , B.P.) &  จุดเดือดปกติ อุณหภูมิขณะที่ของเหลวมี ความดันไอ เท่ากับ ความดันบรรยากาศ  คือจุดเดือดของสาร  ถ้าความดันบรรยากาศขณะนั้นเท่ากับ  1 atm  (  บรรยากาศ  )   เรียกอุณหภูมิขณะเดือดนั้นว่า  จุดเดือดปกติ  ( normal boiling point )
อุณหภูมิที่ ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง จุดหลอมเหลว  ( Melting point , M.P.) อุณหภูมิที่ ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว โดยจะมี ช่วงอุณหภูมิของการหลอมเหลว จุดเยือกแข็ง   ( freezing point , F.P. )
0.5 cm การเตรียมหลอดคะปิลลารี ตำแหน่งหลอมปิด
 
 
ตาราง  1 .1 จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P.  (   C )   T b  (   C )  Ethanol  (   EtOH   ) --- 78.50 ---- Glycerol   ใน  EtOH 1.0   m 79.72 1.22 Glycerol   ใน EtOH 2.0 m 80.94 2.44
ตาราง  1.2  จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P.  (   C )   T b  (   C )  น้ำ --- 100.0 ---- สารละลายกลูโคส 1.0   m 100.51 0.51 สารละลายกลูโคส 2.0 m 101.02 1.02
ข้อมูลจากตารางข้างต้น สามารถสรุปจุดเดือดของสารละลายและสารบริสุทธิ์ที่เป็นตัวทำละลายได้ว่าอย่างไร จุดเดือดของสารละลายจะสูงกว่าจุดเดือดสารบริสุทธิ์ที่เป็นตัวทำละลาย
ตาราง  2.1  จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ ให้พิจารณาชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายในสารละลายทั้ง  2  ชนิด แล้วเปรียบเทียบจุดเดือดของสารละลายทั้ง  2  ชนิด กับจุดเดือดตัวทำละลาย สาร ความเข้มข้น B.P.  (   C )   T b  (   C )  Ethanol  (   EtOH   ) --- 78.50 ---- Glycerol   ใน  EtOH 1.0   m 79.72 1.22 Oleic ใน  EtOH 1.0 m 79.72 1.22
ตาราง  2.2  จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P.  (   C )   T b  (   C )  น้ำ --- 100.0 ---- สารละลายกลูโคส 1.0   m 100.51 0.51 สารละลายซูโครส 1.0 m 100.51 0.51
ข้อมูลจากตารางข้างต้น สามารถสรุปจุดเดือดของสารละลายที่มีตัวละลายต่างชนิดกัน แต่มีตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้ว่าอย่างไร สารละลายที่มีตัวละลายต่างชนิดกัน แต่มีตัวทำละลายชนิดเดียวกัน และมีความเข้มข้นเท่ากัน จุดเดือดของสารละลายจะเท่ากัน แต่สูงกว่า  จุดเดือดสารบริสุทธิ์ที่เป็น ตัวทำละลาย
ตาราง  2.3  เปรียบเทียบ จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P.  (   C )   T b  (   C )  Ethanol  (   EtOH   ) --- 78.50 ---- Glycerol / EtOH 1.0   m 79.72 1.22 Glycerol / EtOH 2.0 m 80.94 2.44 Oleic/ EtOH 2.0 m 80.94 2.44
ตาราง  3.1  อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย ช่วงอุณหภูมิการหลอมเหลว  ( เริ่มหลอมถึงหลอมหมด ) ของสารบริสุทธิ์ กับ สารละลาย แตกต่างกันอย่างไร  ?   สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C ฟีนิลเบนซีนในแนฟทาลีน 1.0 m 71.0  C 76.5  C 73.75  C ฟีนิลเบนซีนในแนฟทาลีน 2.0 m 64.0  C 70.0  C 67.0  C
ตาราง  3.2 อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย จากข้อมูล อุณหภูมิของการหลอมเหลวของสาร  ( T m )   หาได้อย่างไร  ?   สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 1.0  m 70.5  C 76.5  C 73.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 2.0 m 63.5  C 69.5  C 66.5  C
จากข้อมูล จะสามารถสรุปจุดหลอมเหลวของสารละลาย กับจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ได้ว่าอย่างไร จุดหลอมเหลวของสารละลายต่ำกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ที่เป็นตัวทำละลาย และสารละลายยิ่งมีความเข้มข้นมากขึ้น จุดหลอมเหลวจะยิ่งลดต่ำลงกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์
ตาราง  3.3 อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย ให้พิจารณาชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายในสารละลายทั้ง  2  ชนิด แล้วเปรียบเทียบจุดหลอมเหลวของสารละลายทั้ง  2  ชนิด กับตัวทำละลาย สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 1.0  m 70.5  C 76.5  C 73.5  C ฟีนิลเบนซีนในแนฟทาลีน 1.0 m 71.0  C 76.5  C 73.75  C
จากข้อมูล จะสามารถสรุปจุดหลอมเหลวของสารละลาย กับจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ได้ว่าอย่างไร หมายเหตุ  จากข้อมูล อุณหภูมิจะไม่เท่ากันพอดี สารละลายที่มีตัวละลายต่างชนิดกัน แต่มีตัวทำละลายชนิดเดียวกัน ถ้ามีความเข้มข้นเท่ากัน จุดหลอมเหลวของสารละลายจะเท่ากัน แต่ต่ำกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ที่เป็นตัวทำละลาย
ตาราง  3.4  อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 1.0  m 70.5  C 76.5  C 73.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 2.0 m 63.5  C 69.5  C 66.5  C ฟีนิลเบนซีน / แนฟทาลีน 1.0 m 71.0  C 76.5  C 73.75  C ฟีนิลเบนซีน / แนฟทาลีน 2.0 m 64.0  C 70.0  C 67.0  C
1.   การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย Elevation of  boling point 2.   การลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย   Lowering of freezing point
1.   การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย Elevation of  boling point จุดเดือด สารบริสุทธิ์ จุดเดือด สารละลาย  T b      m  T b   = k b m  T b  = T b ' - T b   T b T b T b  K b   ค่าคงที่การเพิ่มขึ้น  ของจุดเดือด
ความหมายของค่า  K b ค่า  K b   เป็นค่าคงที่ของผลต่างจุดเดือดระหว่างสารละลายที่เข้มข้น  1.0  mol / kg   กับตัวทำละลายบริสุทธิ์ สารละลายเข้มข้น  1.0  m  จะมีจุดเดือดสูงกว่าน้ำ  0.51    C  ( จุดเดือด  100.51   C ) ค่า  K b  ของน้ำ   =  0.51   C/m
2.   การลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย   Lowering of freezing point จุดหลอมเหลว สารบริสุทธิ์ จุดหลอมเหลว สารละลาย  T f      m  T f   = k f  m  T f  = T f - T f  '   T f T f T f  K f   ค่าคงที่การลดลง  ของจุดเยือกแข็ง
ความหมายของค่า  K f ค่า  K f   เป็นค่าคงที่ผลต่างจุดเยือกแข็ง ( จุดหลอมเหลว ) ระหว่างสารละลายที่เข้มข้น  1.0  mol / kg   กับ ตัวทำละลายบริสุทธิ์ สารละลายเข้มข้น  1.0  m  จะมีจุดเยือกแข็งต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ  1.86    C  (  เยือกแข็งที่ –  1.86    C ) ค่า  K f  ของน้ำ =  1.86   C/m
ตาราง  3.5  แสดง   B.P. , F.P.  K b   และ  K f Solvent B.P. (   C ) K b (   C/m ) F.P(   C ) K f  . (   C/m ) Propanone Trichloromethane Methanol Ethanol Benzene Naphthalene น้ำ Acetic acid Carbontetra   - chloride 56.20 61.70 64.96 78.50 80.10 - 100.0 117.90 76.54 1.71 3.63 0.83 1.22 2.53 - 0.51 3.07 5.03 - - - - 5.50 80.55 0.00 16.60 -22.99 - - - - 4.90 6.98 1.86 3.90 2.98
การคำนวณ - สมบัติคอลลิเกทิฟ  T b  =  k b m  T f  = k f m  T f  = T f - T f  '   T b  = T b ' - T b  การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด การลดลงของจุดเยือกแข็ง    T f   =  K f .m   T b   =  K b .m
ตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับสมบัติคอลลิเกทิฟ ,[object Object], T b   = k b m m  =   = 0.08  C 2 H 6 O 2   =  0.19 g น้ำ  =   37.8  g K b  น้ำ   =  0.51  C/m  T b   = (0.51   C/m )   (0.08  m ) = 0.0408   C  T b  = T b ' - T b  T b '  = 0.041 + 100 = 100.04   C Give : Work :
สารละลายที่ได้จากการนำเอทิลีนไกลคอล ( C 2 H 6 O 2  ) 0.19 g   ละลายในน้ำ  37.8  g   จะเยือกแข็งที่อุณหภูมิเท่าไร m  =   = 0.08  C 2 H 6 O 2   =  0.19 g น้ำ  =   37.8  g  T f   =  K f  m K f  น้ำ   =  1.86    C/m  T f = ( 1.86    C/m )   (0.08  m ) =  0.1488    C  T f  = T f  - T' f  T f  '  = 0.00 – 0.1488  =  - 0.15   C Give : Work :
Freezing Point Depression ทำไม สารละลายจึงมีจุดเยือกแข็งต่ำกว่าตัวทำละลายบริสุทธิ์
ทำไม สารละลายจึงมีจุดเดือดสูงกว่าตัวทำละลายบริสุทธิ์ เพราะผิวหน้าของสารละลายมีจำนวนโมเลกุลของตัวทำละลายน้อยกว่าจากเดิมที่เคยเป็นตัวทำละลายบริสุทธิ์ เพราะเนื่องจากมีโมเลกุลของตัวละลายปะปนอยู่บ้าง จึงทำให้กลายเป็นไอได้น้อยลง Solvent Solution
 
 
Phase diagram
1 atm m.p. b.p. T m T b ความดัน อุณหภูมิ Phase diagram
Phase diagram(pure) b.p. สารบริสุทธิ์ b.p. สารละลาย f.p. สารบริสุทธิ์ f.p. สารละลาย แผนภาพแสดงการเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลดลงของจุดเยือกแข็ง
แผนภาพแสดงการเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลดลงของจุดหลอมเหลว ( เยือกแข็ง ) T b  T b T f T f 
 
 
ความดันออสโมติก การเคลื่อนที่ของตัวทำละลายผ่าน เยื่อกึ่งซึมได้  (osmosis)   ทำให้ปริมาตรสารละลายเพิ่มขึ้น การเคลื่อนที่จะหยุดเมื่อ   ความดันด้านสารละลายต้านการไหลเข้าของตัวทำละลาย  เป็นความดันที่ทำให้   ออสโมซิสหยุด  เรียกว่า  ความดันออสโมติก
 
 

More Related Content

What's hot

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
Wuttipong Tubkrathok
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
Supaluk Juntap
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมSawaluk Teasakul
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
Dr.Woravith Chansuvarn
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
Saipanya school
 

What's hot (20)

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
Saipanya school
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
Saipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
Saipanya school
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
Saipanya school
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
Saipanya school
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
Saipanya school
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
Saipanya school
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
Saipanya school
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
Saipanya school
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
Saipanya school
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
Saipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
Saipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
Saipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
Saipanya school
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
Saipanya school
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
Saipanya school
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
Saipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (11)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

6 colligative

  • 1.
  • 2.
  • 3. สมบัติคอลลิเกทิฟ การศึกษาจุดเดือด - จุดหลอมเหลว ( หรือจุดเยือกแข็ง ) ของ สารละลาย เปรียบเทียบกับจุดเดือด - จุดหลอมเหลว ( จุดเยือกแข็ง ) สารบริสุทธิ์ ที่เป็นตัวทำละลายในสารละลายนั้น น้ำ เชื่อม --- น้ำ
  • 4. สมบัติ คอลลิเกทิฟ หมายถึงสมบัติกายภาพของสารละลายที่ขึ้นอยู่กับ จำนวนอนุภาค ของ ตัวละลาย (solute) หรือ ความเข้มข้น ของสารละลาย (solution) แต่ ไม่ขึ้นกับชนิดของตัวละลาย ทฤษฎี
  • 5.
  • 6. จุดเดือด ( Boiling point , B.P.) & จุดเดือดปกติ อุณหภูมิขณะที่ของเหลวมี ความดันไอ เท่ากับ ความดันบรรยากาศ คือจุดเดือดของสาร ถ้าความดันบรรยากาศขณะนั้นเท่ากับ 1 atm ( บรรยากาศ ) เรียกอุณหภูมิขณะเดือดนั้นว่า จุดเดือดปกติ ( normal boiling point )
  • 7. อุณหภูมิที่ ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง จุดหลอมเหลว ( Melting point , M.P.) อุณหภูมิที่ ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว โดยจะมี ช่วงอุณหภูมิของการหลอมเหลว จุดเยือกแข็ง ( freezing point , F.P. )
  • 9.  
  • 10.  
  • 11. ตาราง 1 .1 จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P. (  C )  T b (  C ) Ethanol ( EtOH ) --- 78.50 ---- Glycerol ใน EtOH 1.0 m 79.72 1.22 Glycerol ใน EtOH 2.0 m 80.94 2.44
  • 12. ตาราง 1.2 จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P. (  C )  T b (  C ) น้ำ --- 100.0 ---- สารละลายกลูโคส 1.0 m 100.51 0.51 สารละลายกลูโคส 2.0 m 101.02 1.02
  • 14. ตาราง 2.1 จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ ให้พิจารณาชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายในสารละลายทั้ง 2 ชนิด แล้วเปรียบเทียบจุดเดือดของสารละลายทั้ง 2 ชนิด กับจุดเดือดตัวทำละลาย สาร ความเข้มข้น B.P. (  C )  T b (  C ) Ethanol ( EtOH ) --- 78.50 ---- Glycerol ใน EtOH 1.0 m 79.72 1.22 Oleic ใน EtOH 1.0 m 79.72 1.22
  • 15. ตาราง 2.2 จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P. (  C )  T b (  C ) น้ำ --- 100.0 ---- สารละลายกลูโคส 1.0 m 100.51 0.51 สารละลายซูโครส 1.0 m 100.51 0.51
  • 16. ข้อมูลจากตารางข้างต้น สามารถสรุปจุดเดือดของสารละลายที่มีตัวละลายต่างชนิดกัน แต่มีตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้ว่าอย่างไร สารละลายที่มีตัวละลายต่างชนิดกัน แต่มีตัวทำละลายชนิดเดียวกัน และมีความเข้มข้นเท่ากัน จุดเดือดของสารละลายจะเท่ากัน แต่สูงกว่า จุดเดือดสารบริสุทธิ์ที่เป็น ตัวทำละลาย
  • 17. ตาราง 2.3 เปรียบเทียบ จุดเดือดของสารละลายและตัวทำละลายบริสุทธิ์ สาร ความเข้มข้น B.P. (  C )  T b (  C ) Ethanol ( EtOH ) --- 78.50 ---- Glycerol / EtOH 1.0 m 79.72 1.22 Glycerol / EtOH 2.0 m 80.94 2.44 Oleic/ EtOH 2.0 m 80.94 2.44
  • 18. ตาราง 3.1 อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย ช่วงอุณหภูมิการหลอมเหลว ( เริ่มหลอมถึงหลอมหมด ) ของสารบริสุทธิ์ กับ สารละลาย แตกต่างกันอย่างไร ? สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C ฟีนิลเบนซีนในแนฟทาลีน 1.0 m 71.0  C 76.5  C 73.75  C ฟีนิลเบนซีนในแนฟทาลีน 2.0 m 64.0  C 70.0  C 67.0  C
  • 19. ตาราง 3.2 อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย จากข้อมูล อุณหภูมิของการหลอมเหลวของสาร ( T m ) หาได้อย่างไร ? สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 1.0 m 70.5  C 76.5  C 73.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 2.0 m 63.5  C 69.5  C 66.5  C
  • 20. จากข้อมูล จะสามารถสรุปจุดหลอมเหลวของสารละลาย กับจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ได้ว่าอย่างไร จุดหลอมเหลวของสารละลายต่ำกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ที่เป็นตัวทำละลาย และสารละลายยิ่งมีความเข้มข้นมากขึ้น จุดหลอมเหลวจะยิ่งลดต่ำลงกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์
  • 21. ตาราง 3.3 อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย ให้พิจารณาชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายในสารละลายทั้ง 2 ชนิด แล้วเปรียบเทียบจุดหลอมเหลวของสารละลายทั้ง 2 ชนิด กับตัวทำละลาย สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 1.0 m 70.5  C 76.5  C 73.5  C ฟีนิลเบนซีนในแนฟทาลีน 1.0 m 71.0  C 76.5  C 73.75  C
  • 22. จากข้อมูล จะสามารถสรุปจุดหลอมเหลวของสารละลาย กับจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ได้ว่าอย่างไร หมายเหตุ จากข้อมูล อุณหภูมิจะไม่เท่ากันพอดี สารละลายที่มีตัวละลายต่างชนิดกัน แต่มีตัวทำละลายชนิดเดียวกัน ถ้ามีความเข้มข้นเท่ากัน จุดหลอมเหลวของสารละลายจะเท่ากัน แต่ต่ำกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ที่เป็นตัวทำละลาย
  • 23. ตาราง 3.4 อุณหภูมิการหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย สาร ความเข้มข้น t เริ่มหลอม t หลอมหมด T m แนฟทาลีน ---- 80.0  C 81.0  C 80.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 1.0 m 70.5  C 76.5  C 73.5  C กรดเบนโซอิก / แนพทาลีน 2.0 m 63.5  C 69.5  C 66.5  C ฟีนิลเบนซีน / แนฟทาลีน 1.0 m 71.0  C 76.5  C 73.75  C ฟีนิลเบนซีน / แนฟทาลีน 2.0 m 64.0  C 70.0  C 67.0  C
  • 24. 1. การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย Elevation of boling point 2. การลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย Lowering of freezing point
  • 25. 1. การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย Elevation of boling point จุดเดือด สารบริสุทธิ์ จุดเดือด สารละลาย  T b  m  T b = k b m  T b = T b ' - T b  T b T b T b  K b ค่าคงที่การเพิ่มขึ้น ของจุดเดือด
  • 26. ความหมายของค่า K b ค่า K b เป็นค่าคงที่ของผลต่างจุดเดือดระหว่างสารละลายที่เข้มข้น 1.0 mol / kg กับตัวทำละลายบริสุทธิ์ สารละลายเข้มข้น 1.0 m จะมีจุดเดือดสูงกว่าน้ำ 0.51  C ( จุดเดือด 100.51  C ) ค่า K b ของน้ำ = 0.51  C/m
  • 27. 2. การลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย Lowering of freezing point จุดหลอมเหลว สารบริสุทธิ์ จุดหลอมเหลว สารละลาย  T f  m  T f = k f m  T f = T f - T f '  T f T f T f  K f ค่าคงที่การลดลง ของจุดเยือกแข็ง
  • 28. ความหมายของค่า K f ค่า K f เป็นค่าคงที่ผลต่างจุดเยือกแข็ง ( จุดหลอมเหลว ) ระหว่างสารละลายที่เข้มข้น 1.0 mol / kg กับ ตัวทำละลายบริสุทธิ์ สารละลายเข้มข้น 1.0 m จะมีจุดเยือกแข็งต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ 1.86  C ( เยือกแข็งที่ – 1.86  C ) ค่า K f ของน้ำ = 1.86  C/m
  • 29. ตาราง 3.5 แสดง B.P. , F.P. K b และ K f Solvent B.P. (  C ) K b (  C/m ) F.P(  C ) K f . (  C/m ) Propanone Trichloromethane Methanol Ethanol Benzene Naphthalene น้ำ Acetic acid Carbontetra - chloride 56.20 61.70 64.96 78.50 80.10 - 100.0 117.90 76.54 1.71 3.63 0.83 1.22 2.53 - 0.51 3.07 5.03 - - - - 5.50 80.55 0.00 16.60 -22.99 - - - - 4.90 6.98 1.86 3.90 2.98
  • 30. การคำนวณ - สมบัติคอลลิเกทิฟ  T b = k b m  T f = k f m  T f = T f - T f '  T b = T b ' - T b การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด การลดลงของจุดเยือกแข็ง  T f = K f .m  T b = K b .m
  • 31.
  • 32. สารละลายที่ได้จากการนำเอทิลีนไกลคอล ( C 2 H 6 O 2 ) 0.19 g ละลายในน้ำ 37.8 g จะเยือกแข็งที่อุณหภูมิเท่าไร m = = 0.08 C 2 H 6 O 2 = 0.19 g น้ำ = 37.8 g  T f = K f m K f น้ำ = 1.86  C/m  T f = ( 1.86  C/m ) (0.08 m ) = 0.1488  C  T f = T f - T' f T f ' = 0.00 – 0.1488 = - 0.15  C Give : Work :
  • 33. Freezing Point Depression ทำไม สารละลายจึงมีจุดเยือกแข็งต่ำกว่าตัวทำละลายบริสุทธิ์
  • 35.  
  • 36.  
  • 38. 1 atm m.p. b.p. T m T b ความดัน อุณหภูมิ Phase diagram
  • 39. Phase diagram(pure) b.p. สารบริสุทธิ์ b.p. สารละลาย f.p. สารบริสุทธิ์ f.p. สารละลาย แผนภาพแสดงการเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลดลงของจุดเยือกแข็ง
  • 41.  
  • 42.  
  • 43. ความดันออสโมติก การเคลื่อนที่ของตัวทำละลายผ่าน เยื่อกึ่งซึมได้ (osmosis) ทำให้ปริมาตรสารละลายเพิ่มขึ้น การเคลื่อนที่จะหยุดเมื่อ ความดันด้านสารละลายต้านการไหลเข้าของตัวทำละลาย เป็นความดันที่ทำให้ ออสโมซิสหยุด เรียกว่า ความดันออสโมติก
  • 44.  
  • 45.