SlideShare a Scribd company logo
แบบทดสอบเรื่อ งกาพย์เ ห่เ รือ

๑. เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ ทรงพระราชนิพนธ์ กาพย์
เห่เรือเนื่องในโอกาสใด
       ๑. ในงานทอดกฐิน
       ๒. ในงานฉลองกรุงศรีอยุธยา
       ๓. ในการตามเสด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประพาสทางนำ้าใน
เดือน ๑๒
       ๔. ในการตามเสด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไปนมัสการ
พระพุทธบาทสระบุรี
๒. ข้อใดเป็นลักษณะคำาประพันธ์ของ กาพย์เห่เรือ
       ๑. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์เห่
       ๒. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ และโคลงสี่สุภาพ
       ๓. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ สลับกับโคลงสี่
สุภาพต่อบท
       ๔. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ หลายบท โดยมี
โคลงสี่สุภาพนำาก่อน ๑ บท
๓. ศิลปะในข้อใดที่เกิดขึ้นสัมพันธ์กับโอกาสที่พระมหากษัตริย์
เสด็จประพาสทางชลมารคมากที่ส ุด
       ๑. วิจิตรศิลป์ และนาฏศิลป์      ๒. นาฏศิลป์และ
วรรณศิลป์
       ๓. วิจิตรศิลป์ และวรรณศิลป์     ๔. สังคีตศิลป์ และ
วรรณศิลป์
๔. กาพย์เห่เรือ ได้สะท้อนให้เห็นภาพชีวิตของคนไทยตรงกับข้อ
ใด
       ๑. คนไทยชอบความสนุกสนาน               ๒. การคมนาคมใช้
ทางนำ้าเป็นสำาคัญ
       ๓. ไทยมีประเพณีเกี่ยวกับทางนำ้ามาก ๔. ประเทศไทยมี
กองทัพเรือที่เข้มแข็ง
๕. กาพย์เห่เรืองของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรได้รับการยกย่องว่าเป็น
ยอดกาพย์เห่เรือมีอรรถรสไพเราะ
    โดยเฉพาะบทใด
       ๑. บทตัดพ้อ           ๒. บทพิศวาส ๓. บทครำ่าครวญ ๔.
บทชมความงาม
๖. ลำานำาสวะเห่จะใช้เห่เรือเมื่อใด
      ๑. เมื่อเรือออกจากท่า            ๒. เมื่อพายเรือช้าๆ ตาม
กระแสนำ้า
      ๓. เมื่อพายเรือเร็วๆ ตามกระแสนำ้าที่เชี่ยว     ๔. เมื่อเรือจะ
เทียบท่าที่เป็นจุดหมายปลายทาง
๗. หน่วยราชการใดมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดกระบวน
พยุหยาตราทางชลมารค
      ๑. มหาดไทย                       ๒. ราชนาวีไทย
      ๓. สำานักราชเลขาธิการ                    ๔. สำานักนายก
รัฐมนตรี




๘. ปลาชนิดใดลักษณะรูปร่างต่างจากปลาชนิดอื่นมากที่สุด
     ๑. เพียนทอง        ๒. กระแห่     ๓. คางเบือน               ๔.
แก้มชำ้า
           “ชะแวงแฝงฝั่งแนบ            ชะวาดแอบแปบปนปลอม
     เหมือนพี่แอบแนบถนอม                      จอมสวาทนาฏ
บังอร”
๙. บทประพันธ์นี้กล่าวถึงปลากี่ช นิด
     ๑. ๑ ชนิด       ๒. ๒ ชนิด         ๓. ๓ ชนิด ๔. ๔ ชนิด
๑๐. จากข้อ ๙ วรรคใดใช้ศัพท์ที่หมายถึงผู้ห ญิง ทั้ง หมด
     ๑. วรรคที่ ๑         ๒. วรรคที่ ๒            ๓. วรรคที่ ๓
     ๔. วรรคที่ ๔
๑๑. จากข้อ ๙ บทประพันธ์นี้ไ ม่ไ ด้ใ ช้ศ ิล ปะใด
     ๑. สัมผัสสระ         ๒. สัมผัสอักษร          ๓. อุปมา ๔.
สัทพจน์
          “แก้มชำ้าชำ้าใครต้อง                อันแก้มน้องชำ้า
     เพราะชม
     ปลาทุกทุกข์อกกรม                         เหมือนทุกข์พี่ที่จาก
นาง”
๑๒. คำาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะในการประพันธ์แบบใด
๑. ใช้คำาซำ้า       ๒. สัมผัสอักษร          ๓. เล่นคำา ๔.
สัมผัสสระ
๑๓. “ชาย” ในข้อใดที่มีความหมายต่างกับข้ออื่น
      ๑. คางเบือนเบือนหน้ามา                ไม่งามเท่าเจ้าเบือน
ชาย
      ๒. กระแหแหห่างชาย               ดั่งสายสวาทคลาดจากสม
      ๓. ไพเราะเพราะกังวาน                  ปานเสียงน้องร้อง
สั่งชาย
      ๔. ชายใดในแผ่นดิน               ไม่เหมือนพี่ที่ตรอมใจ
๑๔. คำาประพันธ์ในข้อใดมีค่าทางสังคม
      ๑. นวลจันทร์เป็นนวลจริง         เจ้างามพริ้งยิ่งนวลปลา
      ๒. คางเบือนเบือนหน้ามา          ไม่งามเท่าเจ้าเบือนชาย
      ๓. เพียนทองงามดั่งทอง                 ไม่เหมือนน้องห่ม
ตาดพราย
      ๔. กระแหแหห่างชาย               ดั่งสายสวาทคลาดจากสม




๑๕. ข้อใดให้ทั้งจินตภาพและอารมณ์สะเทือนใจ
     ๑.          งามทรงวงดั่งวาด          งามมารยาทนาดกรกราย
          งามพริ้มยิ้มแย้มพราย            งามคำาหวานลานใจถวิล
     ๒.          จำาปาหนาแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่าม
          คิดคะนึงถึงนงราม                ผิวเหลืองกว่าจำาปาทอง
     ๓.          เวลามาทันแล้ว            จึงจำาแคล้วแก้วโกมล
          ให้แค้นแสนสุดทน                 ทุกข์ถึงเจ้าเศร้าเสียดาย
     ๔.          เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู่
          ตัวเดียวมาพลัดคู่               เหมือนพี่อยู่ผู้เดียวดาย
๑๖. ข้อใดไม่ใ ช้ว ิธ ีอ ุป มาในการประพันธ์
     ๑.          นกแก้วแจ้วแจ่มเสียง            จับไม้เรียงเคียงคู่
สอง
          เหมือนพี่นี้ประคอง                    รับขวัญน้องต้อง
     มือเบา
๒.         ไก่ฟ้ามาตัวเดียว          เดินท่องเที่ยวเลี้ยว
เหลี่ยมเขา
           เหมือนพรากจากนงเยาว์                  เปล่าใจเปลี่ยว
      เหลียวหานาง
      ๓.        แขกเต้าเคล้าคู่เคียง       เรียงจับไม้ไซ้ปีก
หาง
          เรียมคะนึงถึงเอวบาง              เคยแนบข้างร้าง
    แรมนาน
    ๔.         ดุเหว่าเจ่าจับร้อง          สนั่นก้องซ้องเสียง
หวาน
          ไพเราะเพราะกังวาน                ปานเสียงน้องร้อง
    สั่งชาย
            พิศพรรณปลาว่ายเคล้า                     คลึงกัน
     ถวิลสุดาจันทร์                           แจ่มหน้า
     มัตสยาย่อมพัวพัน                         พิศวาส
     ควรฤพรากน้องช้า                          ชวดเคล้าคลึงชม
๑๗. โคลงสี่สุภาพข้างต้นนี้มีลักษณะเด่นอย่างไร
     ๑. มีสัมผัสอักษรแพรวพราว          ๒. มีสัมผัสสระไพเราะ
     ๓. มีสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและอักษร       ๔. มีสัมผัสอักษร
ระหว่างวรรคทุกบาท
๑๘. ความในข้อใดที่แฝงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งของบุคคลได้อย่าง
แยบยลที่สุด
     ๑. แก้มชำ้าชำ้าใครต้อง            อันแก้มน้องชำ้าเพราะชม
     ๒. เนื้ออ่อนอ่อนแต่ชื่อ           เนื้อน้องฤๅอ่อนทั้งกาย
     ๓. รวยรินกลิ่นรำาเพย               คิดพี่เคยเชยกลิ่นปราง
     ๔. เหมือนพี่นี้ประคอง             รับขวัญน้องต้องมือเบา
๑๙. จงพิจารณาว่าจากโคลงที่กำาหนดให้นี้ ข้อใดเป็นการสรุป
ความรู้สึกที่เด่นชัดของกวี
            รอนรอนสุริยโอ้             อัสดง
     เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง             คำ่าแล้ว
     รอนรอนจิตจำานง                    นุชพี่ เพียงแม่
     เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว                 คลับคล้ายเรียม
เหลียว
     ๑. คะนึงหา                  ๒. รักแล้วรอหน่อย
๓. ทำาไมถึงต้องเป็นเรา                   ๔. มีรักเหมือนมี
ทุกข์อยู่ล้นปรี่
                  “แต่เช้าเท่าถึงเย็น              กลำ้ากลืนเข็ญเป็น
           อาจิณ
           ชายใดในแผ่นดิน                          ไม่เหมือนพี่ที่
     ตรอมใจ”
๒๐. ข้อความนี้มีเนื้อสอดคล้องกับข้อใดมากที่ส ุด
     ๑.           จากเช้าเท่าถึงเย็น               แสนลำาเค็ญนิรันดร
           กายใจให้รุมร้อน                 ห่วงอารมณ์ทองถอดใจ
     ๒.           เย็นเช้าพี่เฝ้าคิด       ทั้งกายจิตคิดหวั่นไหว
           บุรุษในแดนใด                    ไม่อ้างว้างเท่าตัวพี่
     ๓.           เวลาทุกนาที              มิมีที่ไม่คิดถึง
           ยิ่งคิดหวงห่วงคะนึง             ถึงตัวพี่ที่เฝ้าตรม
     ๔.           อรุณรุ่งจุ่งสนธยา        พี่สุดว้าเหว่ดวงใจ
           ชายอื่นแม้แดนไหน                จะเศร้าเท่าเราไม่มี
๒๑. ข้อใดไม่แสดงอาการเคลื่อนไหว
     ๑. จำาปาหนาแน่นเนื่อง           คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่าม
     ๒. ไม่เท่าเจ้าโฉมฉาย            ห่มตาดพรายกรายกรมา
     ๓. ประยงค์ทรงพวงห้อย                  ระย้าย้อยห้องพวงกรอง
     ๔. มะลิวัลย์พันจิกจวง           ดอกเป็นพวงร่วงเรณู
ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ ๒๒-๒๔
(ก)        ชมดวงพวงนางแย้ม          บานแสล้มแย้มเกสร
     คิดความยามบังอร                แย้มโอษฐ์ยิ้มพริ้มพราย
งาม
(ข)        พิกุลบุนนาคบาน     กลิ่นหอมหวานซ่านขจร
     แม้นนุชสุดสายสมร               เห็นจะวอนอ้อนพี่ชาย

(ค)          ลำาดวนหวนหอมตรลบ            กลิ่นอายอบสบนาสา
       นึกถวิลกลิ่นบุหงา                 รำาไปเจ้าเศร้าถึงนาง
(ง)          พุดจีบกลีบแสล้ม       พิกุลแกมแซมสุกรม
       หอมชวยรวยตามลม                    เหมือนกลิ่นน้องต้องติดใจ
๒๒. ข้อใดมีการคิดคำานึงของกวีด้วยสถานการณ์ท ี่แ ปลกจาก
ข้อ อื่น
       ๑. ข้อ ก              ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค             ๔. ข้อ ง
๒๓. ข้อใดเอ่ยถึงชื่อดอกไม้มากที่สุด
     ๑. ข้อ ก              ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค    ๔. ข้อ ง
๒๔. ข้อใดกล่าวถึงสาระสำาคัญของดอกไม้แ ตกต่า งจากข้อ อื่น
     ๑. ข้อ ก              ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค    ๔. ข้อ ง
ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ ๒๕- ๒๖
      (ก)          เพียนทองงามดั่งทอง            ไม่เหมือนน้องห่ม
             ตาดพราย
             กระแหแหห่างชาย                      ดั่งสายสวาทคลาด
             จากสม
      (ข)          นำ้าเงินคือเงินยวง                  ขาวพรายช่วง
สีสำาอาง
             ไม่เทียบเปรียบโฉมนาง                      งามเรืองเรื่อ
เนื้อสองสี
      (ค)          นางนวลนวลน่ารัก               ไม่นวลพักตร์
เหมือนทรามสงวน
             แก้วพี่นี้สุดนวล                    ดั่งนางฟ้าหน้า
      ใยยอง
      (ง)          หางไก่ว่ายแหวกว่าย            หางไก่คล้ายไม่มี
หงอน
             คิดอนงค์องค์เอวอร                   ผมประบ่าอ่าเอี่ยม
ไร
๒๕. คำาประพันธ์ในข้อใดที่พรรณนาเนื้อหาต่า งจากข้ออื่น
      ๑. ข้อ ก                  ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค           ๔. ข้อ ง
๒๖. คำาประพันธ์ในข้อใดไม่ใช้ภาพพจน์
      ๑. ข้อ ก                  ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค           ๔. ข้อ ง
             “เพรางายวายเสพรส แสนกำาสรดอดโอชา
      อิ่มทุกข์อิ่มชลนา               อิ่มโศกกาหน้านองชล”
๒๗. ข้อใดไม่ใ ช่ล ัก ษณะเด่น ของบทประพันธ์ข้างต้นนี้
             ๑. ใช้ถ้อยคำาที่มีเลียงและจังหวะดุจดนตรี
             ๒. ใช้ถ้อยคำาได้ดุลของเสียงและความหมาย
             ๓. ใช้ถ้อยคำาที่ทำาให้เกิดความรู้สึกและจินตนาการได้
             ๔. ใช้ถ้อยคำาง่ายๆ สั้นๆ พรรณนาให้เกิดความสะเทือน
อารมณ์
ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ ๒๘- ๓๐
(ก)        ประยงค์ทรงพวงห้อย          ระย้าย้อยห้องพวง
กรอง
             เหมือนอุบะนวลละออง              เจ้าแขวนไว้ให้เรียม
ชม
    (ข)           สาวหยุดพุทธชาด             บานเกลื่อนกลาด
ดาษดาไป
           นึกน้องกรองมาลัย                  วางให้พี่ข้างที่นอน
       (ค)       เต็งแต้วแก้วกาหลง           บานบุษบงส่งกลิ่น
อาย
             หอมอยู่ไม่รู้หาย                คล้ายกลิ่นผ้าเจ้าตา
ตรู
       (ง)        ลำาดวนหวนหอมตรลบ           กลิ่นอายอบสบ
นาสา
             นึกถวิลกลิ่นบุหงา               รำาไปเจ้าเศร้าถึง
นาง
๒๘. ข้อใดแสดงถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างกวีและนางอัน
เป็นที่รัก
       ๑. ข้อ ก                ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค         ๔. ข้อ ง
๒๙. ข้อใดแสดงประเภทของงานฝีมือกุลสตรีต ่า งจากข้ออื่น
       ๑. ข้อ ก                ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค         ๔. ข้อ ง
๓๐. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมโลก
       ๑. ข้อ ก                ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค         ๔. ข้อ ง
๓๑. ข้อใดมีความคิดคำานึงของผู้รำาพันนิราศในส่วนของเนื้อหา
แปลกกว่าข้ออื่น
       ๑.         หางไก่ว่ายแหวกว่าย          หางไก่คล้ายไม่มี
หงอน
             คิดอนงค์องค์เอวอร                ผมประบ่าอ่าเอี่ยม
ไร
       ๒.         แมลงภู่คู่เคียงว่าย         เห็นคล้ายคล้ายน่า
เชยชม
             คิดความยามเหมือนสม               สนิทเคล้าเจ้าเอว
บาง
       ๓.         พิศดูหมู่มัจฉา              ว่ายแหวกมาใน
สาคร
             คะนึงนุชสุดสายสมร                มาด้วยพี่จะดีใจ
๔.        จำาปาหนาแน่นเนื่อง        คลี่กลีบเหลืองเรือง
อร่าม
             คิดคะนึงถึงนงราม               ผิวเหลืองกว่าจำาปา
ทอง
๓๒. ข้อใดไม่ไ ด้สะท้อนลักษณะทางวัฒนธรรม
      ๑.         นำ้าเงินคือเงินยวง       ขาวพรายช่วง
สีสำาอาง
           ไม่เทียบเปรียบโฉมนาง           งามเรืองเรื่อ
เนื้อสองสี
      ๒.         หางไก่ว่ายแหวกว่าย   หางไก่คล้ายไม่มี
หงอน
           คิดอนงค์องค์เอวอร          ผมประบ่าอ่าเอี่ยม
ไร

      ๓.         โนรีสีปาดชาด              เหมือนช่างฉลาด
วาดแต้มลาย
           ไม่เท่าเจ้าโฉมฉาย               ห่มตาดพรายกราย
      กรมา
      ๔.         งามทรงวงดั่งวาด           งามมารยาทนาดกร
กราย
           งามพริ้มยิ้มแย้มพราย            งามคำาหวานลานใจ
      ถวิล
ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ ตอบคำาถามข้อ ๓๓-
      (ก) เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง   นกบินเฉียงไปเป็นหมู่
           ตัวเดียวมาพลัดคู่         เหมือนพี่อยู่ผู้เดียวดาย
      (ข) ลมชวยรวยกลิ่นน้อง          หอมเรื่อยต้องคลองนาสา
           เคลือบเคล้นเห็นกลิ่นคล้ายมา     เหลียวหาเจ้าเปล่า
วังเวง
      (ค) ปลากรายว่ายเคียงคู่        เคล้ากันอยู่ดูงามดี
           แต่นางห่างเหินพี่         เห็นปลาเคล้าเศร้าใจจร
      (ง) ไก้ฟ้ามาตัวเดียว           เดินท่องเที่ยวเลี้ยวเหลี่ยม
เขา
           เหมือนพรากจากนงเยาว์            เปล่าใจเปลี่ยว
เหลียวหานาง
๓๓. ความในข้อใดผู้เขียนใช้จิตนาการมากที่สุด
๑. ข้อ ก                ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค             ๔. ข้อ ง
๓๔. ข้อใดแสดงภาพเปรียบเทียบที่ตรงกับสภาพของกวีในขณะ
นั้นมากที่สุด
      ๑. ข้อ ก และข้อ ข                 ๒. ข้อ ข และข้อ ค
      ๓. ข้อ ค และข้อ ง                 ๔. ข้อ ง และข้อ ก
๓๕. คำาประพันธ์ในข้อใดมีส ัม ผัส อัก ษรมากที่ส ุด
      ๑. สมรรถชัยไกรกาบแก้ว                     แสงแวววับจับสาคร
      ๒. เสียงเส้าเร้าระดม                      ห่มท้ายเยิ่นเดินคู่กัน
      ๓. เรียบเรียงเคียงคู่จร                   ดั่งร่อนฟ้ามาแดน
ดิน
      ๔. เพียงม้าอาชาทรง                        องค์พระพาย
ผายผันผยอง
๓๖. คำาประพันธ์ในข้อใดไม่ม ีค ำา ที่แ ปลว่า นำ้า
      ๑. เหิมหื่นชื่นกระมล              ยลมัจฉาสารพันมี
      ๒. เลียงผาง่าเท้าโผน              เพียงโจนไปในวารี
      ๓. สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย           งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์
      ๔. นาวาหน้าอินทรี                 มีปีกเหมือนเลื่อนลอย
โพยม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
teerachon
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
Wararit Wongrat
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
Milky' __
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
Nam M'fonn
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
 
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพยสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 

Similar to Test 6

วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
Nat Ty
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
krubuatoom
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
อิ่' เฉิ่ม
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
Nat Ty
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
MilkOrapun
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
phornphan1111
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
Lakkana Wuittiket
 

Similar to Test 6 (20)

แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
 
งานนำเสนอ1.ไทย23256
งานนำเสนอ1.ไทย23256งานนำเสนอ1.ไทย23256
งานนำเสนอ1.ไทย23256
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
Korat
KoratKorat
Korat
 

Test 6

  • 1. แบบทดสอบเรื่อ งกาพย์เ ห่เ รือ ๑. เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ ทรงพระราชนิพนธ์ กาพย์ เห่เรือเนื่องในโอกาสใด ๑. ในงานทอดกฐิน ๒. ในงานฉลองกรุงศรีอยุธยา ๓. ในการตามเสด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประพาสทางนำ้าใน เดือน ๑๒ ๔. ในการตามเสด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไปนมัสการ พระพุทธบาทสระบุรี ๒. ข้อใดเป็นลักษณะคำาประพันธ์ของ กาพย์เห่เรือ ๑. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์เห่ ๒. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ และโคลงสี่สุภาพ ๓. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ สลับกับโคลงสี่ สุภาพต่อบท ๔. เป็นคำาประพันธ์แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ หลายบท โดยมี โคลงสี่สุภาพนำาก่อน ๑ บท ๓. ศิลปะในข้อใดที่เกิดขึ้นสัมพันธ์กับโอกาสที่พระมหากษัตริย์ เสด็จประพาสทางชลมารคมากที่ส ุด ๑. วิจิตรศิลป์ และนาฏศิลป์ ๒. นาฏศิลป์และ วรรณศิลป์ ๓. วิจิตรศิลป์ และวรรณศิลป์ ๔. สังคีตศิลป์ และ วรรณศิลป์ ๔. กาพย์เห่เรือ ได้สะท้อนให้เห็นภาพชีวิตของคนไทยตรงกับข้อ ใด ๑. คนไทยชอบความสนุกสนาน ๒. การคมนาคมใช้ ทางนำ้าเป็นสำาคัญ ๓. ไทยมีประเพณีเกี่ยวกับทางนำ้ามาก ๔. ประเทศไทยมี กองทัพเรือที่เข้มแข็ง ๕. กาพย์เห่เรืองของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรได้รับการยกย่องว่าเป็น ยอดกาพย์เห่เรือมีอรรถรสไพเราะ โดยเฉพาะบทใด ๑. บทตัดพ้อ ๒. บทพิศวาส ๓. บทครำ่าครวญ ๔. บทชมความงาม
  • 2. ๖. ลำานำาสวะเห่จะใช้เห่เรือเมื่อใด ๑. เมื่อเรือออกจากท่า ๒. เมื่อพายเรือช้าๆ ตาม กระแสนำ้า ๓. เมื่อพายเรือเร็วๆ ตามกระแสนำ้าที่เชี่ยว ๔. เมื่อเรือจะ เทียบท่าที่เป็นจุดหมายปลายทาง ๗. หน่วยราชการใดมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดกระบวน พยุหยาตราทางชลมารค ๑. มหาดไทย ๒. ราชนาวีไทย ๓. สำานักราชเลขาธิการ ๔. สำานักนายก รัฐมนตรี ๘. ปลาชนิดใดลักษณะรูปร่างต่างจากปลาชนิดอื่นมากที่สุด ๑. เพียนทอง ๒. กระแห่ ๓. คางเบือน ๔. แก้มชำ้า “ชะแวงแฝงฝั่งแนบ ชะวาดแอบแปบปนปลอม เหมือนพี่แอบแนบถนอม จอมสวาทนาฏ บังอร” ๙. บทประพันธ์นี้กล่าวถึงปลากี่ช นิด ๑. ๑ ชนิด ๒. ๒ ชนิด ๓. ๓ ชนิด ๔. ๔ ชนิด ๑๐. จากข้อ ๙ วรรคใดใช้ศัพท์ที่หมายถึงผู้ห ญิง ทั้ง หมด ๑. วรรคที่ ๑ ๒. วรรคที่ ๒ ๓. วรรคที่ ๓ ๔. วรรคที่ ๔ ๑๑. จากข้อ ๙ บทประพันธ์นี้ไ ม่ไ ด้ใ ช้ศ ิล ปะใด ๑. สัมผัสสระ ๒. สัมผัสอักษร ๓. อุปมา ๔. สัทพจน์ “แก้มชำ้าชำ้าใครต้อง อันแก้มน้องชำ้า เพราะชม ปลาทุกทุกข์อกกรม เหมือนทุกข์พี่ที่จาก นาง” ๑๒. คำาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะในการประพันธ์แบบใด
  • 3. ๑. ใช้คำาซำ้า ๒. สัมผัสอักษร ๓. เล่นคำา ๔. สัมผัสสระ ๑๓. “ชาย” ในข้อใดที่มีความหมายต่างกับข้ออื่น ๑. คางเบือนเบือนหน้ามา ไม่งามเท่าเจ้าเบือน ชาย ๒. กระแหแหห่างชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม ๓. ไพเราะเพราะกังวาน ปานเสียงน้องร้อง สั่งชาย ๔. ชายใดในแผ่นดิน ไม่เหมือนพี่ที่ตรอมใจ ๑๔. คำาประพันธ์ในข้อใดมีค่าทางสังคม ๑. นวลจันทร์เป็นนวลจริง เจ้างามพริ้งยิ่งนวลปลา ๒. คางเบือนเบือนหน้ามา ไม่งามเท่าเจ้าเบือนชาย ๓. เพียนทองงามดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่ม ตาดพราย ๔. กระแหแหห่างชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม ๑๕. ข้อใดให้ทั้งจินตภาพและอารมณ์สะเทือนใจ ๑. งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย งามพริ้มยิ้มแย้มพราย งามคำาหวานลานใจถวิล ๒. จำาปาหนาแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่าม คิดคะนึงถึงนงราม ผิวเหลืองกว่าจำาปาทอง ๓. เวลามาทันแล้ว จึงจำาแคล้วแก้วโกมล ให้แค้นแสนสุดทน ทุกข์ถึงเจ้าเศร้าเสียดาย ๔. เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู่ ตัวเดียวมาพลัดคู่ เหมือนพี่อยู่ผู้เดียวดาย ๑๖. ข้อใดไม่ใ ช้ว ิธ ีอ ุป มาในการประพันธ์ ๑. นกแก้วแจ้วแจ่มเสียง จับไม้เรียงเคียงคู่ สอง เหมือนพี่นี้ประคอง รับขวัญน้องต้อง มือเบา
  • 4. ๒. ไก่ฟ้ามาตัวเดียว เดินท่องเที่ยวเลี้ยว เหลี่ยมเขา เหมือนพรากจากนงเยาว์ เปล่าใจเปลี่ยว เหลียวหานาง ๓. แขกเต้าเคล้าคู่เคียง เรียงจับไม้ไซ้ปีก หาง เรียมคะนึงถึงเอวบาง เคยแนบข้างร้าง แรมนาน ๔. ดุเหว่าเจ่าจับร้อง สนั่นก้องซ้องเสียง หวาน ไพเราะเพราะกังวาน ปานเสียงน้องร้อง สั่งชาย พิศพรรณปลาว่ายเคล้า คลึงกัน ถวิลสุดาจันทร์ แจ่มหน้า มัตสยาย่อมพัวพัน พิศวาส ควรฤพรากน้องช้า ชวดเคล้าคลึงชม ๑๗. โคลงสี่สุภาพข้างต้นนี้มีลักษณะเด่นอย่างไร ๑. มีสัมผัสอักษรแพรวพราว ๒. มีสัมผัสสระไพเราะ ๓. มีสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและอักษร ๔. มีสัมผัสอักษร ระหว่างวรรคทุกบาท ๑๘. ความในข้อใดที่แฝงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งของบุคคลได้อย่าง แยบยลที่สุด ๑. แก้มชำ้าชำ้าใครต้อง อันแก้มน้องชำ้าเพราะชม ๒. เนื้ออ่อนอ่อนแต่ชื่อ เนื้อน้องฤๅอ่อนทั้งกาย ๓. รวยรินกลิ่นรำาเพย คิดพี่เคยเชยกลิ่นปราง ๔. เหมือนพี่นี้ประคอง รับขวัญน้องต้องมือเบา ๑๙. จงพิจารณาว่าจากโคลงที่กำาหนดให้นี้ ข้อใดเป็นการสรุป ความรู้สึกที่เด่นชัดของกวี รอนรอนสุริยโอ้ อัสดง เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง คำ่าแล้ว รอนรอนจิตจำานง นุชพี่ เพียงแม่ เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว คลับคล้ายเรียม เหลียว ๑. คะนึงหา ๒. รักแล้วรอหน่อย
  • 5. ๓. ทำาไมถึงต้องเป็นเรา ๔. มีรักเหมือนมี ทุกข์อยู่ล้นปรี่ “แต่เช้าเท่าถึงเย็น กลำ้ากลืนเข็ญเป็น อาจิณ ชายใดในแผ่นดิน ไม่เหมือนพี่ที่ ตรอมใจ” ๒๐. ข้อความนี้มีเนื้อสอดคล้องกับข้อใดมากที่ส ุด ๑. จากเช้าเท่าถึงเย็น แสนลำาเค็ญนิรันดร กายใจให้รุมร้อน ห่วงอารมณ์ทองถอดใจ ๒. เย็นเช้าพี่เฝ้าคิด ทั้งกายจิตคิดหวั่นไหว บุรุษในแดนใด ไม่อ้างว้างเท่าตัวพี่ ๓. เวลาทุกนาที มิมีที่ไม่คิดถึง ยิ่งคิดหวงห่วงคะนึง ถึงตัวพี่ที่เฝ้าตรม ๔. อรุณรุ่งจุ่งสนธยา พี่สุดว้าเหว่ดวงใจ ชายอื่นแม้แดนไหน จะเศร้าเท่าเราไม่มี ๒๑. ข้อใดไม่แสดงอาการเคลื่อนไหว ๑. จำาปาหนาแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่าม ๒. ไม่เท่าเจ้าโฉมฉาย ห่มตาดพรายกรายกรมา ๓. ประยงค์ทรงพวงห้อย ระย้าย้อยห้องพวงกรอง ๔. มะลิวัลย์พันจิกจวง ดอกเป็นพวงร่วงเรณู ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ ๒๒-๒๔ (ก) ชมดวงพวงนางแย้ม บานแสล้มแย้มเกสร คิดความยามบังอร แย้มโอษฐ์ยิ้มพริ้มพราย งาม (ข) พิกุลบุนนาคบาน กลิ่นหอมหวานซ่านขจร แม้นนุชสุดสายสมร เห็นจะวอนอ้อนพี่ชาย (ค) ลำาดวนหวนหอมตรลบ กลิ่นอายอบสบนาสา นึกถวิลกลิ่นบุหงา รำาไปเจ้าเศร้าถึงนาง (ง) พุดจีบกลีบแสล้ม พิกุลแกมแซมสุกรม หอมชวยรวยตามลม เหมือนกลิ่นน้องต้องติดใจ ๒๒. ข้อใดมีการคิดคำานึงของกวีด้วยสถานการณ์ท ี่แ ปลกจาก ข้อ อื่น ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
  • 6. ๒๓. ข้อใดเอ่ยถึงชื่อดอกไม้มากที่สุด ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๒๔. ข้อใดกล่าวถึงสาระสำาคัญของดอกไม้แ ตกต่า งจากข้อ อื่น ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ ๒๕- ๒๖ (ก) เพียนทองงามดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่ม ตาดพราย กระแหแหห่างชาย ดั่งสายสวาทคลาด จากสม (ข) นำ้าเงินคือเงินยวง ขาวพรายช่วง สีสำาอาง ไม่เทียบเปรียบโฉมนาง งามเรืองเรื่อ เนื้อสองสี (ค) นางนวลนวลน่ารัก ไม่นวลพักตร์ เหมือนทรามสงวน แก้วพี่นี้สุดนวล ดั่งนางฟ้าหน้า ใยยอง (ง) หางไก่ว่ายแหวกว่าย หางไก่คล้ายไม่มี หงอน คิดอนงค์องค์เอวอร ผมประบ่าอ่าเอี่ยม ไร ๒๕. คำาประพันธ์ในข้อใดที่พรรณนาเนื้อหาต่า งจากข้ออื่น ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๒๖. คำาประพันธ์ในข้อใดไม่ใช้ภาพพจน์ ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง “เพรางายวายเสพรส แสนกำาสรดอดโอชา อิ่มทุกข์อิ่มชลนา อิ่มโศกกาหน้านองชล” ๒๗. ข้อใดไม่ใ ช่ล ัก ษณะเด่น ของบทประพันธ์ข้างต้นนี้ ๑. ใช้ถ้อยคำาที่มีเลียงและจังหวะดุจดนตรี ๒. ใช้ถ้อยคำาได้ดุลของเสียงและความหมาย ๓. ใช้ถ้อยคำาที่ทำาให้เกิดความรู้สึกและจินตนาการได้ ๔. ใช้ถ้อยคำาง่ายๆ สั้นๆ พรรณนาให้เกิดความสะเทือน อารมณ์ ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ ๒๘- ๓๐
  • 7. (ก) ประยงค์ทรงพวงห้อย ระย้าย้อยห้องพวง กรอง เหมือนอุบะนวลละออง เจ้าแขวนไว้ให้เรียม ชม (ข) สาวหยุดพุทธชาด บานเกลื่อนกลาด ดาษดาไป นึกน้องกรองมาลัย วางให้พี่ข้างที่นอน (ค) เต็งแต้วแก้วกาหลง บานบุษบงส่งกลิ่น อาย หอมอยู่ไม่รู้หาย คล้ายกลิ่นผ้าเจ้าตา ตรู (ง) ลำาดวนหวนหอมตรลบ กลิ่นอายอบสบ นาสา นึกถวิลกลิ่นบุหงา รำาไปเจ้าเศร้าถึง นาง ๒๘. ข้อใดแสดงถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างกวีและนางอัน เป็นที่รัก ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๒๙. ข้อใดแสดงประเภทของงานฝีมือกุลสตรีต ่า งจากข้ออื่น ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๓๐. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมโลก ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๓๑. ข้อใดมีความคิดคำานึงของผู้รำาพันนิราศในส่วนของเนื้อหา แปลกกว่าข้ออื่น ๑. หางไก่ว่ายแหวกว่าย หางไก่คล้ายไม่มี หงอน คิดอนงค์องค์เอวอร ผมประบ่าอ่าเอี่ยม ไร ๒. แมลงภู่คู่เคียงว่าย เห็นคล้ายคล้ายน่า เชยชม คิดความยามเหมือนสม สนิทเคล้าเจ้าเอว บาง ๓. พิศดูหมู่มัจฉา ว่ายแหวกมาใน สาคร คะนึงนุชสุดสายสมร มาด้วยพี่จะดีใจ
  • 8. ๔. จำาปาหนาแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรือง อร่าม คิดคะนึงถึงนงราม ผิวเหลืองกว่าจำาปา ทอง ๓๒. ข้อใดไม่ไ ด้สะท้อนลักษณะทางวัฒนธรรม ๑. นำ้าเงินคือเงินยวง ขาวพรายช่วง สีสำาอาง ไม่เทียบเปรียบโฉมนาง งามเรืองเรื่อ เนื้อสองสี ๒. หางไก่ว่ายแหวกว่าย หางไก่คล้ายไม่มี หงอน คิดอนงค์องค์เอวอร ผมประบ่าอ่าเอี่ยม ไร ๓. โนรีสีปาดชาด เหมือนช่างฉลาด วาดแต้มลาย ไม่เท่าเจ้าโฉมฉาย ห่มตาดพรายกราย กรมา ๔. งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกร กราย งามพริ้มยิ้มแย้มพราย งามคำาหวานลานใจ ถวิล ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ ตอบคำาถามข้อ ๓๓- (ก) เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปเป็นหมู่ ตัวเดียวมาพลัดคู่ เหมือนพี่อยู่ผู้เดียวดาย (ข) ลมชวยรวยกลิ่นน้อง หอมเรื่อยต้องคลองนาสา เคลือบเคล้นเห็นกลิ่นคล้ายมา เหลียวหาเจ้าเปล่า วังเวง (ค) ปลากรายว่ายเคียงคู่ เคล้ากันอยู่ดูงามดี แต่นางห่างเหินพี่ เห็นปลาเคล้าเศร้าใจจร (ง) ไก้ฟ้ามาตัวเดียว เดินท่องเที่ยวเลี้ยวเหลี่ยม เขา เหมือนพรากจากนงเยาว์ เปล่าใจเปลี่ยว เหลียวหานาง ๓๓. ความในข้อใดผู้เขียนใช้จิตนาการมากที่สุด
  • 9. ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๓๔. ข้อใดแสดงภาพเปรียบเทียบที่ตรงกับสภาพของกวีในขณะ นั้นมากที่สุด ๑. ข้อ ก และข้อ ข ๒. ข้อ ข และข้อ ค ๓. ข้อ ค และข้อ ง ๔. ข้อ ง และข้อ ก ๓๕. คำาประพันธ์ในข้อใดมีส ัม ผัส อัก ษรมากที่ส ุด ๑. สมรรถชัยไกรกาบแก้ว แสงแวววับจับสาคร ๒. เสียงเส้าเร้าระดม ห่มท้ายเยิ่นเดินคู่กัน ๓. เรียบเรียงเคียงคู่จร ดั่งร่อนฟ้ามาแดน ดิน ๔. เพียงม้าอาชาทรง องค์พระพาย ผายผันผยอง ๓๖. คำาประพันธ์ในข้อใดไม่ม ีค ำา ที่แ ปลว่า นำ้า ๑. เหิมหื่นชื่นกระมล ยลมัจฉาสารพันมี ๒. เลียงผาง่าเท้าโผน เพียงโจนไปในวารี ๓. สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ ๔. นาวาหน้าอินทรี มีปีกเหมือนเลื่อนลอย โพยม