SlideShare a Scribd company logo
1
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง
ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน
เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก
ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน
พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม
พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม
เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง
ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
2
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา
ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4
ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เป็นเอกสารประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึง
ความสาคัญของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี
ของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ
รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน
ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้
2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ
นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด
2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด
2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ
ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่
2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ
มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน
และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา
แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
3
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ส 4.3 : เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
มีความรัก ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด
ส 4.3 ป. 5/2 อธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา
ส 4.3 ป. 5/3 บอกประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญสมัยอยุธยาและ
ธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
1.บอกพระราชประวัติของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้
2. อธิบายพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้
3. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา
4. ปฏิบัติตนตามคุณลักษณะด้าน ความใฝ่เรียนรู้และรักความเป็นไทย
5
นักเรียนกาเครื่องหมายทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเมื่อทรงมีพระชนมายุ 7 พรรษา ทรงดารง
ตาแหน่งในข้อใด
ก. พระมหาอุปราช
ข. เจ้าพระยามหานคร
ค. เจ้าสามพระยา
ง. เจ้าเมืองลูกหลวง
2. กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาพระองค์ใดครองราชย์ยาวนานที่สุดถึง 40 ปี
ก. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ง. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
3. ผู้ปกครองหัวเมืองชั้นในของการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ เรียกว่าอะไร
ก. ผู้รั้ง
ข. นายอาเภอ
ค. เจ้าเมือง
ง. ขุนนาง
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
คาชี้แจง
6
4. กรมเวียง กรมวัง กรมคลังและกรมนา เป็นการปกครองแบบใด
ก. ประเทศราช
ข. สมุหกลาโหม
ค. สมุหนายก
ง. จตุสดมภ์
5. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ใด
ก. สุโขทัย
ข. ปราสาททอง
ค. สุพรรณภูมิ
ง. บ้านพลูหลวง
6. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุงสิ่งใดในรัชสมัยของพระองค์
ก. ด้านศาสนา
ข. ด้านการค้าขาย
ค. ด้านการศึกษา
ง. ด้านการปกครอง
7. ในการปกครองแบบจตุสดมภ์หน่วยงานใดมีหน้าที่ดูแลราษฎรให้ทา
การเกษตรให้ได้ผล
ก. กรมเวียง
ข. กรมวัง
ค. กรมคลัง
ง. กรมนา
7
8. “สองแคว” เป็นชื่ออาเภอหนึ่งในจังหวัดใดในปัจจุบัน
ก. ลาปาง
ข. เชียงใหม่
ค. พิษณุโลก
ง. กาแพงเพชร
9. ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกเมืองใด
ก. เมืองชั้นใน
ข. เมืองหน้าด่าน
ค. เมืองชั้นนอก
ง. เมืองประเทศราช
10. กฎหมายสาหรับการปกครองเพื่อความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์คือข้อใด
ก. กฎมณเฑียรบาล
ข. กฎหมายศักดินา
ค. กฎหมายราชสานัก
ง. กฎหมายตราสามดวง
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนนะครับ
8
ข้อ คาตอบ
1. ก
2. ข
3. ก
4. ง
5. ค
6. ง
7. ง
8. ค
9. ข
10. ก
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
9
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชที่ 2 ซึ่งเดิมบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าสามพระยา และพระชนนี ประสูติ เมื่อ
ปี พ.ศ. 1974 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระราเมศวร ต่อมาเมื่อมีพระชนมายุได้ 7
พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถได้โปรดเกล้าฯ ให้ดารงตาแหน่งพระมหา
อุปราช พระองค์ประสูติที่กรุงศรีอยุธยา
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
10
เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุได้15พรรษาพระบรมชนกนาถได้โปรดเกล้าฯ
ให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นไปครองเมืองพิษณุโลก แต่พระองค์ทรง
ครองเมืองพิษณุโลกได้เพียง 2ปีเท่านั้น สมเด็จพระบรมชนกนาถ ก็สิ้นพระชนม์
พระองค์จึงต้องเสด็จกลับกรุงศรีอยุธยา เพื่อขึ้นครองราชย์สมบัติสืบต่อเป็น
พระมหากษัตริย์ลาดับที่ 8 แห่งกรุงศรีอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่อีกพระองค์หนึ่งของ
กรุงศรีอยุธยา อีกทั้งทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงครองราชย์สมบัติยาวนาน
ที่สุดถึง 40 ปี โดยทรงขึ้นครองราชย์สมบัติ เมื่อ ปี พ.ศ.1991- พ.ศ.2031 รวม
เวลา 40 ปี ขณะพระชนมายุได้57 พรรษา จึงทรงสวรรคต เมื่อปี พ.ศ. 2031
11
เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.1991สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้มี การปรับปรุง
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเพื่อให้เกิดความเหมาะสมมากขึ้น ประกอบกับ
อาณาจักรมีขนาดใหญ่ขึ้น โดยการปกครองส่วนกลางแบ่งเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
พระราชกรณียกิจสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การเมืองการปกครอง
12
1. ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาทั่วราชอาณาจักร
เพื่อเตรียมไพร่พล กาลังอาวุธไว้ให้พร้อมเพรียง สามารถสู้รบในยามเกิด
สงครามได้
2. ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาทั่วราชอาณาจักร
และกากับดูแลการทางานของเสนาบดีจตุสดมภ์เดิม ทรงเปลี่ยนชื่อใหม่
และปรับปรุงหน้าที่ใหม่ดังนี้
2.1 กรมเวียง (นครบาล) ดูแลความสงบสุขของราษฎรในเขตราชธานี
2.2 กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) ดูแลราชสานักราชพิธีและพิพากษาคดีของ
ราษฎร
2.3 กรมคลัง (โกษาธิบดี) ดูแลรายรับ – จ่าย เก็บรักษาพระราชทรัพย์
จัดเก็บอากรค่าธรรมเนียมต่างๆ และติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ
2.4 กรมนา (เกษตราธิการ) ดูแลส่งเสริมการทาไร่ ทานาของราษฎร
เก็บข้าวขึ้นฉางหลวง เป็นเสบียงยามศึกสงครามหรือยามข้าวยากหมากแพง
13
สาหรับการปกครองส่วนภูมิภาคนั้น ได้ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมือง
หน้าด่านทั้ง 4 ทิศ โดยแบ่งเขตการปกครองเป็น 3 เขต ดังนี้
1. หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองที่อยู่ใกล้ราชธานี เช่น ราชบุรี เพชรบุรี
ชัยนาท ชลบุรี นครสวรรค์ สุพรรณบุรี เป็นต้น ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง
เรียกว่า “ผู้รั้ง” เป็นเมืองชั้นจัตวา
14
2. หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองที่อยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไป ดังนี้
2.1 เมืองชั้นเอก มีขนาดใหญ่ เช่น พิษณุโลก นครศรีธรรมราช
2.2 เมืองชั้นโท ขนาดรองลงมาเช่นสุโขทัยกาแพงเพชรสวรรคโลก
2.3 เมืองชั้นตรี มีขนาดเล็ก เช่น ไชยา ชุมพร นครสวรรค์
3. หัวเมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา เช่น ปัตตานี
มะละกาเชียงกรานทวายผู้ปกครองต้องส่งเครื่องราชบรรณาการได้แก่ ต้นไม้เงิน
ต้นไม้ทอง มาถวายกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา กาหนด 3 ปี ต่อหนึ่งครั้ง และต้อง
ส่งกองทัพมาช่วยสู้รบกับข้าศึกศัตรูเมื่อเมืองหลวงเกิดมีศึกสงครามขึ้น
15
การปกครองส่วนท้องถิ่น สมเด็จพระบรมไตรนาถทรงแบ่งการปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองดูแลได้ทั่วถึงมากขึ้น
โดยเริ่มจุดจากหมู่บ้านมีผู้ใหญ่บ้านปกครองดูแล ตาบลมีกานันดูแล แขวงมี
หมื่นแขวงดูแล และเมืองมีเจ้าเมืองดูแล การปกครองท้องถิ่นดังกล่าวได้ใช้สืบ
ทอดมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
16
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตั้งกฎมณเฑียรบาลเพื่อความมั่นคงของ
สถาบันกษัตริย์ทรงตั้งขึ้นเป็นกฎหมายสาหรับการปกครองมี 3 แบบแผน คือ
พระตาราว่าด้วยแบบแผนพระราชพิธีต่างๆ พระธรรมนูญว่าด้วย ตาแหน่ง
หน้าที่ราชการต่าง ๆ และพระราชกาหนดเป็นข้อบังคับสาหรับพระราชสานัก
เป็นกฎมณเฑียรบาลที่มีความศักดิ์สิทธิ์อย่างยิ่ง
17
ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ อาณาจักรล้านนาซึ่งมี
พระเจ้าติโลกราชเป็นกษัตริย์ได้ทาสงครามยืดเยื้อกับอยุธยา ทาให้พระองค์ต้อง
ประทับที่เมืองพิษณุโลกนานถึง 25 ปี เพื่อดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและเพื่อเป็น
การป้ องกันการรุกรานจากทางล้านนา ในขณะนั้นแทบจะถือได้ว่าเมือง
พิษณุโลกมีฐานะเป็นราชธานีของอาณาจักรอยุธยา
18
พระราชกรณียกิจด้านสังคม ทรงจัดระเบียบชนชั้นในสังคม มีการแต่งตั้ง
ตาแหน่งข้าราชการให้มีบรรดาศักดิ์ตามลาดับ และการกาหนดศักดินาเพื่อเป็น
เครื่องกาหนดสิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคลตามฐานะที่พึงมีต่อสังคม
อีกทั้งยังใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับไหมหรือลงโทษ กล่าวคือ ผู้ที่กระทาผิดหากมี
ศักดินามากจะถูกลงโทษหนักหากมีศักดินาน้อยจะถูกลงโทษเบาลงโดยมีหลักเกณฑ์
การกาหนดศักดินา ดังนี้
1. พระมหาอุปราช ศักดินา 100,000 ไร่
2. ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ศักดินา 10,000 ไร่
3. ขุนนางชั้นผู้น้อย ศักดินา 50 – 400 ไร่
4. ไพร่ ศักดินา 10 – 25 ไร่
5. ทาส ศักดินา 5 ไร่
19
ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์โปรดให้นักปราชญ์
ร่วมกันแต่งวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา คือ
หนังสือมหาชาติคาหลวง นอกจากนี้ ยังมีวรรณกรรมที่สาคัญ เช่น ลิลิตพระลอ
เป็นต้น
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชา
สามารถทั้งทางด้านรัฐศาสตร์ ยุทธศาสตร์ และนิติศาสตร์
20
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างความกลมเกลียวระหว่างสุโขทัย
กับอยุธยาโดยเสด็จไปประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลก ตั้งแต่ พ.ศ. 2006 ทรงมีศรัทธา
มั่นคงในการทะนุบารุงพระพุทธศาสนา และในปี พ.ศ. 2008 ทรงออกผนวชที่
วัดจุฬามณีที่เมืองพิษณุโลก ทรงให้มีการบูรณะฟื้นฟูวัดต่าง ๆ และเนื่องจาก
พระราชชนนีของพระองค์เป็นเจ้าหญิงแห่งสุโขทัยจึงทาให้พระองค์สามารถรวม
สุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาได้โดยสมบูรณ์
21
ที่ คา อ่านว่า ความหมาย
1. กฎมณเฑียรบาล กด-มน-เทียน-บาน กฎหมายสาหรับการปกครองเพื่อความมั่นคง
ของสถาบันพระมหากษัตริย์มี 3 แบบแผน
คือว่าด้วยแบบแผนพระราชพิธี ตาแหน่ง
หน้าที่ราชการและพระราชกาหนดเป็น
ข้อบังคับสาหรับพระราชสานัก
2. ฉางหลวง ฉาง-หลวง ยุ้งขนาดใหญ่สาหรับเก็บข้าวของหลวง
หรือของรัฐบาล
3. นักปราชญ์ นัก-ปราด ผู้รู้,ผู้มีปัญญา
4. นิติศาสตร์ นิ-ติ-สาด วิชากฎหมาย
5. บรรดาศักดิ์ บัน-ดา-สัก ตาแหน่งขุนนางที่พระราชทานแก่
ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไปมี ขุน หลวง
พระยา พระ เป็นต้น
6. บูรณะ บู-ระ-นะ ซ่อมแซม
7. ประสูติ ประ-สูด การเกิด ใช้กับพระราชา
8. ปรับไหม ปรับ-ไหม ลงโทษให้ชดใช้เป็นเงินเพราะทาผิด
9. ผนวช ผะ-หนวด บวช ใช้กับพระราชา
10. พระชนนี พระ-ชน-นี แม่
11. พระมหาอุปราช พระ-มะ-หา-
อุบ-ปะ-หราด
ตาแหน่งรองจากพระเจ้าแผ่นดิน
คาอธิบายศัพท์
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล
22
ที่ คา อ่านว่า ความหมาย
12. รัฐศาสตร์ รัด-ถะ-สาด วิชาว่าด้วยการเมือง การปกครองประเทศ
และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
13. ราชธานี ราด-ชะ-ทา-นี เมืองหลวง
14. รุกราน รุก-ราน ล่วงล้า, บุกรุกเข้าไป
15. วรรณกรรม วัน-นะ-กา งานหนังสือ
16. ศักดินา สัก-ดิ-นา อานาจปกครองที่นา
17. ศักดิ์สิทธิ์ สัก-สิด ขลัง
18. สวรรคต สะ-หวัน-คด ตาย ใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน
19. สิ้นพระชนม์ สิ้น-พระ-ชน ตาย ใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน
20. เสนาบดี เส-นา-บอ-ดี แม่ทัพ, เจ้ากระทรวง, ข้าราชการชั้น
ผู้ใหญ่
เพื่อน ๆ มาทบทวนคาศัพท์
นะครับ
23
แบบฝึกหัดที่ 1
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
กาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้องและกาเครื่องหมาย 
หน้าข้อความที่เห็นว่าผิด (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอยุธยาได้ทาสงครามกับ
พระเจ้าติโลกราชแห่งอาณาจักรล้านนา
2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทับอยู่ที่เมืองละโว้นานถึง 25 ปี
เพื่อป้องกันการรุกรานของศัตรู
3. พระมหาอุปราช มีศักดินา จานวนหนึ่งแสนไร่
4. ไพร่และทาส เป็นชนชั้นที่ไม่มีศักดินา
5. วรรณกรรมเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยาคือหนังสือจินดามณี
6. ลิลิตพระลอ เป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ
7. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงออกผนวชที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก
8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการศาสนา
9. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชที่ 2(เจ้าสามพระยา)และพระราชชนนี ซึ่งเป็น
เจ้าหญิงแห่งกรุงสุโขทัย
10. เครื่องราชบรรณาการที่หัวเมืองประเทศราชต้องส่งต่อกรุงศรีอยุธยา
ได้แก่ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง 3 ปีต่อหนึ่งครั้ง
คาชี้แจง
24
เฉลย แบบฝึกหัดที่ 1
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
กาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้องและกาเครื่องหมาย 
หน้าข้อความที่เห็นว่าผิด (ข้อละ 1 คะแนน)
 1. ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอยุธยาได้ทาสงครามกับ
พระเจ้าติโลกราชแห่งอาณาจักรล้านนา
 2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทับอยู่ที่เมืองละโว้นานถึง 25 ปี
เพื่อป้องกันการรุกรานของศัตรู (เมืองพิษณุโลก)
 3. พระมหาอุปราช มีศักดินา จานวนหนึ่งแสนไร่
 4. ไพร่และทาส เป็นชนชั้นที่ไม่มีศักดินา (ไพร่มีศักดินา 10 – 25 ไร่,
ทาสมีศักดินา 5 ไร่)
 5. วรรณกรรมเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยาคือหนังสือจินดามณี
(หนังสือมหาชาติคาหลวง)
 6. ลิลิตพระลอ เป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ
 7. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงออกผนวชที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก
 8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการศาสนา
(ด้านรัฐศาสตร์ ยุทธศาสตร์ นิติศาสตร์)
 9. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชที่ 2(เจ้าสามพระยา)และพระราชชนนี ซึ่งเป็น
เจ้าหญิงแห่งกรุงสุโขทัย
 10. เครื่องราชบรรณาการที่หัวเมืองประเทศราชต้องส่งต่อกรุงศรีอยุธยา
ได้แก่ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง 3 ปีต่อหนึ่งครั้ง
คาชี้แจง
25
แบบฝึกหัดที่ 2
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เติมแผนผังความคิด เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองของ
อาณาจักรอยุธยา (10 คะแนน)
ปัจจัยที่ส่งเสริม
ความเจริญรุ่งเรือง
ของอาณาจักรอยุธยา
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
..........................................
ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...........................................................................
...................................................................................................................................................................................
........................................................................
ด้านศาสนา
(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
คาชี้แจง
26
แนวการตอบ แบบฝึกหัดที่ 2
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เติมแผนผังความคิด เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองของ
อาณาจักรอยุธยา (10 คะแนน)
ปัจจัยที่ส่งเสริม
ความเจริญรุ่งเรือง
ของอาณาจักรอยุธยา
1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของอยุธยามีลักษณะเป็น
เกาะมีแม่น้าล้อมรอบ ทาให้ป้ องกันข้าศึกศัตรูที่มา
รุกรานได้ทาให้อยุธยาสร้างความมั่นคงและ
ความเจริญรุ่งเรือง
2. พระมหากษัตริย์เป็นธรรมราชาหรือเทวราช
ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้เป็นหลักการ
ปกครองบ้านเมืองส่งผลให้เกิดความสงบสุข
3. พระมหากษัตริย์ทรงมีพระปรีชาสามารถในด้าน
รัฐศาสตร์ ยุทธศาสตร์และด้านนิติศาสตร์
1. ทาเลที่ตั้งของอยุธยา ส่งผลให้เป็นศูนย์กลาง
การค้าขายในภูมิภาค การค้าขายติดต่อกับ
อาณาจักรใกล้เคียงและต่างประเทศทาให้อยุธยามี
ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
2. ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ เช่น
ป่าไม้แร่ธาตุ สัตว์ป่า เครื่องเทศ เป็นต้น ทรัพยากร
เหล่านี้ต่างชาติต้องการทาให้มีการติดต่อค้าขายกัน
ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ
1. มีนักปราชญ์ร่วมกันแต่งวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา คือ หนังสือมหาชาติ
คาหลวง และมีวรรณกรรมที่สาคัญในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คือ ลิลิตพระลอ เป็นต้น
2. พระมหากษัตริย์ทรงมีศรัทธาในการทะนุบารุงศาสนาพุทธ มีการบูรณะฟื้นฟู วัด ต่าง ๆ รวมถึงการออกผนวช
ของพระมหากษัตริย์ทาให้เกิดความรุ่งเรือง ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และการศาสนา
ด้านศาสนา
(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
คาชี้แจง
27
นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุงสิ่งใดในรัชสมัยของพระองค์
ก. ด้านศาสนา
ข. ด้านการค้าขาย
ค. ด้านการศึกษา
ง. ด้านการปกครอง
2. ในการปกครองแบบจตุสดมภ์หน่วยงานใดมีหน้าที่ดูแลราษฎรให้ทา
การเกษตรให้ได้ผล
ก. กรมเวียง
ข. กรมวัง
ค. กรมคลัง
ง. กรมนา
3. “สองแคว” เป็นชื่ออาเภอหนึ่งในจังหวัดใดในปัจจุบัน
ก. ลาปาง
ข. เชียงใหม่
ค. พิษณุโลก
ง. กาแพงเพชร
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
คาชี้แจง
28
4. ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกเมืองใด
ก. เมืองชั้นใน
ข. เมืองหน้าด่าน
ค. เมืองชั้นนอก
ง. เมืองประเทศราช
5. กฎหมายสาหรับการปกครองเพื่อความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์คือข้อใด
ก. กฎมณเฑียรบาล
ข. กฎหมายศักดินา
ค. กฎหมายราชสานัก
ง. กฎหมายตราสามดวง
6. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเมื่อทรงมีพระชนมายุ 7 พรรษา ทรงดารง
ตาแหน่งในข้อใด
ก. พระมหาอุปราช
ข. เจ้าพระยามหานคร
ค. เจ้าสามพระยา
ง. เจ้าเมืองลูกหลวง
7. กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาพระองค์ใดครองราชย์ยาวนานที่สุดถึง 40 ปี
ก. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ง. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
29
8. ผู้ปกครองหัวเมืองชั้นในของการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ เรียกว่าอะไร
ก. ผู้รั้ง
ข. นายอาเภอ
ค. เจ้าเมือง
ง. ขุนนาง
9. กรมเวียง กรมวัง กรมคลังและกรมนา เป็นการปกครองแบบใด
ก. ประเทศราช
ข. สมุหกลาโหม
ค. สมุหนายก
ง. จตุสดมภ์
10. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ใด
ก. สุโขทัย
ข. ปราสาททอง
ค. สุพรรณภูมิ
ง. บ้านพลูหลวง
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนนะครับ
30
ข้อ คาตอบ
1. ง
2. ง
3. ค
4. ข
5. ก
6. ก
7. ข
8. ก
9. ง
10. ค
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
31
ดนัย ไชยโยธา. ประวัติศาสตร์ไทย :ยุคอาณาจักรอยุธยา.กรุงเทพมหานคร :
โอเดียนสโตร์,2547.
นวลจันทร์ ตุลารักษ์. ประวัติศาสตร์ :การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาชาติไทย.
กรุงเทพมหานคร :โอเดียนสโตร์,2547.
พัชร มาศมุสิก. คู่มือสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมป.5กรุงเทพมหานคร :
เดอะบุคส์,2551.
ยุทธพงษ์ วงศ์เมืองสรรค์. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
กรุงเทพมหานคร :ประพันธ์สาสน์,2547.
วุฒิชัย มูลศิลป์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ป.5.
กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2549.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547.
เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. สื่อการเรียนรู้ สาระพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแม่บทมาตรฐานประวัติศาสตร์ ป.5.
กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2555.
ระบบออนไลน์
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ. (ออนไลน์).แหล่งที่มา:
http://siamsubject.blogspot.com/2012/08/blog-post.html,2556.
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
Sompop Petkleang
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
nongnoch
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
โรงเรียนอนุบาลระนอง
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
supattrapachanawan
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 

Similar to เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
ปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
Choengchai Rattanachai
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพการสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพPonrawat Jangdee
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา

Similar to เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (20)

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพการสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพ
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

  • 1. 1 คาชี้แจง เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้ เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง) เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
  • 2. 2 คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน 1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นเอกสารประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึง ความสาคัญของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี ของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข 2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้ 2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด 2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด 2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
  • 3. 3 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.3 : เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย ตัวชี้วัด ส 4.3 ป. 5/2 อธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา ส 4.3 ป. 5/3 บอกประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญสมัยอยุธยาและ ธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ
  • 4. 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย 1.บอกพระราชประวัติของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ 2. อธิบายพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ 3. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา 4. ปฏิบัติตนตามคุณลักษณะด้าน ความใฝ่เรียนรู้และรักความเป็นไทย
  • 5. 5 นักเรียนกาเครื่องหมายทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเมื่อทรงมีพระชนมายุ 7 พรรษา ทรงดารง ตาแหน่งในข้อใด ก. พระมหาอุปราช ข. เจ้าพระยามหานคร ค. เจ้าสามพระยา ง. เจ้าเมืองลูกหลวง 2. กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาพระองค์ใดครองราชย์ยาวนานที่สุดถึง 40 ปี ก. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ง. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช 3. ผู้ปกครองหัวเมืองชั้นในของการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ เรียกว่าอะไร ก. ผู้รั้ง ข. นายอาเภอ ค. เจ้าเมือง ง. ขุนนาง แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คาชี้แจง
  • 6. 6 4. กรมเวียง กรมวัง กรมคลังและกรมนา เป็นการปกครองแบบใด ก. ประเทศราช ข. สมุหกลาโหม ค. สมุหนายก ง. จตุสดมภ์ 5. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ใด ก. สุโขทัย ข. ปราสาททอง ค. สุพรรณภูมิ ง. บ้านพลูหลวง 6. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุงสิ่งใดในรัชสมัยของพระองค์ ก. ด้านศาสนา ข. ด้านการค้าขาย ค. ด้านการศึกษา ง. ด้านการปกครอง 7. ในการปกครองแบบจตุสดมภ์หน่วยงานใดมีหน้าที่ดูแลราษฎรให้ทา การเกษตรให้ได้ผล ก. กรมเวียง ข. กรมวัง ค. กรมคลัง ง. กรมนา
  • 7. 7 8. “สองแคว” เป็นชื่ออาเภอหนึ่งในจังหวัดใดในปัจจุบัน ก. ลาปาง ข. เชียงใหม่ ค. พิษณุโลก ง. กาแพงเพชร 9. ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกเมืองใด ก. เมืองชั้นใน ข. เมืองหน้าด่าน ค. เมืองชั้นนอก ง. เมืองประเทศราช 10. กฎหมายสาหรับการปกครองเพื่อความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์คือข้อใด ก. กฎมณเฑียรบาล ข. กฎหมายศักดินา ค. กฎหมายราชสานัก ง. กฎหมายตราสามดวง เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะครับ
  • 8. 8 ข้อ คาตอบ 1. ก 2. ข 3. ก 4. ง 5. ค 6. ง 7. ง 8. ค 9. ข 10. ก เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
  • 9. 9 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 2 ซึ่งเดิมบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าสามพระยา และพระชนนี ประสูติ เมื่อ ปี พ.ศ. 1974 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระราเมศวร ต่อมาเมื่อมีพระชนมายุได้ 7 พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถได้โปรดเกล้าฯ ให้ดารงตาแหน่งพระมหา อุปราช พระองค์ประสูติที่กรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
  • 10. 10 เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุได้15พรรษาพระบรมชนกนาถได้โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นไปครองเมืองพิษณุโลก แต่พระองค์ทรง ครองเมืองพิษณุโลกได้เพียง 2ปีเท่านั้น สมเด็จพระบรมชนกนาถ ก็สิ้นพระชนม์ พระองค์จึงต้องเสด็จกลับกรุงศรีอยุธยา เพื่อขึ้นครองราชย์สมบัติสืบต่อเป็น พระมหากษัตริย์ลาดับที่ 8 แห่งกรุงศรีอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่อีกพระองค์หนึ่งของ กรุงศรีอยุธยา อีกทั้งทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงครองราชย์สมบัติยาวนาน ที่สุดถึง 40 ปี โดยทรงขึ้นครองราชย์สมบัติ เมื่อ ปี พ.ศ.1991- พ.ศ.2031 รวม เวลา 40 ปี ขณะพระชนมายุได้57 พรรษา จึงทรงสวรรคต เมื่อปี พ.ศ. 2031
  • 11. 11 เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.1991สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้มี การปรับปรุง ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเพื่อให้เกิดความเหมาะสมมากขึ้น ประกอบกับ อาณาจักรมีขนาดใหญ่ขึ้น โดยการปกครองส่วนกลางแบ่งเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้ พระราชกรณียกิจสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ การเมืองการปกครอง
  • 12. 12 1. ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาทั่วราชอาณาจักร เพื่อเตรียมไพร่พล กาลังอาวุธไว้ให้พร้อมเพรียง สามารถสู้รบในยามเกิด สงครามได้ 2. ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาทั่วราชอาณาจักร และกากับดูแลการทางานของเสนาบดีจตุสดมภ์เดิม ทรงเปลี่ยนชื่อใหม่ และปรับปรุงหน้าที่ใหม่ดังนี้ 2.1 กรมเวียง (นครบาล) ดูแลความสงบสุขของราษฎรในเขตราชธานี 2.2 กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) ดูแลราชสานักราชพิธีและพิพากษาคดีของ ราษฎร 2.3 กรมคลัง (โกษาธิบดี) ดูแลรายรับ – จ่าย เก็บรักษาพระราชทรัพย์ จัดเก็บอากรค่าธรรมเนียมต่างๆ และติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ 2.4 กรมนา (เกษตราธิการ) ดูแลส่งเสริมการทาไร่ ทานาของราษฎร เก็บข้าวขึ้นฉางหลวง เป็นเสบียงยามศึกสงครามหรือยามข้าวยากหมากแพง
  • 13. 13 สาหรับการปกครองส่วนภูมิภาคนั้น ได้ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมือง หน้าด่านทั้ง 4 ทิศ โดยแบ่งเขตการปกครองเป็น 3 เขต ดังนี้ 1. หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองที่อยู่ใกล้ราชธานี เช่น ราชบุรี เพชรบุรี ชัยนาท ชลบุรี นครสวรรค์ สุพรรณบุรี เป็นต้น ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง เรียกว่า “ผู้รั้ง” เป็นเมืองชั้นจัตวา
  • 14. 14 2. หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองที่อยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไป ดังนี้ 2.1 เมืองชั้นเอก มีขนาดใหญ่ เช่น พิษณุโลก นครศรีธรรมราช 2.2 เมืองชั้นโท ขนาดรองลงมาเช่นสุโขทัยกาแพงเพชรสวรรคโลก 2.3 เมืองชั้นตรี มีขนาดเล็ก เช่น ไชยา ชุมพร นครสวรรค์ 3. หัวเมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา เช่น ปัตตานี มะละกาเชียงกรานทวายผู้ปกครองต้องส่งเครื่องราชบรรณาการได้แก่ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง มาถวายกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา กาหนด 3 ปี ต่อหนึ่งครั้ง และต้อง ส่งกองทัพมาช่วยสู้รบกับข้าศึกศัตรูเมื่อเมืองหลวงเกิดมีศึกสงครามขึ้น
  • 15. 15 การปกครองส่วนท้องถิ่น สมเด็จพระบรมไตรนาถทรงแบ่งการปกครอง ส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองดูแลได้ทั่วถึงมากขึ้น โดยเริ่มจุดจากหมู่บ้านมีผู้ใหญ่บ้านปกครองดูแล ตาบลมีกานันดูแล แขวงมี หมื่นแขวงดูแล และเมืองมีเจ้าเมืองดูแล การปกครองท้องถิ่นดังกล่าวได้ใช้สืบ ทอดมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
  • 16. 16 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตั้งกฎมณเฑียรบาลเพื่อความมั่นคงของ สถาบันกษัตริย์ทรงตั้งขึ้นเป็นกฎหมายสาหรับการปกครองมี 3 แบบแผน คือ พระตาราว่าด้วยแบบแผนพระราชพิธีต่างๆ พระธรรมนูญว่าด้วย ตาแหน่ง หน้าที่ราชการต่าง ๆ และพระราชกาหนดเป็นข้อบังคับสาหรับพระราชสานัก เป็นกฎมณเฑียรบาลที่มีความศักดิ์สิทธิ์อย่างยิ่ง
  • 17. 17 ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ อาณาจักรล้านนาซึ่งมี พระเจ้าติโลกราชเป็นกษัตริย์ได้ทาสงครามยืดเยื้อกับอยุธยา ทาให้พระองค์ต้อง ประทับที่เมืองพิษณุโลกนานถึง 25 ปี เพื่อดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและเพื่อเป็น การป้ องกันการรุกรานจากทางล้านนา ในขณะนั้นแทบจะถือได้ว่าเมือง พิษณุโลกมีฐานะเป็นราชธานีของอาณาจักรอยุธยา
  • 18. 18 พระราชกรณียกิจด้านสังคม ทรงจัดระเบียบชนชั้นในสังคม มีการแต่งตั้ง ตาแหน่งข้าราชการให้มีบรรดาศักดิ์ตามลาดับ และการกาหนดศักดินาเพื่อเป็น เครื่องกาหนดสิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคลตามฐานะที่พึงมีต่อสังคม อีกทั้งยังใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับไหมหรือลงโทษ กล่าวคือ ผู้ที่กระทาผิดหากมี ศักดินามากจะถูกลงโทษหนักหากมีศักดินาน้อยจะถูกลงโทษเบาลงโดยมีหลักเกณฑ์ การกาหนดศักดินา ดังนี้ 1. พระมหาอุปราช ศักดินา 100,000 ไร่ 2. ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ศักดินา 10,000 ไร่ 3. ขุนนางชั้นผู้น้อย ศักดินา 50 – 400 ไร่ 4. ไพร่ ศักดินา 10 – 25 ไร่ 5. ทาส ศักดินา 5 ไร่
  • 19. 19 ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์โปรดให้นักปราชญ์ ร่วมกันแต่งวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา คือ หนังสือมหาชาติคาหลวง นอกจากนี้ ยังมีวรรณกรรมที่สาคัญ เช่น ลิลิตพระลอ เป็นต้น สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชา สามารถทั้งทางด้านรัฐศาสตร์ ยุทธศาสตร์ และนิติศาสตร์
  • 20. 20 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างความกลมเกลียวระหว่างสุโขทัย กับอยุธยาโดยเสด็จไปประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลก ตั้งแต่ พ.ศ. 2006 ทรงมีศรัทธา มั่นคงในการทะนุบารุงพระพุทธศาสนา และในปี พ.ศ. 2008 ทรงออกผนวชที่ วัดจุฬามณีที่เมืองพิษณุโลก ทรงให้มีการบูรณะฟื้นฟูวัดต่าง ๆ และเนื่องจาก พระราชชนนีของพระองค์เป็นเจ้าหญิงแห่งสุโขทัยจึงทาให้พระองค์สามารถรวม สุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาได้โดยสมบูรณ์
  • 21. 21 ที่ คา อ่านว่า ความหมาย 1. กฎมณเฑียรบาล กด-มน-เทียน-บาน กฎหมายสาหรับการปกครองเพื่อความมั่นคง ของสถาบันพระมหากษัตริย์มี 3 แบบแผน คือว่าด้วยแบบแผนพระราชพิธี ตาแหน่ง หน้าที่ราชการและพระราชกาหนดเป็น ข้อบังคับสาหรับพระราชสานัก 2. ฉางหลวง ฉาง-หลวง ยุ้งขนาดใหญ่สาหรับเก็บข้าวของหลวง หรือของรัฐบาล 3. นักปราชญ์ นัก-ปราด ผู้รู้,ผู้มีปัญญา 4. นิติศาสตร์ นิ-ติ-สาด วิชากฎหมาย 5. บรรดาศักดิ์ บัน-ดา-สัก ตาแหน่งขุนนางที่พระราชทานแก่ ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไปมี ขุน หลวง พระยา พระ เป็นต้น 6. บูรณะ บู-ระ-นะ ซ่อมแซม 7. ประสูติ ประ-สูด การเกิด ใช้กับพระราชา 8. ปรับไหม ปรับ-ไหม ลงโทษให้ชดใช้เป็นเงินเพราะทาผิด 9. ผนวช ผะ-หนวด บวช ใช้กับพระราชา 10. พระชนนี พระ-ชน-นี แม่ 11. พระมหาอุปราช พระ-มะ-หา- อุบ-ปะ-หราด ตาแหน่งรองจากพระเจ้าแผ่นดิน คาอธิบายศัพท์ เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เล
  • 22. 22 ที่ คา อ่านว่า ความหมาย 12. รัฐศาสตร์ รัด-ถะ-สาด วิชาว่าด้วยการเมือง การปกครองประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 13. ราชธานี ราด-ชะ-ทา-นี เมืองหลวง 14. รุกราน รุก-ราน ล่วงล้า, บุกรุกเข้าไป 15. วรรณกรรม วัน-นะ-กา งานหนังสือ 16. ศักดินา สัก-ดิ-นา อานาจปกครองที่นา 17. ศักดิ์สิทธิ์ สัก-สิด ขลัง 18. สวรรคต สะ-หวัน-คด ตาย ใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน 19. สิ้นพระชนม์ สิ้น-พระ-ชน ตาย ใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน 20. เสนาบดี เส-นา-บอ-ดี แม่ทัพ, เจ้ากระทรวง, ข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ เพื่อน ๆ มาทบทวนคาศัพท์ นะครับ
  • 23. 23 แบบฝึกหัดที่ 1 เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้องและกาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่เห็นว่าผิด (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอยุธยาได้ทาสงครามกับ พระเจ้าติโลกราชแห่งอาณาจักรล้านนา 2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทับอยู่ที่เมืองละโว้นานถึง 25 ปี เพื่อป้องกันการรุกรานของศัตรู 3. พระมหาอุปราช มีศักดินา จานวนหนึ่งแสนไร่ 4. ไพร่และทาส เป็นชนชั้นที่ไม่มีศักดินา 5. วรรณกรรมเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยาคือหนังสือจินดามณี 6. ลิลิตพระลอ เป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ 7. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงออกผนวชที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก 8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการศาสนา 9. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 2(เจ้าสามพระยา)และพระราชชนนี ซึ่งเป็น เจ้าหญิงแห่งกรุงสุโขทัย 10. เครื่องราชบรรณาการที่หัวเมืองประเทศราชต้องส่งต่อกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง 3 ปีต่อหนึ่งครั้ง คาชี้แจง
  • 24. 24 เฉลย แบบฝึกหัดที่ 1 เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้องและกาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่เห็นว่าผิด (ข้อละ 1 คะแนน)  1. ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอยุธยาได้ทาสงครามกับ พระเจ้าติโลกราชแห่งอาณาจักรล้านนา  2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทับอยู่ที่เมืองละโว้นานถึง 25 ปี เพื่อป้องกันการรุกรานของศัตรู (เมืองพิษณุโลก)  3. พระมหาอุปราช มีศักดินา จานวนหนึ่งแสนไร่  4. ไพร่และทาส เป็นชนชั้นที่ไม่มีศักดินา (ไพร่มีศักดินา 10 – 25 ไร่, ทาสมีศักดินา 5 ไร่)  5. วรรณกรรมเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยาคือหนังสือจินดามณี (หนังสือมหาชาติคาหลวง)  6. ลิลิตพระลอ เป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ  7. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงออกผนวชที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก  8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการศาสนา (ด้านรัฐศาสตร์ ยุทธศาสตร์ นิติศาสตร์)  9. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 2(เจ้าสามพระยา)และพระราชชนนี ซึ่งเป็น เจ้าหญิงแห่งกรุงสุโขทัย  10. เครื่องราชบรรณาการที่หัวเมืองประเทศราชต้องส่งต่อกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง 3 ปีต่อหนึ่งครั้ง คาชี้แจง
  • 25. 25 แบบฝึกหัดที่ 2 เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เติมแผนผังความคิด เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองของ อาณาจักรอยุธยา (10 คะแนน) ปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... .................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ .......................................... ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ........................................................................... ................................................................................................................................................................................... ........................................................................ ด้านศาสนา (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) คาชี้แจง
  • 26. 26 แนวการตอบ แบบฝึกหัดที่ 2 เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เติมแผนผังความคิด เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองของ อาณาจักรอยุธยา (10 คะแนน) ปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของอยุธยามีลักษณะเป็น เกาะมีแม่น้าล้อมรอบ ทาให้ป้ องกันข้าศึกศัตรูที่มา รุกรานได้ทาให้อยุธยาสร้างความมั่นคงและ ความเจริญรุ่งเรือง 2. พระมหากษัตริย์เป็นธรรมราชาหรือเทวราช ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้เป็นหลักการ ปกครองบ้านเมืองส่งผลให้เกิดความสงบสุข 3. พระมหากษัตริย์ทรงมีพระปรีชาสามารถในด้าน รัฐศาสตร์ ยุทธศาสตร์และด้านนิติศาสตร์ 1. ทาเลที่ตั้งของอยุธยา ส่งผลให้เป็นศูนย์กลาง การค้าขายในภูมิภาค การค้าขายติดต่อกับ อาณาจักรใกล้เคียงและต่างประเทศทาให้อยุธยามี ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ 2. ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้แร่ธาตุ สัตว์ป่า เครื่องเทศ เป็นต้น ทรัพยากร เหล่านี้ต่างชาติต้องการทาให้มีการติดต่อค้าขายกัน ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ 1. มีนักปราชญ์ร่วมกันแต่งวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา คือ หนังสือมหาชาติ คาหลวง และมีวรรณกรรมที่สาคัญในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คือ ลิลิตพระลอ เป็นต้น 2. พระมหากษัตริย์ทรงมีศรัทธาในการทะนุบารุงศาสนาพุทธ มีการบูรณะฟื้นฟู วัด ต่าง ๆ รวมถึงการออกผนวช ของพระมหากษัตริย์ทาให้เกิดความรุ่งเรือง ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และการศาสนา ด้านศาสนา (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) คาชี้แจง
  • 27. 27 นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุงสิ่งใดในรัชสมัยของพระองค์ ก. ด้านศาสนา ข. ด้านการค้าขาย ค. ด้านการศึกษา ง. ด้านการปกครอง 2. ในการปกครองแบบจตุสดมภ์หน่วยงานใดมีหน้าที่ดูแลราษฎรให้ทา การเกษตรให้ได้ผล ก. กรมเวียง ข. กรมวัง ค. กรมคลัง ง. กรมนา 3. “สองแคว” เป็นชื่ออาเภอหนึ่งในจังหวัดใดในปัจจุบัน ก. ลาปาง ข. เชียงใหม่ ค. พิษณุโลก ง. กาแพงเพชร แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คาชี้แจง
  • 28. 28 4. ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกเมืองใด ก. เมืองชั้นใน ข. เมืองหน้าด่าน ค. เมืองชั้นนอก ง. เมืองประเทศราช 5. กฎหมายสาหรับการปกครองเพื่อความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์คือข้อใด ก. กฎมณเฑียรบาล ข. กฎหมายศักดินา ค. กฎหมายราชสานัก ง. กฎหมายตราสามดวง 6. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเมื่อทรงมีพระชนมายุ 7 พรรษา ทรงดารง ตาแหน่งในข้อใด ก. พระมหาอุปราช ข. เจ้าพระยามหานคร ค. เจ้าสามพระยา ง. เจ้าเมืองลูกหลวง 7. กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาพระองค์ใดครองราชย์ยาวนานที่สุดถึง 40 ปี ก. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ง. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
  • 29. 29 8. ผู้ปกครองหัวเมืองชั้นในของการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ เรียกว่าอะไร ก. ผู้รั้ง ข. นายอาเภอ ค. เจ้าเมือง ง. ขุนนาง 9. กรมเวียง กรมวัง กรมคลังและกรมนา เป็นการปกครองแบบใด ก. ประเทศราช ข. สมุหกลาโหม ค. สมุหนายก ง. จตุสดมภ์ 10. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ใด ก. สุโขทัย ข. ปราสาททอง ค. สุพรรณภูมิ ง. บ้านพลูหลวง เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะครับ
  • 30. 30 ข้อ คาตอบ 1. ง 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก 6. ก 7. ข 8. ก 9. ง 10. ค เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
  • 31. 31 ดนัย ไชยโยธา. ประวัติศาสตร์ไทย :ยุคอาณาจักรอยุธยา.กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,2547. นวลจันทร์ ตุลารักษ์. ประวัติศาสตร์ :การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาชาติไทย. กรุงเทพมหานคร :โอเดียนสโตร์,2547. พัชร มาศมุสิก. คู่มือสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมป.5กรุงเทพมหานคร : เดอะบุคส์,2551. ยุทธพงษ์ วงศ์เมืองสรรค์. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพมหานคร :ประพันธ์สาสน์,2547. วุฒิชัย มูลศิลป์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ป.5. กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2549. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547. เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. สื่อการเรียนรู้ สาระพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแม่บทมาตรฐานประวัติศาสตร์ ป.5. กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2555. ระบบออนไลน์ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ. (ออนไลน์).แหล่งที่มา: http://siamsubject.blogspot.com/2012/08/blog-post.html,2556. บรรณานุกรม บรรณานุกรม