SlideShare a Scribd company logo
การเมืองการปกครองในสมัย
 สุโขทัย อยุธยา และ ธนบุรี
จัดทาโดย

นางสาวณัฐนรี       แก้วศิริ    เลขที่ 8
นางวสาวศศิธร       ศิรเิ ทพ    เลขที่ 13
นางสาวณัฐชนก       ชืนใจ
                     ่         เลขที่ 17
นางสาวรัตนาภรณ์ สุปนต๋า  ั     เลขที่ 21
      ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
        ้
             เสนอ
     ครูสายพิณ วงษารัตน์
สมัยสุโขทัย
ลักษณะการปกครองในสมัยสุโขทัย
มีลกษณะสาคัญ 4 ประการคือ
    ั
1. รูปแบบราชาธิปไตย หมายถึง ผู้เป็นพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครองสูงสุด
2. รูปแบบบิดาปกครองบุตร หมายถึง พระมหากษัตริย์ทรงมีความใกล้ชิดกับประชาชนมาก
จึงเปรียบเสมือนหัวหน้าครอบครัว หรือ พ่อ จึงมักมีคานาหน้าว่า “พ่อขุน”
3.ลักษณะลดหลันกันลงมาเป็นขันๆ เริมจากหลายครอบครัวรวมกันเป็นบ้าน มีพ่อบ้านเป็น
                 ่           ้     ่
ผู้ปกครอง หลายบ้านรวมกันเป็นเมือง มีพ่อเมืองเป็นผู้ปกครอง หลายเมืองรวมกันเป็นประเทศ
มีพ่อขุนเป็นผู้ปกครอง
4. การยึดหลักธรรมในพระพุทธศาสนาในการบริหารบ้านเมือง คือ “ทศพิธราชธรรม”
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ. 1792 - 1841)
    ในช่วงต้นของการสถาปนากรุงสุโขทัยเริมจาก สมัยพ่อขุนศรีอนทราทิตย์จนสิน
                                         ่                ิ              ้
สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก
    การปกครองแบบพ่อปกครองลูกนี้ประชาชนทุกคนเสมือนหนึ่งเป็นคนในครอบครัวเดียว
กัน โดยมีกษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครัว มีอานาจสูงสุดในการปกครอง แต่ก็มิได้ทรงใช้อานาจ
สิทธิ์ขาดในการปกครองแต่เพียงพระองค์เดียว ทรงยินยอมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการ
ปกครองด้วย ประชาชนจึงเรียกกษัตริยว่า “พ่อขุน” เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุน
                                     ์
รามคาแหง เป็นต้น การปกครองลักษณะนี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริยกบ   ์ ั
ประชาชนว่า “มีความใกล้ชดกันมาก”
                           ิ
กษัตริย์นอกจากจะเป็นผู้ปกครองและเป็นเสมือนพ่อแล้วยังทรงเป็นตุลาการที่เที่ยงธรรมอีก
ด้วย
จากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวไว้ว่า ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงพระองค์ทรงให้สร้างกระดิ่งแขวนไว้ที่
หน้าประตู พระราชวัง เมื่อพ่อขุนทรงทราบเรื่องก็จะออกมาไต่สวนคดีความด้วยพระองค์เอง
นอกจากนั้น ในยามเกิดศึกสงครามพ่อขุนจะทรงเป็นจอมทัพของกองทัพหลวง เมืองขึ้นต่างๆ
จะต้องเกณฑ์ทัพมาร่วมกันต่อสู้ป้องกันราชอาณาจักรและเมื่อยามบ้านเมืองสงบพ่อขุนจะทรงออก
ว่าราชการและดูแลทุกข์สุขของราษฎร เช่น ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์จะทรง
ออกว่าราชการที่ปาตาล โดยประทับบนพระแท่นมนังศิลาบาตรเป็นประจาทุกวัน ยกเว้นในวัน
พระและวันโกน โดยในวันดังกล่าวนี้จะทรงนิมนต์พระเถระให้มาเทศนาสั่งสอนประชาชนเป็นประจา
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841 - 1981)
หลังจากสิ้นสมัยของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช แล้ว กษัตริย์องค์ต่อมา คือ
พญาเลอไทย และ พญางั่วนาถม ในช่วงนี้อาณาจักรสุโขทัยเริ่มระส่าระสวยเมืองต่าง ๆ
พากันแยกตัวอิสระไม่ขึ้นต่อกรุงสุโขทัย ภายในบ้านเมืองเกิดความไม่สงบเรียบร้อย มีการแย่งชิง
ราชสมบัติกันอยู่เนื่อง ๆ ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ลักษณะการปกครองแบบพ่อปกครองลูกเริมเสือมลง
                                                                               ่ ่
เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ทรงขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 1890 พระองค์ทรงตระหนักถึง
ความไม่สงบเรียบร้อยดังกล่าว และทรงเห็นว่าการแก้ปัญหาการเมืองด้วยการใช้อานาจทาง
ทหารเพียงอย่างเดียวคง ทาได้ยาก เพราะกาลังทหารของกรุงสุโขทัยในขณะนั้นไม่เข้มแข็ง
พอ พระองค์จงทรงดาเนินนโยบายใหม่ด้วยการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้เป็น หลัก
             ึ
ในการปกครองอาณาจักร พร้อมกับได้ขยายอานาจทางการเมืองออกไป การปกครองที่ใช้
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักนี้ เรียกว่า
การปกครองแบบธรรมราชา กษัตริยผ้ปกครองอยูในฐานะธรรมราชาหรือพระราชาผู้ทรง
                                   ์ ู        ่
ธรรม ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยหลักทศพิธราชธรรม
การจัดระเบียบการปกครองสมัยสุโขทัย
1. เมืองหลวง คือ สุโขทัยเป็นศูนย์กลางการปกครอง
2. เมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน ตั้งอยู่รอบ ๆ เมืองหลวง มี 4 ทิศ โดยมี
เชื้อพระวงศ์เป็นผู้ปกครอง มีหน้าที่ สะสมเสบียงอาหาร และป้องกันข้าศึกศัตรู
เมืองหน้าด่านทัง 4 ได้แก่
                ้
 - ทิศเหนือ คือ ศรีสชนาลัย
                     ั
 - ทิศใต้ คือ สระหลวง (พิจตร)
                            ิ
 - ทิศตะวันออก คือ สองแคว (พิษณุโลก)
- ทิศตะวันตก คือ ชากังราว (กาแพงเพชร)
3. เมืองพระยามหานคร หรือเมืองชันนอก เป็นหัวเมืองชั้นนอก มีเจ้าเมือง หรือ ขุนนาง
                                  ้
ชั้นผู้ใหญ่ปกครอง
4. เมืองประเทศราช เมืองที่อยู่นอกราชอาณาจักรโดยยอมสวามิภักดิ์ต่อสุโขทัย
โดยการส่งเครื่องราชบรรณาการให้ และ มีเจ้าเมืองเดิมปกครอง
ผังเมืองของอาณาจักรสุโขทัย
สมัยอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา
ลักษณะการปกครอง แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. แบบธรรมราชา กษัตริย์ปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา
2. แบบเทวราชา กษัตริย์เป็นสมมติเทพ รับอิทธิพลมาจากขอม
การจัดระเบียบการปกครองสมัยอยุธยา
สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ได้นารูปแบบการปกครองของสุโขทัยและเขมรมาปรับใช้
 โดยแบ่งเป็น
- ราชธานี
- หัวเมืองชันใน
            ้
- เมืองลูกหลวง
- หัวเมืองชันนอก
              ้
- เมืองประเทศราช
ต่อมาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุงการปกครองเพื่อเพิ่มอานาจให้กับ
ราชธานี
จึงจัดระเบียบการปกครองใหม่เพื่อรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยแบ่งเป็น
- ราชธานี
- หัวเมืองชันใน ผู้ปกครองเรียกว่า "ผู้รง"
             ้                         ั้
- หัวเมืองชันนอก แบ่งเป็นเอก โท ตรี โดยแบ่งภายในเมืองเป็นการปกครองท้องถิน ได้แก่ เมือง
               ้                                                        ่
(จังหวัด) , แขวง(อาเภอ) , ตาบล , บ้าน
การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น(พ.ศ.1893-1991)
1. การปกครองส่วนกลาง
พระมหากษัตริย์ ปกครองแบบรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือ จตุสดมภ์
แบ่งเป็น เวียง วัง คลัง นา
กรมเวียง ขุนเวียง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่ รักษาความสงบสุขของราษฎร
กรมวัง ขุนวัง เป็นผู้ดูแล เป็นหัวหน้าฝาย ราชสานักการพิจารณาพิพากษาคดี
กรมคลัง ขุนคลัง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดินที่ได้จากการเก็บส่วยอากร
กรมนา ขุนนา เป็นเจ้าหน้าที่ดูแลการทาไร่ นา และสะสมเสบียงอาหารของ พระนคร
2. การปกครองหัวเมือง
อยุธยาเป็นเมืองหลวง เป็นจุดของศูนย์รวมอานาจการปกครองล้อมรอบด้วยเมืองลูกหลวง
ประกอบด้วย ทิศเหนือเมืองลพบุรี ทิศตะวันออกเมืองนครนายก ทิศใต้เมืองนครเขือน
                                                                        ่
ขันธ์ และทิศตะวันตกเมืองสุพรรณบุรี

ถัดออกมาคือ หัวเมืองชันใน ได้แก่ สิงห์บรี ปราจีนบุรี ชลบุรี และเพชรบุรี และ
                      ้                ุ
เมืองประเทศราช เช่น เมืองนครศรีธรรมราช และ เมืองพิษณุโลก
การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง(พ.ศ.1991 - 2231)
การปกครองเริ่มตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นต้นมา หลังจากที่ได้ผนวกเอา
อาณาจักรสุโขทัยมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร อยุธยา โดยมีลกษณะสาคัญ 2 ประการคือ
                                                            ั
1. จัดการรวมอานาจเข้าสูศนย์กลาง
                        ่ ู
2. แยกกิจการฝายพลเรือนกับฝายทหารออกจากกัน
การปกครองส่วนกลาง
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดฯให้มีตาแหน่งสมุหกลาโหมรับผิดชอบด้านการทหาร
นอกจากนี้ยังได้ทรงตังหน่วยงานเพิ่มขึนมา อีก 2 กรม คือ
                    ้                ้
กรมมหาดไทย มีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็นสมุหนายก มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่
ควบคุมกิจการพลเรือนทั่วประเทศ
กรมกลาโหม มีพระยามหาเสนาเป็นสมุหพระกลาโหม มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่
ควบคุมกิจการทหารทั่วประเทศ
นอกจากนี้ใน 4 กรมจตุสดมภ์ที่มีอยู่แล้ว ทรงให้มการปรับปรุงเสียใหม่ โดยตั้งเสนาบดีขึ้นมา
                                              ี
ควบคุมและรับผิดชอบในแต่ละกรมคือ
  กรมเมือง (เวียง) มีพระนครบาลเป็นเสนาบดี
  กรม วัง                มีพระธรรมาธิกรณ์เป็นเสนาบดี
  กรม คลัง               มีพระโกษาธิบดีเป็นเสนาบดี
  กรม นา                  มีพระเกษตราธิการเป็นเสนาบดี
การปกครองส่วนภูมภาค     ิ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกการปกครองแบบเดิมทังหมด แล้วจัดระบบใหม่ดังนี้
                                                                  ้
1.หัวเมืองชันใน ยกเลิกเมืองหน้าด่านแล้วเปลี่ยนเป็นเมืองชั้นใน มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ผู้ปกครอง
            ้
เมืองเหล่านี้เรียกว่า ผู้รั้ง พระมหากษัตริย์จะเป็นผู้แต่งตั้งขุนนางในกรุงศรีอยุธยา ทาหน้าที่ผ้รั้ง
                                                                                              ู
เมือง ต้องรับคาสั่งจากในราชธานีไปปฏิบัติเท่านั้นไม่มีอานาจในการปกครองโดยตรง
2.หัวเมืองชันนอก (เมืองพระยามหานคร) เป็นหัวเมืองที่อยู่ภายนอกราชธานีออกไป จัดเป็นหัว
              ้
เมืองชั้นตรี โท เอก ตามขนาดและความสาคัญของหัวเมืองนั้น เมืองเหล่านี้มีฐานะเดียวกันกับหัว
เมืองชั้นใน คือขึ้นอยู่ในการปกครองจากราชธานีเท่านั้น
3.หัวเมืองประเทศราช ยังให้มีการปกครองเหมือนเดิม มีแบบแผนขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง
มีเจ้าเมืองเป็นคนในท้องถิ่นนั้น ส่วนกลางจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวในด้านการปกครอง แต่ต้องส่ง
เครื่องราชบรรณาการมาถวาย
การปกครองส่วนท้องถิน แบ่งการปกครองเป็นหน่วยย่อย โดยแบ่งเป็น
                       ่
  1) บ้าน หรือหมู่บ้าน มีผ้ใหญ่บ้าน มีผ้ว่าราชการเมืองเป็นหัวหน้า จากการเลือกตั้งจากหลาย
                           ู            ู
บ้าน
  2) ตาบลเกิดจากหลายๆ หมู่บ้านรวมกันมีกานันเป็นหัวหน้ามีบรรดาศักดิ์เป็น พัน
  3) แขวง เกิดจากหลายๆ ตาบลรวมกัน มีหมื่นแขวงเป็นผู้ปกครอง
  4) เมือง เกิดจากหลายๆ แขวงรวมกัน มีผ้รั้งหรือพระยามหานครเป็นผู้ปกครอง
                                             ู
ต่อมาในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ได้มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองทางด้านการทหาร
ได้แก่
1. การจัดทาสารบัญชี (หรือสารบาญชี) เพื่อให้ทราบว่ามีกาลังไพร่พลมากน้อยเพียงใด
2. สร้างตาราพิชยสงคราม ซึ่งเป็นตาราทีว่าด้วยการจัดทัพ การเดินทัพ การตั้งค่าย การจู่โจมและ
                 ั                         ่
การตั้งรับ ส่วนหนึ่งของตาราได้มาจากทหารอาสาชาวโปรตุเกส
3. การทาพิธทุกหัวเมือง ซักซ้อมความพร้อมเพรียงเพื่อสารวจจานวนไพร่พล (คล้ายกับพิธีถวาย
              ี
สัตย์ปฏิญาณต่อธงชัยเฉลิมพลในปัจจุบัน)
การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย(พ.ศ.1991-2310)
  สมัยอยุธยาตอนปลาย เริ่มในสมัยพระเพทราชา สมัยนี้ยึดการปกครองแบบที่สมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ ทรงปรับปรุงแต่ได้แบ่งแยกอานาจสมุหกลาโหม และ สมุหนายกเสียใหม่ คือ
  สมุหกลาโหม        ดูแลหัวเมืองฝายใต้ทั้งหมดทั้งที่เป็นฝายทหารและพลเรือน
  สมุหนายก          ดูแลหัวเมืองฝายเหนือทั้งหมดที่เป็นฝายทหารและพลเรือนรูปแบบ
การปกครองของอยุธยาใช้เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้มีการปฏิรูปการปกครองเสียใหม่
ได้แยกกิจการฝายทหารและพลเรือนออกจากกัน แต่การกาหนดอานาจบังคับบัญชาดูแลกิจการ
ทั้งสองฝายตามเขตพื้นที่ ซึ่งเป็นการถ่วงดุลอานาจของขุนนางด้วยกัน เพื่อจะได้ไม่เป็นภัยต่อ
ราชบัลลังก์และแบ่งเป็นหัวเมืองฝายต่างๆ ดังนี้
    -หัวเมืองฝายเหนือ           ขึ้นตรงต่อสมุหนายก
    -หัวเมืองฝายใต้             ขึ้นตรงต่อสมุหพระกลาโหม
    -หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ขึ้นตรงต่อเสนาบดีกรมคลัง
สมัยธนบุรี
สมัยกรุงธนบุรี
         การปกครองในสมัยกรุงธนบุรียังคงมีรูปแบบเหมือนกับสมัยอยุธยาตอนปลาย พอ
สรุปได้ดังนี้
การปกครองส่วนกลาง หรือ การปกครองในราชธานี พระมหากษัตริย์เป็นประมุขสูงสุด
เปรียบเสมือนสมมุติเทพ มีเจ้าฟ้าอินทรพิทักษ์ดารงดาแหน่งพระมหาอุปราช มีตาแหน่งอัครมหา
เสนาบดีฝายทหารหรือสมุหพระกลาโหม มียศเป็นเจ้าพระยามหาเสนา และอัครมหาเสนาบดีฝาย
พลเรือนหรือสมุหนายก(มหาไทย) มียศเป็นเจ้าพระยาจักรี เป็นหัวหน้าบังคับบัญชาเสนาบดี
จตุสดมภ์ 4 กรมได้แก่
1. กรมเมือง (นครบาล)         มีพระยายมราชเป็นผู้บังคับบัญชา ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
ปกครองภายในเขตราชธานี การบาบัดทุกข์บารุงสุขของราษฎรและการปราบโจรผู้ร้าย
2. กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์)        มีพระยาธรรมาเป็นผู้บังคับบัญชาทาหน้าที่เกี่ยวกับกิจการ
ภายในราช สานักและพิพากษาอรรถคดี
3. กรมพระคลัง (โกษาธิบดี) มีพระยาโกษาธดีเป็นผู้บงคับบัญชาทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับ
                                                   ั
จ่ายเงินของแผ่น ดิน และติดต่อ ทาการค้ากับต่างประเทศ
 4. กรมนา (เกษตราธิการ) มีพระยาพลเทพเป็นผู้บังคับบัญชาทาหน้าที่เกี่ยวกับเรือกสวน
ไร่นาและ เสบียงอาหารตลอดจน ดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีค่านา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวงและ
พิจารณาคดีความเกี่ยวกับเรื่องโค กระบือ และที่นา
การปกครองส่วนภูมิภาค หรือ การปกครองหัวเมือง
การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็น หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก หัวเมือง
ประเทศราช
หัวเมืองชั้นใน จัดเป็นเมืองระดับชั้นจัตวา มีขุนนางชั้นผู้น้อยเป็นผู้ดูแลเมือง ไม่มีเจ้า
เมือง ผู้ปกครองเมืองเรียกว่า ผู้รั้ง หรือ จ่าเมือง อานาจในการปกครองขึ้นอยู่กับ
เสนาบดีจัตุสดมภ์ หัวเมืองชั้นในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่ พระประแดง นนทบุรี สาม
โคก(ปทุมธานี)
หัวเมืองชันนอก หรือเมืองพระยามหานคร เป็นเมืองที่อยู่นอกเขตราชธานีออกไป กาหนด
          ้
ฐานะเป็นเมืองระดับชั้น เอก โท ตรี จัตวา ตามลาดับ หัวเมืองฝายเหนือขึ้นอยู่กับอัครมหา
เสนาบดี
ฝายสมุหนายก ส่วนหัวเมืองฝายใต้และหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออก ขึ้นอยู่กับกรมท่า
(กรมพระคลัง) ถ้าเป็นเมืองชั้นเอก พระมหากษัตริย์ จะส่งขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ออกไปเป็น
เจ้าเมืองทาหน้าที่ดูแลต่างพระเนตรพระกรรณ

หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันเอก ได้แก่ พิษณุโลก จันทบุรี
          ้                                 ้
หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันโท ได้แก่ สวรรคโลก ระยอง เพชรบูรณ์
            ้                                 ้
หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันตรี ได้แก่ พิจิตร นครสวรรค์
              ้                                 ้
หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันจัตวาได้แก่ ไชยบาดาล ชลบุรี
                ้                                 ้
หัวเมืองประเทศราช
เป็นเมืองต่างชาติต่างภาษาที่อยู่ห่างไกลออกไปติดชายแดนประเทศอื่น มีกษัตริย์ปกครอง แต่
ต้องได้รับการแต่งตั้งจากกรุงธนบุรี ประเทศเหล่านั้น ประมุขของแต่ละประเทศจัดการ
ปกครองกันเอง แต่ต้องส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองและเครื่องราชบรรณาการมาให้ตามที่กาหนด
หัวเมืองประเทศราช ในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่ เชียงใหม่ (ล้านนาไทย) ลาว (หลวงพระ
บาง,เวียงจันทน์, จาปาศักดิ) กัมพูชา (เขมร) และนครศรีธรรมราช
                          ์
จบการนาเสนอ : )

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
Choengchai Rattanachai
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Pracha Wongsrida
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
tinnaphop jampafaed
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
Thanawut Rattanadon
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
Padvee Academy
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 

Similar to ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1

การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
ปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
chakaew4524
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1 (20)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 

ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1

  • 2. จัดทาโดย นางสาวณัฐนรี แก้วศิริ เลขที่ 8 นางวสาวศศิธร ศิรเิ ทพ เลขที่ 13 นางสาวณัฐชนก ชืนใจ ่ เลขที่ 17 นางสาวรัตนาภรณ์ สุปนต๋า ั เลขที่ 21 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ้ เสนอ ครูสายพิณ วงษารัตน์
  • 4. ลักษณะการปกครองในสมัยสุโขทัย มีลกษณะสาคัญ 4 ประการคือ ั 1. รูปแบบราชาธิปไตย หมายถึง ผู้เป็นพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครองสูงสุด 2. รูปแบบบิดาปกครองบุตร หมายถึง พระมหากษัตริย์ทรงมีความใกล้ชิดกับประชาชนมาก จึงเปรียบเสมือนหัวหน้าครอบครัว หรือ พ่อ จึงมักมีคานาหน้าว่า “พ่อขุน” 3.ลักษณะลดหลันกันลงมาเป็นขันๆ เริมจากหลายครอบครัวรวมกันเป็นบ้าน มีพ่อบ้านเป็น ่ ้ ่ ผู้ปกครอง หลายบ้านรวมกันเป็นเมือง มีพ่อเมืองเป็นผู้ปกครอง หลายเมืองรวมกันเป็นประเทศ มีพ่อขุนเป็นผู้ปกครอง 4. การยึดหลักธรรมในพระพุทธศาสนาในการบริหารบ้านเมือง คือ “ทศพิธราชธรรม”
  • 5. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ. 1792 - 1841) ในช่วงต้นของการสถาปนากรุงสุโขทัยเริมจาก สมัยพ่อขุนศรีอนทราทิตย์จนสิน ่ ิ ้ สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก การปกครองแบบพ่อปกครองลูกนี้ประชาชนทุกคนเสมือนหนึ่งเป็นคนในครอบครัวเดียว กัน โดยมีกษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครัว มีอานาจสูงสุดในการปกครอง แต่ก็มิได้ทรงใช้อานาจ สิทธิ์ขาดในการปกครองแต่เพียงพระองค์เดียว ทรงยินยอมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการ ปกครองด้วย ประชาชนจึงเรียกกษัตริยว่า “พ่อขุน” เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุน ์ รามคาแหง เป็นต้น การปกครองลักษณะนี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริยกบ ์ ั ประชาชนว่า “มีความใกล้ชดกันมาก” ิ
  • 6. กษัตริย์นอกจากจะเป็นผู้ปกครองและเป็นเสมือนพ่อแล้วยังทรงเป็นตุลาการที่เที่ยงธรรมอีก ด้วย จากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวไว้ว่า ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงพระองค์ทรงให้สร้างกระดิ่งแขวนไว้ที่ หน้าประตู พระราชวัง เมื่อพ่อขุนทรงทราบเรื่องก็จะออกมาไต่สวนคดีความด้วยพระองค์เอง นอกจากนั้น ในยามเกิดศึกสงครามพ่อขุนจะทรงเป็นจอมทัพของกองทัพหลวง เมืองขึ้นต่างๆ จะต้องเกณฑ์ทัพมาร่วมกันต่อสู้ป้องกันราชอาณาจักรและเมื่อยามบ้านเมืองสงบพ่อขุนจะทรงออก ว่าราชการและดูแลทุกข์สุขของราษฎร เช่น ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์จะทรง ออกว่าราชการที่ปาตาล โดยประทับบนพระแท่นมนังศิลาบาตรเป็นประจาทุกวัน ยกเว้นในวัน พระและวันโกน โดยในวันดังกล่าวนี้จะทรงนิมนต์พระเถระให้มาเทศนาสั่งสอนประชาชนเป็นประจา
  • 7. การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841 - 1981) หลังจากสิ้นสมัยของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช แล้ว กษัตริย์องค์ต่อมา คือ พญาเลอไทย และ พญางั่วนาถม ในช่วงนี้อาณาจักรสุโขทัยเริ่มระส่าระสวยเมืองต่าง ๆ พากันแยกตัวอิสระไม่ขึ้นต่อกรุงสุโขทัย ภายในบ้านเมืองเกิดความไม่สงบเรียบร้อย มีการแย่งชิง ราชสมบัติกันอยู่เนื่อง ๆ ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ลักษณะการปกครองแบบพ่อปกครองลูกเริมเสือมลง ่ ่
  • 8. เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ทรงขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 1890 พระองค์ทรงตระหนักถึง ความไม่สงบเรียบร้อยดังกล่าว และทรงเห็นว่าการแก้ปัญหาการเมืองด้วยการใช้อานาจทาง ทหารเพียงอย่างเดียวคง ทาได้ยาก เพราะกาลังทหารของกรุงสุโขทัยในขณะนั้นไม่เข้มแข็ง พอ พระองค์จงทรงดาเนินนโยบายใหม่ด้วยการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้เป็น หลัก ึ ในการปกครองอาณาจักร พร้อมกับได้ขยายอานาจทางการเมืองออกไป การปกครองที่ใช้ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักนี้ เรียกว่า การปกครองแบบธรรมราชา กษัตริยผ้ปกครองอยูในฐานะธรรมราชาหรือพระราชาผู้ทรง ์ ู ่ ธรรม ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยหลักทศพิธราชธรรม
  • 9. การจัดระเบียบการปกครองสมัยสุโขทัย 1. เมืองหลวง คือ สุโขทัยเป็นศูนย์กลางการปกครอง 2. เมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน ตั้งอยู่รอบ ๆ เมืองหลวง มี 4 ทิศ โดยมี เชื้อพระวงศ์เป็นผู้ปกครอง มีหน้าที่ สะสมเสบียงอาหาร และป้องกันข้าศึกศัตรู เมืองหน้าด่านทัง 4 ได้แก่ ้ - ทิศเหนือ คือ ศรีสชนาลัย ั - ทิศใต้ คือ สระหลวง (พิจตร) ิ - ทิศตะวันออก คือ สองแคว (พิษณุโลก) - ทิศตะวันตก คือ ชากังราว (กาแพงเพชร) 3. เมืองพระยามหานคร หรือเมืองชันนอก เป็นหัวเมืองชั้นนอก มีเจ้าเมือง หรือ ขุนนาง ้ ชั้นผู้ใหญ่ปกครอง 4. เมืองประเทศราช เมืองที่อยู่นอกราชอาณาจักรโดยยอมสวามิภักดิ์ต่อสุโขทัย โดยการส่งเครื่องราชบรรณาการให้ และ มีเจ้าเมืองเดิมปกครอง
  • 12. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา ลักษณะการปกครอง แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. แบบธรรมราชา กษัตริย์ปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา 2. แบบเทวราชา กษัตริย์เป็นสมมติเทพ รับอิทธิพลมาจากขอม
  • 13. การจัดระเบียบการปกครองสมัยอยุธยา สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ได้นารูปแบบการปกครองของสุโขทัยและเขมรมาปรับใช้ โดยแบ่งเป็น - ราชธานี - หัวเมืองชันใน ้ - เมืองลูกหลวง - หัวเมืองชันนอก ้ - เมืองประเทศราช
  • 14. ต่อมาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุงการปกครองเพื่อเพิ่มอานาจให้กับ ราชธานี จึงจัดระเบียบการปกครองใหม่เพื่อรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยแบ่งเป็น - ราชธานี - หัวเมืองชันใน ผู้ปกครองเรียกว่า "ผู้รง" ้ ั้ - หัวเมืองชันนอก แบ่งเป็นเอก โท ตรี โดยแบ่งภายในเมืองเป็นการปกครองท้องถิน ได้แก่ เมือง ้ ่ (จังหวัด) , แขวง(อาเภอ) , ตาบล , บ้าน
  • 15.
  • 16. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น(พ.ศ.1893-1991) 1. การปกครองส่วนกลาง พระมหากษัตริย์ ปกครองแบบรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือ จตุสดมภ์ แบ่งเป็น เวียง วัง คลัง นา กรมเวียง ขุนเวียง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่ รักษาความสงบสุขของราษฎร กรมวัง ขุนวัง เป็นผู้ดูแล เป็นหัวหน้าฝาย ราชสานักการพิจารณาพิพากษาคดี กรมคลัง ขุนคลัง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดินที่ได้จากการเก็บส่วยอากร กรมนา ขุนนา เป็นเจ้าหน้าที่ดูแลการทาไร่ นา และสะสมเสบียงอาหารของ พระนคร
  • 17. 2. การปกครองหัวเมือง อยุธยาเป็นเมืองหลวง เป็นจุดของศูนย์รวมอานาจการปกครองล้อมรอบด้วยเมืองลูกหลวง ประกอบด้วย ทิศเหนือเมืองลพบุรี ทิศตะวันออกเมืองนครนายก ทิศใต้เมืองนครเขือน ่ ขันธ์ และทิศตะวันตกเมืองสุพรรณบุรี ถัดออกมาคือ หัวเมืองชันใน ได้แก่ สิงห์บรี ปราจีนบุรี ชลบุรี และเพชรบุรี และ ้ ุ เมืองประเทศราช เช่น เมืองนครศรีธรรมราช และ เมืองพิษณุโลก
  • 18. การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง(พ.ศ.1991 - 2231) การปกครองเริ่มตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นต้นมา หลังจากที่ได้ผนวกเอา อาณาจักรสุโขทัยมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร อยุธยา โดยมีลกษณะสาคัญ 2 ประการคือ ั 1. จัดการรวมอานาจเข้าสูศนย์กลาง ่ ู 2. แยกกิจการฝายพลเรือนกับฝายทหารออกจากกัน การปกครองส่วนกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดฯให้มีตาแหน่งสมุหกลาโหมรับผิดชอบด้านการทหาร นอกจากนี้ยังได้ทรงตังหน่วยงานเพิ่มขึนมา อีก 2 กรม คือ ้ ้ กรมมหาดไทย มีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็นสมุหนายก มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ ควบคุมกิจการพลเรือนทั่วประเทศ กรมกลาโหม มีพระยามหาเสนาเป็นสมุหพระกลาโหม มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ ควบคุมกิจการทหารทั่วประเทศ นอกจากนี้ใน 4 กรมจตุสดมภ์ที่มีอยู่แล้ว ทรงให้มการปรับปรุงเสียใหม่ โดยตั้งเสนาบดีขึ้นมา ี ควบคุมและรับผิดชอบในแต่ละกรมคือ กรมเมือง (เวียง) มีพระนครบาลเป็นเสนาบดี กรม วัง มีพระธรรมาธิกรณ์เป็นเสนาบดี กรม คลัง มีพระโกษาธิบดีเป็นเสนาบดี กรม นา มีพระเกษตราธิการเป็นเสนาบดี
  • 19. การปกครองส่วนภูมภาค ิ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกการปกครองแบบเดิมทังหมด แล้วจัดระบบใหม่ดังนี้ ้ 1.หัวเมืองชันใน ยกเลิกเมืองหน้าด่านแล้วเปลี่ยนเป็นเมืองชั้นใน มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ผู้ปกครอง ้ เมืองเหล่านี้เรียกว่า ผู้รั้ง พระมหากษัตริย์จะเป็นผู้แต่งตั้งขุนนางในกรุงศรีอยุธยา ทาหน้าที่ผ้รั้ง ู เมือง ต้องรับคาสั่งจากในราชธานีไปปฏิบัติเท่านั้นไม่มีอานาจในการปกครองโดยตรง 2.หัวเมืองชันนอก (เมืองพระยามหานคร) เป็นหัวเมืองที่อยู่ภายนอกราชธานีออกไป จัดเป็นหัว ้ เมืองชั้นตรี โท เอก ตามขนาดและความสาคัญของหัวเมืองนั้น เมืองเหล่านี้มีฐานะเดียวกันกับหัว เมืองชั้นใน คือขึ้นอยู่ในการปกครองจากราชธานีเท่านั้น 3.หัวเมืองประเทศราช ยังให้มีการปกครองเหมือนเดิม มีแบบแผนขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง มีเจ้าเมืองเป็นคนในท้องถิ่นนั้น ส่วนกลางจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวในด้านการปกครอง แต่ต้องส่ง เครื่องราชบรรณาการมาถวาย
  • 20. การปกครองส่วนท้องถิน แบ่งการปกครองเป็นหน่วยย่อย โดยแบ่งเป็น ่ 1) บ้าน หรือหมู่บ้าน มีผ้ใหญ่บ้าน มีผ้ว่าราชการเมืองเป็นหัวหน้า จากการเลือกตั้งจากหลาย ู ู บ้าน 2) ตาบลเกิดจากหลายๆ หมู่บ้านรวมกันมีกานันเป็นหัวหน้ามีบรรดาศักดิ์เป็น พัน 3) แขวง เกิดจากหลายๆ ตาบลรวมกัน มีหมื่นแขวงเป็นผู้ปกครอง 4) เมือง เกิดจากหลายๆ แขวงรวมกัน มีผ้รั้งหรือพระยามหานครเป็นผู้ปกครอง ู ต่อมาในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ได้มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองทางด้านการทหาร ได้แก่ 1. การจัดทาสารบัญชี (หรือสารบาญชี) เพื่อให้ทราบว่ามีกาลังไพร่พลมากน้อยเพียงใด 2. สร้างตาราพิชยสงคราม ซึ่งเป็นตาราทีว่าด้วยการจัดทัพ การเดินทัพ การตั้งค่าย การจู่โจมและ ั ่ การตั้งรับ ส่วนหนึ่งของตาราได้มาจากทหารอาสาชาวโปรตุเกส 3. การทาพิธทุกหัวเมือง ซักซ้อมความพร้อมเพรียงเพื่อสารวจจานวนไพร่พล (คล้ายกับพิธีถวาย ี สัตย์ปฏิญาณต่อธงชัยเฉลิมพลในปัจจุบัน)
  • 21. การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย(พ.ศ.1991-2310) สมัยอยุธยาตอนปลาย เริ่มในสมัยพระเพทราชา สมัยนี้ยึดการปกครองแบบที่สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ ทรงปรับปรุงแต่ได้แบ่งแยกอานาจสมุหกลาโหม และ สมุหนายกเสียใหม่ คือ สมุหกลาโหม ดูแลหัวเมืองฝายใต้ทั้งหมดทั้งที่เป็นฝายทหารและพลเรือน สมุหนายก ดูแลหัวเมืองฝายเหนือทั้งหมดที่เป็นฝายทหารและพลเรือนรูปแบบ การปกครองของอยุธยาใช้เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้มีการปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ ได้แยกกิจการฝายทหารและพลเรือนออกจากกัน แต่การกาหนดอานาจบังคับบัญชาดูแลกิจการ ทั้งสองฝายตามเขตพื้นที่ ซึ่งเป็นการถ่วงดุลอานาจของขุนนางด้วยกัน เพื่อจะได้ไม่เป็นภัยต่อ ราชบัลลังก์และแบ่งเป็นหัวเมืองฝายต่างๆ ดังนี้ -หัวเมืองฝายเหนือ ขึ้นตรงต่อสมุหนายก -หัวเมืองฝายใต้ ขึ้นตรงต่อสมุหพระกลาโหม -หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ขึ้นตรงต่อเสนาบดีกรมคลัง
  • 22.
  • 24. สมัยกรุงธนบุรี การปกครองในสมัยกรุงธนบุรียังคงมีรูปแบบเหมือนกับสมัยอยุธยาตอนปลาย พอ สรุปได้ดังนี้ การปกครองส่วนกลาง หรือ การปกครองในราชธานี พระมหากษัตริย์เป็นประมุขสูงสุด เปรียบเสมือนสมมุติเทพ มีเจ้าฟ้าอินทรพิทักษ์ดารงดาแหน่งพระมหาอุปราช มีตาแหน่งอัครมหา เสนาบดีฝายทหารหรือสมุหพระกลาโหม มียศเป็นเจ้าพระยามหาเสนา และอัครมหาเสนาบดีฝาย พลเรือนหรือสมุหนายก(มหาไทย) มียศเป็นเจ้าพระยาจักรี เป็นหัวหน้าบังคับบัญชาเสนาบดี จตุสดมภ์ 4 กรมได้แก่ 1. กรมเมือง (นครบาล) มีพระยายมราชเป็นผู้บังคับบัญชา ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ ปกครองภายในเขตราชธานี การบาบัดทุกข์บารุงสุขของราษฎรและการปราบโจรผู้ร้าย 2. กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) มีพระยาธรรมาเป็นผู้บังคับบัญชาทาหน้าที่เกี่ยวกับกิจการ ภายในราช สานักและพิพากษาอรรถคดี 3. กรมพระคลัง (โกษาธิบดี) มีพระยาโกษาธดีเป็นผู้บงคับบัญชาทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับ ั จ่ายเงินของแผ่น ดิน และติดต่อ ทาการค้ากับต่างประเทศ 4. กรมนา (เกษตราธิการ) มีพระยาพลเทพเป็นผู้บังคับบัญชาทาหน้าที่เกี่ยวกับเรือกสวน ไร่นาและ เสบียงอาหารตลอดจน ดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีค่านา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวงและ พิจารณาคดีความเกี่ยวกับเรื่องโค กระบือ และที่นา
  • 25. การปกครองส่วนภูมิภาค หรือ การปกครองหัวเมือง การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็น หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก หัวเมือง ประเทศราช หัวเมืองชั้นใน จัดเป็นเมืองระดับชั้นจัตวา มีขุนนางชั้นผู้น้อยเป็นผู้ดูแลเมือง ไม่มีเจ้า เมือง ผู้ปกครองเมืองเรียกว่า ผู้รั้ง หรือ จ่าเมือง อานาจในการปกครองขึ้นอยู่กับ เสนาบดีจัตุสดมภ์ หัวเมืองชั้นในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่ พระประแดง นนทบุรี สาม โคก(ปทุมธานี)
  • 26. หัวเมืองชันนอก หรือเมืองพระยามหานคร เป็นเมืองที่อยู่นอกเขตราชธานีออกไป กาหนด ้ ฐานะเป็นเมืองระดับชั้น เอก โท ตรี จัตวา ตามลาดับ หัวเมืองฝายเหนือขึ้นอยู่กับอัครมหา เสนาบดี ฝายสมุหนายก ส่วนหัวเมืองฝายใต้และหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออก ขึ้นอยู่กับกรมท่า (กรมพระคลัง) ถ้าเป็นเมืองชั้นเอก พระมหากษัตริย์ จะส่งขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ออกไปเป็น เจ้าเมืองทาหน้าที่ดูแลต่างพระเนตรพระกรรณ หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันเอก ได้แก่ พิษณุโลก จันทบุรี ้ ้ หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันโท ได้แก่ สวรรคโลก ระยอง เพชรบูรณ์ ้ ้ หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันตรี ได้แก่ พิจิตร นครสวรรค์ ้ ้ หัวเมืองชันนอก ในสมัยกรุงธนบุรี ระดับเมืองชันจัตวาได้แก่ ไชยบาดาล ชลบุรี ้ ้
  • 27. หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองต่างชาติต่างภาษาที่อยู่ห่างไกลออกไปติดชายแดนประเทศอื่น มีกษัตริย์ปกครอง แต่ ต้องได้รับการแต่งตั้งจากกรุงธนบุรี ประเทศเหล่านั้น ประมุขของแต่ละประเทศจัดการ ปกครองกันเอง แต่ต้องส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองและเครื่องราชบรรณาการมาให้ตามที่กาหนด หัวเมืองประเทศราช ในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่ เชียงใหม่ (ล้านนาไทย) ลาว (หลวงพระ บาง,เวียงจันทน์, จาปาศักดิ) กัมพูชา (เขมร) และนครศรีธรรมราช ์