SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
พระพทธเลิศ
      ุ
หล้ านภาลัย
รายงาน

                      วิชา ประวัติศาสตร์

             เรือง    ประวัติพระพุทธเลิศหล้ านภาล้ ย

                      จัดทําโดย
       นางสาวอาชิ ตา      ประทุมชั ย               เลขที 29
       นางสาวณิชกานต์     จําปาบุรี          เลขที
       นายวัฒนกูล         วิเศษนันท์               เลขที 11
       นางสาวสุ ชาดา                หม่ องคําหมืน           เลขที



              ชั น มัธยมศึกษาปี ที 5/2

                          เสนอ
            คุณครู สฤษศักดิ ชิ นเขมจารี

                    คุณครู ทปรึกษา
                            ี
                 คุณครู อมรเทพ สุ่ มมาตย์
                 คุณครู กฤษณา สิ งห์ คํา




โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด
คํานํา

        รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชา ประวัติศาสตร์ และกลุ่มดิฉนได้จดทํารายงานขึนก็เพือได้ให้ทุก
                                                                   ั    ั
คนได้ศึกษาหาความรู ้เกียวกับประวัติของพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและได้คนคว้าจากห้องสมุดโรงเรี ยนเพือ
                                                                      ้
หาข้อมูลเพือมารายงานและหากรายงานเล่มนีมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี
                                             ้




                                                                       จัดทําโดย
                                                                       คณะผูจดทํา
                                                                              ้ั
                                                                    ชันมัธยมศึกษาปี ที5/2




                                              สารบัญ

                   เรือง                                               หน้ า
- ประวัติพุทธเลิศหล้านภาลัย                         1-2

- ปราบดาภิเษก                                       2
- พระราชลัญจกรประจําพระองค์                         2-4

- ลําดับประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญ
                                ํ                   4-7

- ราชตระกูล                                         7-8

- พระราชประวัติ                                     8-11

- การทํานุบารุ งประเทศ
           ํ                                        10-12

- รัชกาลที                                          12-16




                พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอิศรสุ นทรฯ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
2310-21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายนพ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2367) รัชกาลที 2 แห่ง
ราชวงศ์จกรี
        ั

          พระนามทีปรากฏ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนัน เพิงถวายพระนามเรี ยกเมือสมัย
รัชกาลที 3 เนืองจากพระปรมาภิไธยทีจารึ กในพระสุ พรรณบัฏ ของรัชกาลที 1 และรัชกาลที 2 จะเหมือนกัน
ทุกตัวอักษร เพราะในเวลานันยังไม่มีธรรมเนียมทีจะต้องมีพระปรมาภิไธยแตกต่างกันในแต่ละพระองค์
                                                                     ่
จนถึงรัชกาลที 4 เป็ นต้นมา จึงทรงได้พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้บญญัติไว้วา ในแต่ละรัชกาลจะต้องมีพระ
                                                            ั
ปรมาภิไธยแตกต่างกัน เว้นแต่สร้อยพระปรมาภิไธยเท่านันทีอณุ โลมให้ซากันได้บาง ส่ วนคํานําหน้าพระ
                                                                   ํ       ้
นาม รัชกาลที 4 ก็ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คาว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์ หรื อ ปรเมนทร์ เป็ นคํานําทังนี
                                      ํ
ขึนอยูกบลําดับรัชกาลว่าจะเป็ นเลขคีหรื อเลขคู่
      ่ ั

        เดิมทีเดียวคนสมัยก่อนมักเรี ยกรัชกาลที 1 ว่า แผ่นดินต้น และเรี ยกรัชกาลที 2 ว่า แผ่นดินกลาง เหตุ
เพราะพระนามในพระสุ พรรณบัฎเหมือนกัน รัชกาลที 3 จึงไม่โปรดให้ใช้ตามอย่างรัชกาลที 1 และ 2 เพราะ
เหตุเช่นนันจะทําให้ประชาชนสมัยนันเรี ยกว่าแผ่นดินปลาย ซึ งดูไม่เป็ นมงคล

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระนามเดิมว่า ฉิ ม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวง
อิศรสุ นทร) พระราชสมภพเมือ วันพุธ ขึน 7 คํา เดือน 4 ปี กุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ งตรงกับวันที 24 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2310 เป็ นพระราชโอรสพระองค์ที 4 ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก เสวยราชสมบัติ เมือ
ปี มะเส็ ง ปี พ.ศ. 2352 - 2367 ขณะมีพระชนมายุได้ 42 พรรษาพระนามเต็ม

         พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิ ราช
รามาธิ บดี ศรี สินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิ บดินทร์ ธรณิ นทราธิ ราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิ เบศ
ตรี ภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทยดโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิ เบนทร สุ ริเยนทราธิ บ
                                                    ั
ดินทร์ หริ หริ นทรา ธาดาธิ บดี ศรี วบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิ ราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิ ราชเดโชชัย
                                    ิ
พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิ เบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรม
บพิตร พระพุทธเจ้าอยูหว่ ั

        พระปรมาภิไธยทีจารึ กในพระสุ พรรณบัฏ ของรัชกาลที 1 และรัชกาลที 2 เหมือนกันทุกตัวอักษร
เนืองจากในเวลานัน ยังไม่มีธรรมเนียม ทีจะต้องมีพระปรมาภิไธยแตกต่างกัน ในแต่ละพระองค์ จนใน
                                                            ่
รัชกาลที 4 เป็ นต้นมาได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้บญญัติไว้วา ในแต่ละรัชกาลจะต้องมีพระปรมาภิไธย
                                                   ั
แตกต่างกัน เว้นแต่สร้อยพระปรมาภิไธยเท่านันทีอนุ โลมให้ซากันได้บาง ส่ วนคํานําหน้าพระนาม รัชกาลที
                                                       ํ        ้
่ ั
4 ก็ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คาว่า "พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์ หรื อปรเมนทร์ " เป็ นคํานําทังนีขึนอยูกบลําดับ
                         ํ
รัชกาลว่าจะเป็ นเลขคีหรื อเลขคู่ เดิมทีเดียวคนสมัยก่อนมักเรี ยกรัชกาลที 1 ว่าแผ่นดินต้น และเรี ยกรัชกาลที
2 ว่าแผ่นดินกลาง เหตุเพราะพระนามในพระสุ พรรณบัฎเหมือนกัน รัชกาลที 3 จึงไม่โปรดให้ใช้ตามอย่าง
รัชกาลที 1 และ 2 เพราะเหตุเช่นนัน จะทําให้ประชาชนสมัยนันเรี ยกว่าแผ่นดินปลาย ซึ งดูไม่เป็ นมงคล

ปราบดาภิเษก

เมือถึงวันที 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคตด้วยพระ
โรคชรา ขณะมีพระชนมายุได้ 73 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง 27 ปี พระบรมวงศานุ
วงศ์ได้ทูลเชิญให้เสด็จปราบดาภิเษกเป็ นพระมหากษัตริ ยองค์ที 2 แห่งราชวงศ์จกรี ใช้พระนามเต็มว่า
                                                    ์                    ั
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระปรี ชาสามารถ




พระราชลัญจกรประจําพระองค์

       พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระปรี ชาสามารถในศิลปกรรมด้านต่างๆ หลายสาขา
ดังจะขอยกตัวอย่างต่อไปนี

ด้านกวีนิพนธ์

          ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้รับการยกย่องว่า เป็ นยุคทองของ
วรรณคดีสมัยหนึงเลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริ ญสู งสุ ด จนมีคากล่าวว่า "ในรัชกาลที 2 นัน ใครเป็ นกวีก็
                                                           ํ
เป็ นคนโปรด" กวีทีมีชือเสี ยงนอกจากพระองค์เองแล้ว ยังมีกรมหมืนเจษฎาบดินทร์ (รัชกาลที 3) สมเด็จกรม
พระปรมานุชิตชิโนรส สุ นทรภู่ พระยาตรัง และนายนริ นทรธิ เบศร์ (อิน) เป็ นต้น พระองค์มีพระราชนิพนธ์ที
เป็ นบทกลอนมากมาย ทรงเป็ นยอดกวีดานการแต่งบทละครทังละครในและละครนอก มีหลายเรื องทีมีอยู่
                                    ้
เดิมและทรงนํามาแต่งใหม่เพือให้ใช้ในการแสดงได้ เช่น รามเกียรติ อุณรุ ท และอิเหนา โดยเรื องอิเหนานี
เรื องเดิมมีความยาวมาก ได้ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ตงแต่ตนจนจบ เป็ นเรื องยาวทีสุ ดของพระองค์ วรรณคดี
                                                ั ้
สโมสรในรัชกาลที 6 ได้ยกย่องให้เป็ นยอดบทละครรําทีแต่งดี ยอดเยียมทังเนื อความ ทํานองกลอนและ
กระบวนการเล่นทังร้องและรํา นอกจากนียังมีละครนอกอืนๆ เช่น ไกรทอง สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ หลวิชยคาวี   ั
มณี พิชย สังข์ศิลป์ ชัย ได้ทรงเลือกเอาของเก่ามาทรงพระราชนิพนธ์ขึนใหม่บางตอน และยังทรงพระราช
       ั
นิพนธ์บทพากย์โขนอีกหลายชุด เช่น ชุดนางลอย ชุดนาคบาศ และชุดพรหมาสตร์ ซึ งล้วนมีความไพเราะ
ซาบซึ งเป็ นอมตะใช้แสดงมาจนทุกวันนี

ด้านปฏิมากรรม /ประติมากรรม

          นอกจากจะทรงส่ งเสริ มงานช่างด้านหล่อพระพุทธรู ปแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ยังได้ทรงพระราชอุตสาหะปั นหุ่นพระพักตร์ ของพระพุทธธรรมิศรราชโลกธาตุดิลก พระประธานในพระ
อุโบสถวัดอรุ ณราชวราราม อันเป็ นพระพุทธรู ปทีสําคัญยิงองค์หนึงไทยด้วยพระองค์เอง ซึ งลักษณะและ
ทรวดทรงของพระพุทธรู ปองค์นีเป็ นแบบอย่างทีประดิษฐ์คิดค้นขึนใหม่ในรัชกาลที 2 นีเอง ส่ วนด้านการ
ช่างฝี มือและการแกะสลักลวดลายในรัชกาลของพระองค์ได้มีความเจริ ญก้าวหน้าไปอย่างมาก และพระองค์
เองก็ทรงเป็ นช่างทังการปั นและการแกะสลักทีเชียวชาญยิงพระองค์หนึงอย่างยากทีจะหาผูใดทัดเทียมได้
                                                                                 ้
นอกจากฝี พระหัตถ์ในการปั นพระพักตร์ พระพุทธธรรมิศรราชโลกธาตุดิลกแล้ว ยังทรงแกะสลักบานประตู
พระวิหารพระศรี ศากยมุนี วัดสุ ทศนเทพวราราม คู่หน้าด้วยพระองค์เองร่ วมกับกรมหมืนจิตรภักดี และทรง
                                ั
แกะหน้าหุ่นหน้าพระใหญ่และพระน้อยทีทําจากไม้รักคู่หนึงทีเรี ยกว่าพระยารักใหญ่ และพระยารักน้อยไว้
ด้วย

ด้านดนตรี

                   ่
        กล่าวได้วา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงมีพระปรี ชาสามารถในด้านนีไม่นอยไป     ้
กว่าด้านละครและฟ้ อนรํา เครื องดนตรี ทีทรงถนัดและโปรดปรานคือ ซอสามสาย ซึ งซอคู่พระหัตถ์ทีสําคัญ
ได้พระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้ าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ทีมีชือเสี ยงเป็ นทีรู ้จกกันดีคือ "เพลงบุหลัน
                                                                                  ั
ลอยเลือน" หรื อ "บุหลัน (เลือน) ลอยฟ้ า" แต่ต่อมามักจะเรี ยกว่า "เพลงทรงพระสุ บิน" เพราะเพลงมีนีมี
กําเนิดมาจากพระสุ บิน (ฝัน) ของพระองค์เอง โดยเล่ากันว่าคืนหนึงหลังจากได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จ
เข้าทีบรรทมแล้วทรงพระสุ บินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนทีสวยงามดุจสวรรค์ ณ ทีนัน มีพระจันทร์ อน     ั
กระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสี ยงทิพยดนตรี อนไพเราะยิง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครัน
                                                           ั
ทรงตืนบรรทมก็ยงทรงจดจําเพลงนันได้ จึงได้เรี ยกพนักงานดนตรี มาต่อเพลงนันไว้ และทรงอนุญาตให้นา
                 ั                                                                                 ํ
ออกเผยแพร่ ได้ เพลงนีจึงเป็ นทีแพร่ หลายและรู ้จกกันกว้างขวางมาจนทุกวันนี
                                                ั

เสด็จสวรรคต

         พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประชวรด้วยโรคพิษไข้ทรงไม่รู้สึกพระองค์เป็ นเวลา 8
วันก็เสด็จสวรรคต รวมสิ ริพระชนมายุได้ 57 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้ 15 ปี
พระมเหสี พระราชโอรส พระราชธิ ดา

         พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมี พระราชโอรส - พระราชธิ ดา รวมทังสิ น 73
พระองค์ โดยประสู ติเมือครังยังดํารงพระอิสริ ยยศเป็ นสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุ นทร 47 พระองค์
ประสู ติเมือดํารงพระอิสรยยศเป็ นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล 4 พระองค์ และประสู ติภายหลังบรม
ราชาภิเษกเป็ นพระมหากษัตริ ยแล้ว 22 พระองค์
                              ์

        ดูที พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิ ดา ในรัชกาลที 2



ลําดับประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญ
                              ํ

         โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีอุปราชาภิเษก ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าจุย ในรัชกาลที 1
                                                                                     ้
ขึนเป็ น สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุ รักษ์ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระมหาอุปราชเจ้า

        สถาปนาพระราชชนนีขึนเป็ น กรมสมเด็จพระอมริ นทรามาตย์ พระราชชนนีในรัชกาล 2

          กรุ งสยามมีการเปลียนธงประจําชาติ จากธงแดง เป็ นธงช้าง มีลกษณะพืนสี แดง ตรงกลางเป็ น
                                                                   ั
วงกลมสี ขาว มีรูปช้างเผือกสี ขาวภายในวงกลม แต่เมือจะใช้ชกเป็ นธงบนเรื อสิ นค้า ให้งดวงกลมออกเสี ย
                                                          ั
                                                                       ่
เหลือแต่รูปช้างเผือกสี ขาวเท่านัน ดังนัน บันทึกทีพบในต่างประเทศจึงระบุวากรุ งสยาม ใช้ธงประจําชาติเป็ น
รู ปช้างเผือกสี ขาวบนพืนแดง ดูเรื อง ธงชาติไทย

    •   พ.ศ. 2310

24 กุมภาพันธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสมภพ ณ ตําบลอัมพวา เมืองสมุทรสงคราม
พระนามเดิม ฉิ ม

    •   พ.ศ. 2325

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบดาภิเษกขึนเป็ นปฐมกษัตริ ยแห่งพระบรมราช
                                                                                ์
จักรี วงศ์ทรงได้รับการสถาปนาพระยศเป็ น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุ นทร

    •   พ.ศ. 2352

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต
พระบรมวงศานุ วงศ์ ขุนนางกราบบังคมทูลอัญเชิญพระองค์ขึนครองราชสมบัติเป็ นรัชกาลที 2 แห่งพระ
ราชวงศ์จกรี เฉลิมพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเจ้าฟ้ ากรมขุนกษัตรานุชิตกับพวก คิด
        ั
กบฏ โปรดเกล้าฯ ให้กรมหมืนเจษฎาบดินทร์ ชาระความสงครามกับพม่าทีเมืองถลาง
                                        ํ

   •   พ.ศ. 2353

โปรดเกล้าฯ ให้ส่งคณะทูตอัญเชิ ญพระราชสาส์นไปถวายจักรพรรดิเกียเข้งแห่งอาณาจักรจีน

ราชทูตญวนเข้ามาถวายราชสาส์นและเครื องราชบรรณาการ พร้อมทังทูลขอเมืองบันทายมาศคืน ซึ งพระองค์
ก็พระราชทานคืนให้

   •   พ.ศ. 2354

โปรดเกล้าฯ ให้เจ้านายไปกํากับราชการตามกระทรวงต่างๆ

โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานออก "เดินสวนเดินนา"

ออกพระราชกําหนดห้ามสู บและซือขายฝิ น

จัดพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช

เกิดอหิ วาตกโรคครังใหญ่

โปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชพิธี "อาพาธพินาศ"

                                     ่
โปรดเกล้าฯ ให้กองทัพไทย ไประงับความวุนวายในกัมพูชา

อิน-จัน แฝดสยามคู่แรกของโลกถือกําเนิดขึน

   •   พ.ศ. 2355

โปรดเกล้าฯ ให้อญเชิ ญพระแก้วผลึก (พระพุทธบุษยรัตน์) จากเมืองจําปาศักดิมายังกรุ งเทพฯ
               ั

   •   พ.ศ. 2356

                                                             ั
พม่าให้ชาวกรุ งเก่านําสาส์นจากเจ้าเมืองเมาะตะมะมาขอทําไมตรี กบสยาม

                                                 ่ ั
พระองค์เจ้าชายทับ (พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว) ได้รับการสถาปนาเป็ นกรมหมืนเจษฎาบดินทร์
•   พ.ศ. 2357

โปรดเกล้าฯ ให้ส่งคณะสมณทูตเดินทางไปศรี ลงกา
                                        ั

โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง นครเขือนขันธ์ ขึนทีบริ เวณพระประแดง เพือสําหรับรับข้าศึกทีมาทางทะเล

   •   พ.ศ. 2359

โปรดเกล้าฯ ให้จดการปรับปรุ งการสอบปริ ยติธรรมใหม่ กําหนดขึนเป็ น 9 ประโยค
               ั                       ั

   •   พ.ศ. 2360

ทรงฟื นฟูประเพณี วันวิสาขบูชา

   •   พ.ศ. 2361

ขยายเขตพระบรมมหาราชวังจนจรดวัดพระเชตุพน โดยสร้างถนนท้ายวังคัน

โปรดเกล้าฯ ให้ขาราชการออกแบบและสร้างสวนขวาขึนในพระบรมมหาราชวัง
               ้

คณะสมณทูตทีพระองค์ทรงส่ งไปฟื นฟูพระพุทธศาสนาที ประเทศลังกาเดินทางกลับ

เจ้าเมืองมาเก๊า ส่ งทูตเข้ามาถวายพระราชสาส์นและเครื องราชบรรณาการเพือเจริ ญทางพระราชไมตรี

   •   พ.ศ. 2362

                                 ้
หมอจัสลิส มิชชันนารี ประจําย่างกุง หล่อตัวพิมพ์อกษรไทยเป็ นครังแรก
                                                ั

   •   พ.ศ. 2363

ฉลองวัดอรุ ณราชวราราม

สังคายนาบทสวดมนต์ภาษาไทยครังแรก ในประเทศไทย

โปรตุเกสตังสถานกงสุ ลในกรุ งเทพฯ นับเป็ นสถานกงสุ ลต่างชาติแห่งแรกของสยาม

   •   พ.ศ. 2365
เซอร์ จอห์น ครอฟอร์ ด เป็ นทูตเข้ามาเจริ ญพระราชไมตรี

    •   พ.ศ. 2367

        เสด็จสวรรคต

ราชตระกูล




    พระราชตระกูลในสามรุ่ นของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย




                                                                             พระปั ยกาฝ่ าย
                                                                             พระชนก:
                                                        พระอัยกาฝ่ ายพระ     พระยาราชนิกล   ู
                                                        ชนก:                 (ทองคํา)
                                                        สมเด็จพระปฐมบรม
                                                        มหาชนก           พระปั ยยิกาฝ่ าย
                                                                         พระชนก:
                        พระชนก:                                          ไม่มีขอมูล
                                                                               ้
    พระบาทสมเด็จพระพุทธ
                        พระบาทสมเด็จพระพุทธ
    เลิศหล้านภาลัย
                        ยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช
                                                                             พระปั ยกาฝ่ าย
                                                                             พระชนก:
                                                        พระอัยยิกาฝ่ ายพระ   ไม่มีขอมูล
                                                                                   ้
                                                        ชนก:
                                                        พระอัครมเหสี หยก     พระปั ยยิกาฝ่ าย
                                                                             พระชนก:
                                                                             ไม่มีขอมูล
                                                                                   ้
พระปั ยกาฝ่ าย
                                                                                  พระชนนี:
                                                           พระอัยกาฝ่ าย          ไม่มีขอมูล
                                                                                        ้
                                                           พระชนนี:
                                                           พระชนกทอง              พระปั ยยิกาฝ่ าย
                                                                                  พระชนนี:
                               พระชนนี:                                           ไม่มีขอมูล
                                                                                        ้
                               สมเด็จพระอมริ นทราบรม
                               ราชินี                                             พระปั ยกาฝ่ าย
                                                                                  พระชนนี:
                                                           พระอัยยิกาฝ่ าย        ไม่มีขอมูล
                                                                                        ้
                                                           พระชนนี:
                                                           สมเด็จพระรู ปศิริ
                                                           โสภาค มหานาคนารี พระปั ยยิกาฝ่ าย
                                                                             พระชนนี:
                                                                             ไม่มีขอมูล
                                                                                   ้


พระราชประวัติ

        พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า
จุฬาโลกมหาราช และสมเด็จพระอมริ นทราบรมราชินี ทรงมีพระนามเดิมว่า ฉิ ม พระราชสมภพเมือวันที 24
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2311 ณ ตําบลอัมพวา เมืองสมุทรสาคร ในขณะนันพระราชบิดายังทรงดํารงพระยศเป็ น
หลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ต่อมาพระราชบิดาได้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในสมเด็จพระ
เจ้าตากสิ น แห่งกรุ งธนบุรี จึงได้ยายครอบครัวเข้ามาอยู่ ณ บริ เวณด้านใต้ของวัดระฆังโฆษิตาราม บ้านเดิมที
                                   ้
อัมพวาจึงว่างลง เมือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึนครองราชสมบัติแล้วนัน ทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าฯ อุทิศทีดินบริ เวณบ้านเดิมนัน สร้างเป็ นวัด ชือ วัดอัมพวันเจดิยาร

         ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ด้วยสํานึกในพระมหากรุ ณาธิ คุณในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวันเจติยาราม พระคุณเจ้าพระราชสมุทรเมธี ได้อุทิศทีดินบริ เวณวัดจํานวน 10 ไร่
    ั
ให้กบมูลนิธิพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้ดาเนินการก่อสร้างอุทยานพระบรมราชานุสรณ์
                                                      ํ
รัชกาลที 2 ขึน เพือเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ในสมัยรัชกาลที 2 โดยมีพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ เป็ นองค์
ประธานมูลนิธิฯ เมือพระราชบิดาย้ายเข้ามารับราชการ ทรงได้เข้ารับการศึกษาจากวัดระฆังโฆษิตาราม โดย
                  ั                 ่
ฝากตัวเป็ นศิษย์กบพระวันรัต (ทองอยู) เมือครังพระชนมายุได้ 8 พรรษา ได้โดยเสด็จพระราชบิดา ไป
ราชการสงครามด้วย เมือพระชนมายุได้ 16 พรรษา พระราชบิดาได้ปราบดาภิเษกขึนเป็ นพระมหากษัตริ ย ์
พระนาว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก” จึงได้รับการสถาปนาพระยศขึนเป็ น สมเด็จพระเจ้า
ลูกเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิสรสุ นทร เมือประชนมายุครบ 22 พรรษา ทรงผนวช ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม
                                                                                   ่
ในพระบรมมหาราชวัง และเสด็จไปจําพรรษาทีวัดสมอราย (วัดราชาธิ วาส) ทรงจําพรรษาอยูนาน 3 เดือน (1
พรรษา) จึงทรงลาผนวช

         ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเลือนยศขึนเป็ น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เมือปี พ.ศ. 2349
หลังจากนันอีกเพียง 2 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เสด็จสวรรคต กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคลซึ งในขณะนันมีพระชนมายุได้ 42 พรรษา จึงได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็ น
                           ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวรัชกาลที 2 แห่งราชวงศ์จกร ทรงมีพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระบรม
                                                   ั
ราชาธิ ราช รามาธิ บดีศรี สุนทรบรมมหาจักรพรรดิ ราชาธิ บดินทร์ ธรณิ ณทราธิ ราช วัฒนากาศวราชวงศ์
สมุทยโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิ เบนทร์ สุ ริเยนทราธิ บดินทร์ ธาดาธิ บดีศรี สุวบูลย์คุณอกนิฐฤทธิ ราเมศวรหันต์
    ั                                                                    ิ
บรมธรามิกราชาธิ เบศร์ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎ ประเทศคตามหาพุทยางกูรบรมบพิตร” หรื อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมือวันที 7 กันยาน พ.ศ. 2352

       พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระอัครมเหสี พระนามว่า “สมเด็จพระศรี สุริเยนท
รา บรมราชินี” ทรงพระนามเดิมว่า บุญรอด พระธิ ดาในพระเจ้าพีนางเธอสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระศรี สุดารักษ์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระราชโอรสและพระธิ ดารวม 73 พระองค์ โดยประสู ติใน
พระมเหสี 3 พระองค์ ได้แก่

        1. เจ้าฟ้ าชายราชกุมาร สิ นพระชนม์ในวันประสู ติ

                                                                                            ่ ั
       2. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายมงกุฎ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึนเป็ น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว
รัชกาลที4

                                                                                              ่ ั
      3. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายจุฑามณี ต่อมาได้รับการสถาปนาขึนเป็ น พระบาทสมเด็จพระปิ นเกล้าเจ้าอยูหว
พระมหาอุปราชาใน รัชกาลที 4 และได้ประสู ติในเจ้าจอมมารดาเรี ยม พระสนมเอก 3 พระองค์ ได้แก่

    •                                                                                   ่ ั
        1. พระองค์เจ้าชายทับ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึนเป็ น พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว
        รัชกาลที 3

    •   2. พระองค์เจ้าชายป้ อม สิ นพระชนม์ตงแต่ทรงพระเยาว์
                                           ั
•   3. พระองค์เจ้าชายหนูดา สิ นพระชนม์ตงแต่ทรงพระเยาว์
                             ํ             ั

         พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเสด็จครองราชสมบัติอยูจน พ.ศ. 2367 รวมครองอยู่
                                                                         ่
ในสิ ริราชสมบัตินาน 15 ปี ก็ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้ มิได้รู้สึกพระองค์จึงไม่ได้ทรงพระราชทานราช
สมบัติให้แก่ผใด ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้อยู่ 3 วัน ก็เสด็จสวรรคต
             ู้

พระราชกรณี ยกิจในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

การทํานุบารุ งประเทศ
         ํ

          ด้วยในระยะแรกของการก่อตังกรุ งรัตนโกสิ นทร์ พม่ายังคงรุ กรานประเทศไทยอย่างต่อเนื อง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองและป้ อมปราการต่าง ๆ ขึน เพือให้
เป็ นเมืองหน้าด่านคอยป้ องกันข้าศึกทีจะยกเข้ามาทางทะเล ทีเมืองสมุทรปราการ และทีเมืองปากลัดโดยทรง
มีพระราชบัญชาให้กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ เป็ นแม่กองสร้าง เมืองนครเขือนขันธ์ขึนทีปากลัด
(ปั จจุบน คือ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ) พร้อมป้ อมปี ศาจผีสิง ป้ อมราหู และป้ อมศัตรู พินาศ แล้ว
        ั
                                                           ่
โปรดเกล้าฯ ให้อพยพครอบครัวชาวมอญจากปทุมธานีมาอยูทีนครเขือนขันธ์ นอกจากนียังทรงให้กรมหมืน
มหาเจษฏาบดินทร์ เป็ นแม่กองจัดสร้าง ป้ อมผีเสื อสมุทร ป้ อมประโคนชัย ป้ อมนารายณ์ปราศึก ป้ อมปราการ
ป้ อมกายสิ ทธิ ขึนทีเมืองสมุทรปราการ และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมืนศักดิพลเสพย์ไปคุม
งานก่อสร้างป้ อมเพชรหึ งส์เพิมเติม ทีเมืองนครเขือนขันธ์ การสร้างเมืองหน้าด่านและป้ อมปราการต่าง ๆ
ขึนมามากมาย ด้วยการทีจะป้ องกันมิให้ขาศึกเข้ามาถึงพระนครได้โดยง่าย ถือว่าทรงมีสายพระเนตรทียาว
                                         ้
ไกล

ด้านการป้ องกันประเทศ

         ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พม่าได้ยกทัพเข้ามาตีไทยหลายครังเริ ม
ตังแต่เมือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จเสวยราชย์ได้เพียง 2 เดือน ในขณะนันกาตริ ยพม่า์
พระเจ้าปดุงได้แต่งตังแม่ทพพม่า 2 นาย คือ แม่ทพเรื ออะเติงหงุ่นยกทัพเรื อเข้ามาตีประเทศไทยทางหัวเมือง
                         ั                    ั
ชายทะเลทางด้านตะวันตก และสามารถตีได้เมืองตะกัวทุ่งและตะกัวป่ า และได้ลอมเมืองถลางไว้ก่อนที
                                                                              ้
กองทัพไทยจะยกลงไปช่วย แต่เมือกองทัพไทยได้ยกลงไปช่วยก็สามารถพม่าแตกพ่ายไป ส่ วนทางด้านทัพ
บก พระเจ้าปดุงได้แต่งตังแม่ทพสุ เรี ยงสาระยอ ยกกําลังมาทางบก เพือเข้าตีหวเมืองทางด้านทิศใต้ของไทย
                             ั                                            ั
และสามารถตีได้เมืองมะลิวน ระนองและกระบี พระบาทสมเด้จพระพุทะเลิศหล้านภาลัยได้ส่งกองทัพและ
                           ั
เกิดปะทะกับกองทัพทียกลงไปช่วย ทหารพม่าสู ้กาลังฝ่ ายไทยไม่ได้ก็แตกถอยหนีกลับไป
                                                ํ
ต่อมาเมือ พ.ศ. 2363 พระเจ้าปดุงกษัตริ ยได้เสด็จสวรรคต พระเจ้าจักกายแมงได้สืบราชสมบัติต่อ
                                               ์
จากพระเจ้าปดุง ก็คิดจะยกทัพมาตีไทยอีกโดยสมคบกับพระยาไทรบุรี ซึ งเปลียนใจไปเข้ากับฝ่ ายพม่า แต่
เมีอทราบว่าฝ่ ายไทยจัดกําลังทัพไปเตรี ยมรับศึกอย่างแข็งขันตามช่องทางทีพม่ายกเข้ามาพม่าเกิดกลัวว่าจะ
                                      ั
รบแพ้ไทย จึงยุติไม่ยกทัพเข้ามา พอดีกบพม่าติดการสงครามกับอังกฤษจึงหมดโอกาสทีจะมาตีไทยอีก



ด้านการปกครอง

           พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงบริ หารบ้านเมือง โดยการให้เจ้านายรับหน้าทีในการ
บริ หารงานราชการในกรมกองต่าง ๆ เท่ากับเป็ นการให้เสนาบดีได้มีการปรึ กษาข้อราชการก่อนทีจะนําความ
                                          ่
ขึนกราบบังคมทูล ทังยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ผอนผันการเข้ารับราชการของพลเมืองชาย เหลือเพียงปี ละ 3
เดือน (เข้ารับราชการ 1 เดือน แล้วไปพักประกอบอาชีพส่ วนตัวอีก 3 เดือน สลับกันไป) นอกจากนียังทรง
รวบรวมพลเมืองให้เป็ นปึ กแผ่นมีหน่วยราชการสังกัดแน่นอก โดยพระราชทานโอกาสให้ประชาชน
สามารถเลือกหน่วยราชการทีสังกัดได้ พระองค์ยงได้ทรงทํานุบารุ งส่ งเสริ มข้าราชการทีมีความรู
                                              ั           ํ
ความสามารถได้มีโอกาสปฏิบติหน้าทีราชการทีตนถนัด ในรัชกาลนีจึงปรากฎพระนามและนามข้าราชการ
                              ั
ทีมีชือเสี ยงหลายท่าน เช่น สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ เจ้าฟ้ ากรมหลวงพิทกษ์มนตรี กกรมหมืน
                                                                               ั
เจษฎาบดินทร์ เจ้าพระยาศรี ธรรมาโศกราช (น้อย ณ นคร) ขุนสุ นทรโวหาร (ภู่) เป็ นต้น

         และด้วยทรงมีพระราชประสงค์ให้พลเรื อนของพระองค์เป็ นคนดี มีคุณภาพ จึงได้ทรงออก
พระราชบัญญัติ เรื อง ห้างเลียงไก่ นก ปลากัด ไว้ชนและกัดเพือการพนัน กับออกพระราชกําหนดห้าใสุ บฝิ น
ขายฝิ น ซื อฝิ น พร้อมทรงกําหนดบทลงโทษผูฝ่าฝื น ทําให้ประเทศไทยไม่เกิดสงครามฝิ นแบบต่างชาติ
                                            ้

       ในช่วงทีทรงขึนครองราชสมบัติใหม่ ๆ นัน สมเด็จเจ้าฟ้ าชายสุ พนธุ วงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต ราช
                                                                  ั
โอรสในพระเจ้าตากสิ นมหาราชกับพวก ซึ งได้แก่ เจ้าพระยาพนเทพ บุนนาค) โอรสทัง 6 พระองค์ของกรม
ขุนกษัตรานุชิต รวมทังพระราชโอรส กับพระราชธิ ดาอีกหลายพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช
คิดกบฎชิงราชสมบัติ ทรงโปรดให้ทาการสอบสวนเมือปรากฎว่ามีความผิดจริ ง จึงรับสังให้ประหารชีวิตเสี ย
                               ํ
ทังหมด
รัชกาลที 2
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ประสู ติ พ.ศ. 2310 ครองราชย์ พ.ศ 2353 – พ.ศ. 2367
                               ศ.

พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็ นกษัตริ ยไทยพระองค์ที 2 แห่งราชวงศ์จกรี
                                                       ์                          ั
ทรงประสู ติรเมือ 24 กุมภาพันธ์ พ..ศ. 2310 ตรงกับวันพุธ
ขึน 7 คํา เดือน 3 ปี กุน มีพระนามเดิมว่า “ฉิ ม” พระองค์ทรงเป็ นพระบรมราชโอรสองค์ที 4 ใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก กับกรม
สมเด็จพระอมริ นทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพนปี หลวง ประสู ติ ณ บ้านอัมพวา แขวงเมือง
                                               ั
สมุทรสงคราม ขณะนันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า
จุฬาโลกเป็ นหลวงยกพระบัตรเมืองราชบุรี
พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ได้ทรงปราบดาภิเษกเป็ นปฐมกษัตริ ยแห่งพระราชวงศ์
              ระบาทสมเด็                                                            ์
จักรี ขณะนันพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระชนมายุ 16 พรรษา พระราชบิดาจึงโปรด
สถาปนาให้ดารงพระยศเป็ น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศราสุ นทร ครังมีพระชนมา สมควร
               ํ                                                                 พระชนมายุ
ทีจะได้รับการอุปสมบท
พระราชบิดาได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้อุปสมบท ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม แล้วเสด็จไปจําพรรษา ณ วัด
สมอราย
ตลอดรัชกาลที 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โดยเสด็จพระราชบิดาไปในการสงครามทุก
ครัง เมือพระชนมายุได้ 41 พรรษา พระราชบิดาได้ทรงสถาปนาให้ดารงพระยศเป็ น “พระมหาอุปราชกรม
                                                                  ํ           พระมหาอุ
พระราชวังบวรสถานมงคล” ดํารงพระเกียรติยศเป็ น พระมหาอุปราช อยู่ 3 ปี ครังถึงปี พ.ศ. 2352
                                                                                 พ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต พระองค์จึงเสด็จขึนครองราชย์ นับเป็ นองค์ที 2 แห่ง
พระบรมราชจักรี วงศ์ ทรงพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย” ทรงครองราชย์อยู่ 15 ปี
ครังถึงปี พ.ศ. 2367 ได้เสด็จสวรรคต เมือพระชนมายุได้ 56 พรรษา กับ 5 เดือน
พระบรมราชสัญลักษณ์ประจํารัชกาลที 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ใช้รูป ครุ ฑ (ฉิ มพลี
เป็ นชือวิมานพญาครุ ฑ ซึงพร้องกับชือเดิมของพระองค์ท่านว่า “ฉิ ม”)
พระราชกรณี ยกิจทีสําคัญ
๏ พ.ศ. 2357 ได้ ส่ งพระสงฆ์ไปลังกาทวีป เพือเจริ ญทางไมตรี การเดินทางไปครังนีได้ผลดียง เมือคณะทูต
                                                                                      ิ
กลับมาแล้วได้นาแบบอย่างแนวปฏิบติของสงฆ์ในลักามาเผยแพร่ ดวย และตังคณะสงฆ์ ธรรมยุตินิกาย ขีน
                 ํ                  ั                           ้
(ส่ วนคณะสงฆ์ทีปฏิบติแบบเดิมเรี ยกว่า “มหานิกาย”
 ส่                    ั
๏ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงได้ชางเผือกมาสู่ พระบารมีถึง 3 เชือก คือ พระยา
                                                           ้
เสวตรกุญชร พระยาเสวตรไอยรา พระยาเสวตรคชลักษณ์ ตามโบราณราชประเพณี วา การมีชางเผือกมาสู่
                                                                               ่        ้
พระบารมีนน เป็ นการเพิมพูนพระเกียรติยศ เป็ นบารมีอนสู งสุ ด พระบาทสมเด็จพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรง
               ั                                         ั
ได้รับการถวายพระนามว่า “พระเจ้าช้างเผือก”
๏ จากการทีมีชางเผือกมาสู่ พระบารมีถึง 3 เชื อก พระบาทสมเด็จพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงได้โปรดให้ใช้ธง
                  ้
                                                                      ่
ซึ งชักในเรื อกําปั นหลวง ทีแต่งไปค้าขายยังนานาประเทศเป็ น รู ปช้างอยูกลางกรงจักรสี ขาว บนผืนธงสี แดง
แล้วเรี ยกว่า “ธงช้างเผือก”
ให้เป็ นธงชาติประจําประเทศเป็ นครังแรก
๏ พ.ศ. 2360 ได้มีพระราชดําริ กบสมเด็จพระสังฆราช (มี) ให้ทาพิธี วันวิสาขบูชา กลางเดือน 6 นับเป็ น
                                                                ํ
ครังแรกทีได้มีพิธีดงกล่าวขึนในประเทศไทย
                      ั
๏ ทรงบูรณะปฏิสังขร วัดแจ้ง ซึ งสร้างมาตังแต่สมัยรัชกาลที 1 จนแล้วเสร็ จ และได้พระราชทานนามใหม่วา       ่
“วัดอรุ ณราชธาราม” (ต่อมาในรัชกาลที 4 ได้ทรงเปลียนใหม่เป็ น “วัดอรุ ณราชวราราม”
๏ พ.ศ. 2363 เจ้าเมืองมาเก๊ามีหนังสื อเข้ามาขอต่อ เรื อกําปั น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระราชทานบรมราชานุญาตให้ต่อเรื อกําปั นขึนหน้าบ้านกงศุล นับเป็ นการต่อเรื อกําปั นเป็ นครังแรกของ
ไทย
                               ั
๏ กัปตันเฮล พ่อค้าชาวอเมริ กน ได้นาปื นคาบศิลา เข้ามาถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้
                                      ํ
เป็ นกําลังของแผ่นดิน จึงทรงโปรดให้ตงเป็ น หลวงภักดีราชกัปตัน ๏ พ.ศ. 2365 อังกฤษได้ส่งทูตชือ
                                         ั
จอห์น ครอเฟิ ต เข้า
มาเจริ ญสัมพันธไมตรี การเข้ามาของจอห์น ครอเฟิ ต ในครังนีไม่เป็ นผล เพราะจอห์น ครอเฟิ ต แสดงกิริยา
ไม่เหมาะสม ดูถูกดูหมิน
คนไทย เอาเปรี ยบในการเจรจา และทีสําคัญคือทังสองฝ่ ายไม่เข้าใจในภาษาซึ งกันและกัน อีกประการหนึง
คือ จอห์น ครอเฟิ ต ได้จดทํา
                          ั
แผนทีกรุ งเทพมหานคร ทําให้เกิดความระแวงว่าจอห์น ครอเฟิ ต จะเป็ นไส้ศึกเข้ามาลวงความลับของไทย
จึงได้ไล่จอห์น ครอเฟิ ต ออก
นอกประเทศ ถึงอย่างไรก็ตามการทําแผนทีกรุ งเทพมหานครของจอห์น ครอเฟิ ด นับว่าเป็ นการทําแผนที
ครังแรกของไทย
ด้านศิลปและวรรณกรรม
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็ นระยะเวลาทีบ้านเมืองเป็ นปกติสุข การศึกสงครามกับ
ประเทศเพือนบ้านมีบางในต้นรัชกาล แต่เป็ นศึกทีไม่ใหญ่หลวงนัก และด้วยพระปรี ชาสามารถของพระองค์
                        ้
ทีทรงพยายามระงับข้อขัดแย้งต่างๆ จึงทําให้การศึกสงครามกับประเทศเพือนบ้านสงบลงได้โดยสันติ เมือ
บ้านเมืองสงบสุ ข พระองค์จึงทรงมีเวลาเพือทะนุบารุ งบ้านเมืองให้เจริ ญรุ่ งเรื องได้เต็มที โดยเฉพาะทางด้าน
                                                  ํ
ศิลปะวิทยาการ ซึ งเสื อมทรามมาตังแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยาถูกพม่าเผาทําลาย พระองค์จึงได้มุ่งทะนุบารุ งให้
                                                                                                 ํ
รุ่ งเรื องขึนใหม่ โดยทรงโปรดให้นกปราชญ์ ราชบัณฑิต ขุนนาง ข้าราชการ และกวี ร่ วมกันฟื นฟู
                                    ั
สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในทุกๆ ด้าน ศิลปกรรมในสมัยพระองค์จึงมีความงดงามเป็ นเลิศ และไม่
เพียงแต่จะเกิดประโยชน์ในแง่ทะนุบารุ งการช่างเท่านัน แต่ยงก่อให้เกิดประโยชน์ทางใจแก่บุคคลในชาติ
                                   ํ                    ั
                ่
ด้วย กล่าวได้วา ในรัชสมัยของพระองค์นนนับว่าเป็ น ยุดทองของศิลปกรรมสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ใน
                                        ั
ทุกๆ ด้าน
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นับเป็ นยุดทีวรรณกรรมด้านร้อยกรองมีความเจริ ญสู งสุ ด
เนืองจากในสมัยนีมีกวีเอกหลายท่าน ได้เขียนผลงานทางวรรณกรรมทีมีคุณค่าไว้หลายเล่ม เช่น
๏ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
- บทละครเรื อง รามเกียรติ
- บทละครเรื อง อิเหนา (ได้รับยกย่องเป็ นบทละครทีไพเราะทีสุ ด)
- บทละครเรื อง สังข์ทอง
- บทละครเรื อง ไกรทอง
- บทละครเรื อง คาวี
- บทละครเสภาเรื อง ขุนช้าง-ขุนแผน (ได้รับยกย่องเป็ นยอดคํากลอนสุ ภาพ)
- กาพย์เห่เรื อ
- บทพากย์โขน




๏ กวีสาคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เช่น
       ํ
- สุ นทรภู่ กวีเอกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เกิดเมือวันที 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก เมือเยาว์วย สุ นทรภู่ได้รับการศึกษาทีวัดชีปะขาว (วัดศรี
                                                        ั
สุ ดาราม) เมือจบการศึกษา เริ มออก
ทํางานเป็ นเสมียนนายระวาง กรมพระคลังสวน แล้วกลับมาเป็ นมหาดเล็กในกรมพระราชวังหลัง ในสมัย
รัชกาลที 2 สุ นทรภู่กลับเข้ารับราชการ
อีกครัง ได้ตาแหน่งเป็ นขุนสุ นทรโวหาร กวีประจําราชสํานัก ในสมัยรัชกาลที 3 สุ นทรภู่ลาออกจาก
             ํ
ราชการและออกบวช ระเหเร่ ร่อนไปตามที
ต่างๆ ต่อมาได้รับการอุปถัมภ็จากพระองค์เจ้าลักขณะนุคุณ และกรมหมืนอัปสรสุ ดาเทพ ครันถึงสมัย
รัชกาลที 4 สุ นทรภู่กลับเข้ารับราชการอีกครัง
ในตําแหน่งพระสุ นทรโวหาร เจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ ายพระราชวังบวร จนถึง พ.ศ. 2398 สุ นทรภู่ก็ถึงแก่
กรรม รวมอายุได้ 79 ปี
ช่วงเวลาทีสุ นทรภู่มีชีวิตอยู่ ได้สร้างผลงานทางกวีไว้มากมาย ทังประเภทนิ ราศ นิทานคํากลอน สุ ภาษิต
บทละคร เสภา
หนังสื อแบบเรี ยน และบทเห่ กล่อมพระบรรทม แต่ผลงานทีมีคุณค่า และเป็ นทีรู ้จกกันแพร่ หลายทีสุ ดคือ
                                                                               ั
นิทานกํากลอนเรื อง พระอภัยมณี เป็ นการ
คิดผูกเรื องขึนมาด้วยตนเอง เป็ นนิทานทีรวมไว้ซึงความแปลกใหม่ และให้คุณค่าในด้านต่างๆ ไม่วาจะเป็ น ่
คุณค่าในด้านวรรณกรรมหรื อด้านการสังสอนอบรม นิทานเรื องนีได้รับการยกย่องว่า เป็ น ยอดของนิทาน
คํากลอน ปั จจุบนสุ นทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็ น กวีเอกของโลก และหนังสื อพระอภัยมณี ได้รับเกียรติ
                      ั
ให้เป็ น วรรณคดีเอกของโลก ด้วย
วรรณคดีไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยเฉพาะละครคํากลอน ได้เจริ ญเฟื องฟู
อย่างยิง ราชสํานักของพระองค์เป็ นทีชุมนุมของกวี นักปราชญ์ สําหรับพระองค์ก็ทรงสนพระหทัยและ
สนับสนุนด้านการละครอย่างมาก โดยทรงโปรดให้หดตัวละครรุ่ นใหม่ๆ ขึน บทละครบางเรื องทรงพระ
                                                         ั
ราชนิพนธ์ขึนเพือให้ใช้สาหรับเล่นละคร ในการทรงบทละครนัน ทรงเลือกสรรเจ้านายและข้าราชการทีเป็ น
                           ํ
กวี ชํานาญกลอนไว้สาหรับทรงปรึ กษา เช่น กรมหมึนเจษฎาบดินทร์ เจ้าฟ้ ากรมหลวงพิทกษ์มนตรี และขุน
                        ํ                                                               ั
สุ นทรโวหาร บทละครใดทีไม่ได้พระราชนิพนธ์ดวยพระองค์เอง ก็จะพระราชทานให้กวีทีปรึ กษานําไป
                                                       ้
แต่ง ตอนใดทีทรงพระราชนิ พนธิ หรื อกวีทีนาไปแต่งแล้วนํามาถวาย ก็จะนํามาอ่านหน้าพระทีนังในที
                                                ํ
ประชุมกวีเพือช่วยกันแก้ไข
๏ ผลงานด้านศิลปกรรมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทีมีงดงาม วิจิตรบรรจง เป็ นเลิศ
คือ บานประตูพระวิหาร วัดสุ ทศน์เทพวราราม ซึ งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงแกะสลัก
                                  ั
ร่ วมกับช่างฝี มือเยียมในสมัยนัน โดยมีกรมหมืนจิตรภักดี เป็ นนายงาน บานประตูพระวิหารนี แกะเป็ นรู ป
ป่ า เขา ลําเนาไพร และสัตว์นานาชนิด อย่างมีชีวตชีวา เป็ นการแกะสลักแบบลอยตัว คือมองเห็นได้
                                                     ิ
โดยรอบ สมดังทีทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในเรื องอิเหนาว่า
“ ฉลักรู ปสิ งสัตว์นานา                  ดุนเด่นออกมาเหมือนจริ ง
ทังเนือนกดังเป็ นเห็นประหลาด                      พฤษชาติเหมือนจะไหวไกวกิง
อันรู ปเสื อสี ห์หมีกระทิง                        เหมือนจะย่างวางวิงเวียนวน”
ปั จจุบนบานประตูพระวิหารนีได้ถูกไฟไห้มไปด้านหนึง กรมศิลปกรจึงถอดไปเก็บรักษาไว้ทีพิพิธภัณฑ์
        ั
สถานแห่งชาติ
ภาษีอากร
ภาษีอากรเป็ นรายได้ของแผ่นดินในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ซึ งยังคงใช้แบบอย่างจากกรุ งศรี อยุธยา โดย
จัดแบ่งประเภทของภาษีอากรออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี
1. จังกอบ คือ ภาษีค่าผ่านด่านทีเก็บจากเรื อ เกียน หรื อเครื องบรรทุกอืนๆ ทีผ่านด่านทีตังไว้เป็ นจุดๆ ใน
อัตรา 10 หยิบ 1 โดยหักจากสิ นค้าทีบรรทุกผ่านมา
2. อากร คือ ภาษีทีเก็บจากราษฎรทีประกอบอาชีพทีมิใช่การค้า ซึ งโดยปกติจะเรี ยกตามอาชีพทีทํา เช่น
อากรค่านา อากรค่าสวน อากรสุ รา อากรบ่อนเบีย การทําสวนผลไม้ชนดี จะเก็บเป็ น อากรพลากร การทํา
                                                                       ั
สวนผลไม้ชนรองลงมาจะเก็บเป็ น อากรสมพัตสร หรื อการทําสวนทัวไป
              ั
3. ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมทีเก็บจากการไปใช้บริ การกับทางราชการ หรื องานทีราชการทําให้ราษฎร เช่น การ
ออกโฉนดตราสาร ธรรมเนี ยมศาล เป็ นต้น
4. ส่ วย คือ เงินหรื อสิ งของทีไพร่ หลวงผูไม่ตองการเข้าเวรรับราชการ ส่ งมาให้แทนการเข้าเวรประจําการ
                                          ้ ้
ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น กําหนดให้ไพร่ หลวง เข้าเวร รับราชการติดต่อกันเป็ นเวลา 3 เดือน หากผูใด    ้
ไม่ประสงค์จะเข้าเวรรับราชการ ก็ตองส่ งส่ วย ในอัตราเดือนละ 6 บาท ปี หนึง 18 บาท หรื อจะส่ งเป็ น
                                      ้
สิ งของ เช่น มูลค้างคาว ดีบุก เกืลอสิ นเธาว์ และของป่ ามีค่าต่างๆ ตามทีกําหนดไว้ก็ได้
5. ภาษีเบิกร่ อง (ภาษีปากเรื อ) คือ ภาษีทีเก็บจากเรื อสิ นค้าต่างประเทศทีเข้ามาค้าขาย ติดต่อกับไทย โดย
คิดอัตราตามขนาดความกว้างของปากเรื อ หรื อยานพาหนะทีบรรทุมา โดยไม่ได้คิดถึงปริ มาณหรื อราคาของ
สิ นค้า อัตราภาษีเบิกร่ องคิดเป็ นวา วาละ 80 บาท
การค้าขาย
การค้าขายในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น สิ นค้าทีทําการซื อขายกันระหว่างกรมพระคลังสิ นค้า กับ บรรดา
พ่อค้า อาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1.สิ นค้าผูกขาด เป็ นสิ นค้าทีกรมพระคลังสิ นค้าเท่านัน ทีจะมีสิทธิ ใน
การซื อและการขาย แต่เพียงผูเ้ ดียว เช่น ยาง ดีบุก ลูกกระวาน ตะกัว รง นอแรด งาช้าง พริ กไทย กํายาน
ยางกฤษณา เป็ นต้น 2.สิ นค้าต้องห้าม เป็ นสิ นค้าทีชาวต่างประเทศจะต้องนํามาขายให้กบกรมพระ ั
คลังสิ นค้าเท่านัน จะนําไปขายให้ไพร่ หรื อบุคคลอืนๆ โดยตรงไม่ได้ หากสิ นค้านันกรมพระคลังสิ นค้าไม่
ซื อไว้ ก็ตองนํากลับออกไปนอกประเทศ เช่น ดินปื นและอาวุธ เป็ นต้น
           ้
๏ แฝดสยาม พ.ศ. 2354 นางนกหญิง ลูกครี งชาวเมืองสมุทรสงคราม ได้คลอดทารกแฝดเพศชาย ชือ อิน
– จัน เด็กฝาแฝดทังสองมีลกษณะร่ างกายปกติเหมือนคนธรรมดาทัวไป มีอวัยวะครบ 32 ประการทังสองคน
                             ั
เพียงแต่บริ เวณหน้าท้องของทังสองคนติดกัน จะไปไหนมาไหน จะทําอะไร ก็ตองทําพร้อมกัน อิน-จัน ได้
                                                                                 ้
                                                                               ่
ถูกพ่อค้าชาวอเมริ กาซือตัวไปตะเวรออกโชว์ในอเมริ กาตังแต่อายุ 18 ปี และอยูทีอเมริ กาจนเสี ยชีวตเมือปี
                                                                                                ิ
พ.ศ. 2417 ต่อมาวงการแพทย์ได้ตงซื อแฝดลักษณะแบบ อิน-จัน นีว่า “แฝดสยาม”
                                    ั
สวรรตต
พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประชวรอยู่ 8 วัน ครังถึงวันพุธ เดือน 8 แรม 11 คํา
จึงเสด็จสวรรคต รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา
บรรณานุกรม

รัตนโกสิ นทร์ .//รัตนโกสิ นทร์ .//พระราชประวัติรัชกาลที2.//กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
             โรงเรี ยนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่.//<www.Wattano.ac.th>16/07/2554
mahamakuta.inet.co.th/buddhism/rama/rama2.html

More Related Content

What's hot

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่Ppt Itwc
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลchanaporn sornnuwat
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมDos Zaa
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรีSumintra Boonsri
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชChoengchai Rattanachai
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย009kkk
 

What's hot (20)

สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 

Viewers also liked

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières21samuel
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...Nicodeme Feuwo
 

Viewers also liked (19)

แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
 
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
งานพี่มอส
งานพี่มอสงานพี่มอส
งานพี่มอส
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
งานกานา
งานกานางานกานา
งานกานา
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
 
เยอรมันนี
เยอรมันนีเยอรมันนี
เยอรมันนี
 
ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
เรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตรเรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตร
 
ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
เชียงราย
เชียงรายเชียงราย
เชียงราย
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
 

Similar to งาน ปุ๋ย

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302chindekthai01
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยchickyshare
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 

Similar to งาน ปุ๋ย (20)

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

งาน ปุ๋ย

  • 1. พระพทธเลิศ ุ หล้ านภาลัย
  • 2. รายงาน วิชา ประวัติศาสตร์ เรือง ประวัติพระพุทธเลิศหล้ านภาล้ ย จัดทําโดย นางสาวอาชิ ตา ประทุมชั ย เลขที 29 นางสาวณิชกานต์ จําปาบุรี เลขที นายวัฒนกูล วิเศษนันท์ เลขที 11 นางสาวสุ ชาดา หม่ องคําหมืน เลขที ชั น มัธยมศึกษาปี ที 5/2 เสนอ คุณครู สฤษศักดิ ชิ นเขมจารี คุณครู ทปรึกษา ี คุณครู อมรเทพ สุ่ มมาตย์ คุณครู กฤษณา สิ งห์ คํา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด
  • 3. คํานํา รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชา ประวัติศาสตร์ และกลุ่มดิฉนได้จดทํารายงานขึนก็เพือได้ให้ทุก ั ั คนได้ศึกษาหาความรู ้เกียวกับประวัติของพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและได้คนคว้าจากห้องสมุดโรงเรี ยนเพือ ้ หาข้อมูลเพือมารายงานและหากรายงานเล่มนีมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี ้ จัดทําโดย คณะผูจดทํา ้ั ชันมัธยมศึกษาปี ที5/2 สารบัญ เรือง หน้ า
  • 4. - ประวัติพุทธเลิศหล้านภาลัย 1-2 - ปราบดาภิเษก 2 - พระราชลัญจกรประจําพระองค์ 2-4 - ลําดับประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญ ํ 4-7 - ราชตระกูล 7-8 - พระราชประวัติ 8-11 - การทํานุบารุ งประเทศ ํ 10-12 - รัชกาลที 12-16 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
  • 5. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอิศรสุ นทรฯ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310-21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายนพ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2367) รัชกาลที 2 แห่ง ราชวงศ์จกรี ั พระนามทีปรากฏ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนัน เพิงถวายพระนามเรี ยกเมือสมัย รัชกาลที 3 เนืองจากพระปรมาภิไธยทีจารึ กในพระสุ พรรณบัฏ ของรัชกาลที 1 และรัชกาลที 2 จะเหมือนกัน ทุกตัวอักษร เพราะในเวลานันยังไม่มีธรรมเนียมทีจะต้องมีพระปรมาภิไธยแตกต่างกันในแต่ละพระองค์ ่ จนถึงรัชกาลที 4 เป็ นต้นมา จึงทรงได้พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้บญญัติไว้วา ในแต่ละรัชกาลจะต้องมีพระ ั ปรมาภิไธยแตกต่างกัน เว้นแต่สร้อยพระปรมาภิไธยเท่านันทีอณุ โลมให้ซากันได้บาง ส่ วนคํานําหน้าพระ ํ ้ นาม รัชกาลที 4 ก็ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คาว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์ หรื อ ปรเมนทร์ เป็ นคํานําทังนี ํ ขึนอยูกบลําดับรัชกาลว่าจะเป็ นเลขคีหรื อเลขคู่ ่ ั เดิมทีเดียวคนสมัยก่อนมักเรี ยกรัชกาลที 1 ว่า แผ่นดินต้น และเรี ยกรัชกาลที 2 ว่า แผ่นดินกลาง เหตุ เพราะพระนามในพระสุ พรรณบัฎเหมือนกัน รัชกาลที 3 จึงไม่โปรดให้ใช้ตามอย่างรัชกาลที 1 และ 2 เพราะ เหตุเช่นนันจะทําให้ประชาชนสมัยนันเรี ยกว่าแผ่นดินปลาย ซึ งดูไม่เป็ นมงคล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระนามเดิมว่า ฉิ ม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวง อิศรสุ นทร) พระราชสมภพเมือ วันพุธ ขึน 7 คํา เดือน 4 ปี กุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ งตรงกับวันที 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 เป็ นพระราชโอรสพระองค์ที 4 ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก เสวยราชสมบัติ เมือ ปี มะเส็ ง ปี พ.ศ. 2352 - 2367 ขณะมีพระชนมายุได้ 42 พรรษาพระนามเต็ม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิ ราช รามาธิ บดี ศรี สินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิ บดินทร์ ธรณิ นทราธิ ราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิ เบศ ตรี ภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทยดโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิ เบนทร สุ ริเยนทราธิ บ ั ดินทร์ หริ หริ นทรา ธาดาธิ บดี ศรี วบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิ ราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิ ราชเดโชชัย ิ พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิ เบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรม บพิตร พระพุทธเจ้าอยูหว่ ั พระปรมาภิไธยทีจารึ กในพระสุ พรรณบัฏ ของรัชกาลที 1 และรัชกาลที 2 เหมือนกันทุกตัวอักษร เนืองจากในเวลานัน ยังไม่มีธรรมเนียม ทีจะต้องมีพระปรมาภิไธยแตกต่างกัน ในแต่ละพระองค์ จนใน ่ รัชกาลที 4 เป็ นต้นมาได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้บญญัติไว้วา ในแต่ละรัชกาลจะต้องมีพระปรมาภิไธย ั แตกต่างกัน เว้นแต่สร้อยพระปรมาภิไธยเท่านันทีอนุ โลมให้ซากันได้บาง ส่ วนคํานําหน้าพระนาม รัชกาลที ํ ้
  • 6. ่ ั 4 ก็ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คาว่า "พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์ หรื อปรเมนทร์ " เป็ นคํานําทังนีขึนอยูกบลําดับ ํ รัชกาลว่าจะเป็ นเลขคีหรื อเลขคู่ เดิมทีเดียวคนสมัยก่อนมักเรี ยกรัชกาลที 1 ว่าแผ่นดินต้น และเรี ยกรัชกาลที 2 ว่าแผ่นดินกลาง เหตุเพราะพระนามในพระสุ พรรณบัฎเหมือนกัน รัชกาลที 3 จึงไม่โปรดให้ใช้ตามอย่าง รัชกาลที 1 และ 2 เพราะเหตุเช่นนัน จะทําให้ประชาชนสมัยนันเรี ยกว่าแผ่นดินปลาย ซึ งดูไม่เป็ นมงคล ปราบดาภิเษก เมือถึงวันที 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคตด้วยพระ โรคชรา ขณะมีพระชนมายุได้ 73 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง 27 ปี พระบรมวงศานุ วงศ์ได้ทูลเชิญให้เสด็จปราบดาภิเษกเป็ นพระมหากษัตริ ยองค์ที 2 แห่งราชวงศ์จกรี ใช้พระนามเต็มว่า ์ ั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระปรี ชาสามารถ พระราชลัญจกรประจําพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระปรี ชาสามารถในศิลปกรรมด้านต่างๆ หลายสาขา ดังจะขอยกตัวอย่างต่อไปนี ด้านกวีนิพนธ์ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้รับการยกย่องว่า เป็ นยุคทองของ วรรณคดีสมัยหนึงเลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริ ญสู งสุ ด จนมีคากล่าวว่า "ในรัชกาลที 2 นัน ใครเป็ นกวีก็ ํ เป็ นคนโปรด" กวีทีมีชือเสี ยงนอกจากพระองค์เองแล้ว ยังมีกรมหมืนเจษฎาบดินทร์ (รัชกาลที 3) สมเด็จกรม พระปรมานุชิตชิโนรส สุ นทรภู่ พระยาตรัง และนายนริ นทรธิ เบศร์ (อิน) เป็ นต้น พระองค์มีพระราชนิพนธ์ที เป็ นบทกลอนมากมาย ทรงเป็ นยอดกวีดานการแต่งบทละครทังละครในและละครนอก มีหลายเรื องทีมีอยู่ ้ เดิมและทรงนํามาแต่งใหม่เพือให้ใช้ในการแสดงได้ เช่น รามเกียรติ อุณรุ ท และอิเหนา โดยเรื องอิเหนานี เรื องเดิมมีความยาวมาก ได้ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ตงแต่ตนจนจบ เป็ นเรื องยาวทีสุ ดของพระองค์ วรรณคดี ั ้ สโมสรในรัชกาลที 6 ได้ยกย่องให้เป็ นยอดบทละครรําทีแต่งดี ยอดเยียมทังเนื อความ ทํานองกลอนและ กระบวนการเล่นทังร้องและรํา นอกจากนียังมีละครนอกอืนๆ เช่น ไกรทอง สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ หลวิชยคาวี ั
  • 7. มณี พิชย สังข์ศิลป์ ชัย ได้ทรงเลือกเอาของเก่ามาทรงพระราชนิพนธ์ขึนใหม่บางตอน และยังทรงพระราช ั นิพนธ์บทพากย์โขนอีกหลายชุด เช่น ชุดนางลอย ชุดนาคบาศ และชุดพรหมาสตร์ ซึ งล้วนมีความไพเราะ ซาบซึ งเป็ นอมตะใช้แสดงมาจนทุกวันนี ด้านปฏิมากรรม /ประติมากรรม นอกจากจะทรงส่ งเสริ มงานช่างด้านหล่อพระพุทธรู ปแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ยังได้ทรงพระราชอุตสาหะปั นหุ่นพระพักตร์ ของพระพุทธธรรมิศรราชโลกธาตุดิลก พระประธานในพระ อุโบสถวัดอรุ ณราชวราราม อันเป็ นพระพุทธรู ปทีสําคัญยิงองค์หนึงไทยด้วยพระองค์เอง ซึ งลักษณะและ ทรวดทรงของพระพุทธรู ปองค์นีเป็ นแบบอย่างทีประดิษฐ์คิดค้นขึนใหม่ในรัชกาลที 2 นีเอง ส่ วนด้านการ ช่างฝี มือและการแกะสลักลวดลายในรัชกาลของพระองค์ได้มีความเจริ ญก้าวหน้าไปอย่างมาก และพระองค์ เองก็ทรงเป็ นช่างทังการปั นและการแกะสลักทีเชียวชาญยิงพระองค์หนึงอย่างยากทีจะหาผูใดทัดเทียมได้ ้ นอกจากฝี พระหัตถ์ในการปั นพระพักตร์ พระพุทธธรรมิศรราชโลกธาตุดิลกแล้ว ยังทรงแกะสลักบานประตู พระวิหารพระศรี ศากยมุนี วัดสุ ทศนเทพวราราม คู่หน้าด้วยพระองค์เองร่ วมกับกรมหมืนจิตรภักดี และทรง ั แกะหน้าหุ่นหน้าพระใหญ่และพระน้อยทีทําจากไม้รักคู่หนึงทีเรี ยกว่าพระยารักใหญ่ และพระยารักน้อยไว้ ด้วย ด้านดนตรี ่ กล่าวได้วา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงมีพระปรี ชาสามารถในด้านนีไม่นอยไป ้ กว่าด้านละครและฟ้ อนรํา เครื องดนตรี ทีทรงถนัดและโปรดปรานคือ ซอสามสาย ซึ งซอคู่พระหัตถ์ทีสําคัญ ได้พระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้ าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ทีมีชือเสี ยงเป็ นทีรู ้จกกันดีคือ "เพลงบุหลัน ั ลอยเลือน" หรื อ "บุหลัน (เลือน) ลอยฟ้ า" แต่ต่อมามักจะเรี ยกว่า "เพลงทรงพระสุ บิน" เพราะเพลงมีนีมี กําเนิดมาจากพระสุ บิน (ฝัน) ของพระองค์เอง โดยเล่ากันว่าคืนหนึงหลังจากได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จ เข้าทีบรรทมแล้วทรงพระสุ บินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนทีสวยงามดุจสวรรค์ ณ ทีนัน มีพระจันทร์ อน ั กระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสี ยงทิพยดนตรี อนไพเราะยิง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครัน ั ทรงตืนบรรทมก็ยงทรงจดจําเพลงนันได้ จึงได้เรี ยกพนักงานดนตรี มาต่อเพลงนันไว้ และทรงอนุญาตให้นา ั ํ ออกเผยแพร่ ได้ เพลงนีจึงเป็ นทีแพร่ หลายและรู ้จกกันกว้างขวางมาจนทุกวันนี ั เสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประชวรด้วยโรคพิษไข้ทรงไม่รู้สึกพระองค์เป็ นเวลา 8 วันก็เสด็จสวรรคต รวมสิ ริพระชนมายุได้ 57 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้ 15 ปี
  • 8. พระมเหสี พระราชโอรส พระราชธิ ดา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมี พระราชโอรส - พระราชธิ ดา รวมทังสิ น 73 พระองค์ โดยประสู ติเมือครังยังดํารงพระอิสริ ยยศเป็ นสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุ นทร 47 พระองค์ ประสู ติเมือดํารงพระอิสรยยศเป็ นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล 4 พระองค์ และประสู ติภายหลังบรม ราชาภิเษกเป็ นพระมหากษัตริ ยแล้ว 22 พระองค์ ์ ดูที พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิ ดา ในรัชกาลที 2 ลําดับประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญ ํ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีอุปราชาภิเษก ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าจุย ในรัชกาลที 1 ้ ขึนเป็ น สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุ รักษ์ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระมหาอุปราชเจ้า สถาปนาพระราชชนนีขึนเป็ น กรมสมเด็จพระอมริ นทรามาตย์ พระราชชนนีในรัชกาล 2 กรุ งสยามมีการเปลียนธงประจําชาติ จากธงแดง เป็ นธงช้าง มีลกษณะพืนสี แดง ตรงกลางเป็ น ั วงกลมสี ขาว มีรูปช้างเผือกสี ขาวภายในวงกลม แต่เมือจะใช้ชกเป็ นธงบนเรื อสิ นค้า ให้งดวงกลมออกเสี ย ั ่ เหลือแต่รูปช้างเผือกสี ขาวเท่านัน ดังนัน บันทึกทีพบในต่างประเทศจึงระบุวากรุ งสยาม ใช้ธงประจําชาติเป็ น รู ปช้างเผือกสี ขาวบนพืนแดง ดูเรื อง ธงชาติไทย • พ.ศ. 2310 24 กุมภาพันธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสมภพ ณ ตําบลอัมพวา เมืองสมุทรสงคราม พระนามเดิม ฉิ ม • พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบดาภิเษกขึนเป็ นปฐมกษัตริ ยแห่งพระบรมราช ์ จักรี วงศ์ทรงได้รับการสถาปนาพระยศเป็ น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุ นทร • พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต
  • 9. พระบรมวงศานุ วงศ์ ขุนนางกราบบังคมทูลอัญเชิญพระองค์ขึนครองราชสมบัติเป็ นรัชกาลที 2 แห่งพระ ราชวงศ์จกรี เฉลิมพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเจ้าฟ้ ากรมขุนกษัตรานุชิตกับพวก คิด ั กบฏ โปรดเกล้าฯ ให้กรมหมืนเจษฎาบดินทร์ ชาระความสงครามกับพม่าทีเมืองถลาง ํ • พ.ศ. 2353 โปรดเกล้าฯ ให้ส่งคณะทูตอัญเชิ ญพระราชสาส์นไปถวายจักรพรรดิเกียเข้งแห่งอาณาจักรจีน ราชทูตญวนเข้ามาถวายราชสาส์นและเครื องราชบรรณาการ พร้อมทังทูลขอเมืองบันทายมาศคืน ซึ งพระองค์ ก็พระราชทานคืนให้ • พ.ศ. 2354 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้านายไปกํากับราชการตามกระทรวงต่างๆ โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานออก "เดินสวนเดินนา" ออกพระราชกําหนดห้ามสู บและซือขายฝิ น จัดพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เกิดอหิ วาตกโรคครังใหญ่ โปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชพิธี "อาพาธพินาศ" ่ โปรดเกล้าฯ ให้กองทัพไทย ไประงับความวุนวายในกัมพูชา อิน-จัน แฝดสยามคู่แรกของโลกถือกําเนิดขึน • พ.ศ. 2355 โปรดเกล้าฯ ให้อญเชิ ญพระแก้วผลึก (พระพุทธบุษยรัตน์) จากเมืองจําปาศักดิมายังกรุ งเทพฯ ั • พ.ศ. 2356 ั พม่าให้ชาวกรุ งเก่านําสาส์นจากเจ้าเมืองเมาะตะมะมาขอทําไมตรี กบสยาม ่ ั พระองค์เจ้าชายทับ (พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว) ได้รับการสถาปนาเป็ นกรมหมืนเจษฎาบดินทร์
  • 10. พ.ศ. 2357 โปรดเกล้าฯ ให้ส่งคณะสมณทูตเดินทางไปศรี ลงกา ั โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง นครเขือนขันธ์ ขึนทีบริ เวณพระประแดง เพือสําหรับรับข้าศึกทีมาทางทะเล • พ.ศ. 2359 โปรดเกล้าฯ ให้จดการปรับปรุ งการสอบปริ ยติธรรมใหม่ กําหนดขึนเป็ น 9 ประโยค ั ั • พ.ศ. 2360 ทรงฟื นฟูประเพณี วันวิสาขบูชา • พ.ศ. 2361 ขยายเขตพระบรมมหาราชวังจนจรดวัดพระเชตุพน โดยสร้างถนนท้ายวังคัน โปรดเกล้าฯ ให้ขาราชการออกแบบและสร้างสวนขวาขึนในพระบรมมหาราชวัง ้ คณะสมณทูตทีพระองค์ทรงส่ งไปฟื นฟูพระพุทธศาสนาที ประเทศลังกาเดินทางกลับ เจ้าเมืองมาเก๊า ส่ งทูตเข้ามาถวายพระราชสาส์นและเครื องราชบรรณาการเพือเจริ ญทางพระราชไมตรี • พ.ศ. 2362 ้ หมอจัสลิส มิชชันนารี ประจําย่างกุง หล่อตัวพิมพ์อกษรไทยเป็ นครังแรก ั • พ.ศ. 2363 ฉลองวัดอรุ ณราชวราราม สังคายนาบทสวดมนต์ภาษาไทยครังแรก ในประเทศไทย โปรตุเกสตังสถานกงสุ ลในกรุ งเทพฯ นับเป็ นสถานกงสุ ลต่างชาติแห่งแรกของสยาม • พ.ศ. 2365
  • 11. เซอร์ จอห์น ครอฟอร์ ด เป็ นทูตเข้ามาเจริ ญพระราชไมตรี • พ.ศ. 2367 เสด็จสวรรคต ราชตระกูล พระราชตระกูลในสามรุ่ นของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระปั ยกาฝ่ าย พระชนก: พระอัยกาฝ่ ายพระ พระยาราชนิกล ู ชนก: (ทองคํา) สมเด็จพระปฐมบรม มหาชนก พระปั ยยิกาฝ่ าย พระชนก: พระชนก: ไม่มีขอมูล ้ พระบาทสมเด็จพระพุทธ พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย ยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช พระปั ยกาฝ่ าย พระชนก: พระอัยยิกาฝ่ ายพระ ไม่มีขอมูล ้ ชนก: พระอัครมเหสี หยก พระปั ยยิกาฝ่ าย พระชนก: ไม่มีขอมูล ้
  • 12. พระปั ยกาฝ่ าย พระชนนี: พระอัยกาฝ่ าย ไม่มีขอมูล ้ พระชนนี: พระชนกทอง พระปั ยยิกาฝ่ าย พระชนนี: พระชนนี: ไม่มีขอมูล ้ สมเด็จพระอมริ นทราบรม ราชินี พระปั ยกาฝ่ าย พระชนนี: พระอัยยิกาฝ่ าย ไม่มีขอมูล ้ พระชนนี: สมเด็จพระรู ปศิริ โสภาค มหานาคนารี พระปั ยยิกาฝ่ าย พระชนนี: ไม่มีขอมูล ้ พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า จุฬาโลกมหาราช และสมเด็จพระอมริ นทราบรมราชินี ทรงมีพระนามเดิมว่า ฉิ ม พระราชสมภพเมือวันที 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2311 ณ ตําบลอัมพวา เมืองสมุทรสาคร ในขณะนันพระราชบิดายังทรงดํารงพระยศเป็ น หลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ต่อมาพระราชบิดาได้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในสมเด็จพระ เจ้าตากสิ น แห่งกรุ งธนบุรี จึงได้ยายครอบครัวเข้ามาอยู่ ณ บริ เวณด้านใต้ของวัดระฆังโฆษิตาราม บ้านเดิมที ้ อัมพวาจึงว่างลง เมือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึนครองราชสมบัติแล้วนัน ทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าฯ อุทิศทีดินบริ เวณบ้านเดิมนัน สร้างเป็ นวัด ชือ วัดอัมพวันเจดิยาร ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ด้วยสํานึกในพระมหากรุ ณาธิ คุณในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวันเจติยาราม พระคุณเจ้าพระราชสมุทรเมธี ได้อุทิศทีดินบริ เวณวัดจํานวน 10 ไร่ ั ให้กบมูลนิธิพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้ดาเนินการก่อสร้างอุทยานพระบรมราชานุสรณ์ ํ รัชกาลที 2 ขึน เพือเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ในสมัยรัชกาลที 2 โดยมีพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ เป็ นองค์
  • 13. ประธานมูลนิธิฯ เมือพระราชบิดาย้ายเข้ามารับราชการ ทรงได้เข้ารับการศึกษาจากวัดระฆังโฆษิตาราม โดย ั ่ ฝากตัวเป็ นศิษย์กบพระวันรัต (ทองอยู) เมือครังพระชนมายุได้ 8 พรรษา ได้โดยเสด็จพระราชบิดา ไป ราชการสงครามด้วย เมือพระชนมายุได้ 16 พรรษา พระราชบิดาได้ปราบดาภิเษกขึนเป็ นพระมหากษัตริ ย ์ พระนาว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก” จึงได้รับการสถาปนาพระยศขึนเป็ น สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิสรสุ นทร เมือประชนมายุครบ 22 พรรษา ทรงผนวช ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ่ ในพระบรมมหาราชวัง และเสด็จไปจําพรรษาทีวัดสมอราย (วัดราชาธิ วาส) ทรงจําพรรษาอยูนาน 3 เดือน (1 พรรษา) จึงทรงลาผนวช ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเลือนยศขึนเป็ น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เมือปี พ.ศ. 2349 หลังจากนันอีกเพียง 2 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เสด็จสวรรคต กรมพระราชวัง บวรสถานมงคลซึ งในขณะนันมีพระชนมายุได้ 42 พรรษา จึงได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็ น ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวรัชกาลที 2 แห่งราชวงศ์จกร ทรงมีพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระบรม ั ราชาธิ ราช รามาธิ บดีศรี สุนทรบรมมหาจักรพรรดิ ราชาธิ บดินทร์ ธรณิ ณทราธิ ราช วัฒนากาศวราชวงศ์ สมุทยโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิ เบนทร์ สุ ริเยนทราธิ บดินทร์ ธาดาธิ บดีศรี สุวบูลย์คุณอกนิฐฤทธิ ราเมศวรหันต์ ั ิ บรมธรามิกราชาธิ เบศร์ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎ ประเทศคตามหาพุทยางกูรบรมบพิตร” หรื อ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมือวันที 7 กันยาน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระอัครมเหสี พระนามว่า “สมเด็จพระศรี สุริเยนท รา บรมราชินี” ทรงพระนามเดิมว่า บุญรอด พระธิ ดาในพระเจ้าพีนางเธอสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระศรี สุดารักษ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระราชโอรสและพระธิ ดารวม 73 พระองค์ โดยประสู ติใน พระมเหสี 3 พระองค์ ได้แก่ 1. เจ้าฟ้ าชายราชกุมาร สิ นพระชนม์ในวันประสู ติ ่ ั 2. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายมงกุฎ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึนเป็ น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที4 ่ ั 3. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายจุฑามณี ต่อมาได้รับการสถาปนาขึนเป็ น พระบาทสมเด็จพระปิ นเกล้าเจ้าอยูหว พระมหาอุปราชาใน รัชกาลที 4 และได้ประสู ติในเจ้าจอมมารดาเรี ยม พระสนมเอก 3 พระองค์ ได้แก่ • ่ ั 1. พระองค์เจ้าชายทับ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึนเป็ น พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที 3 • 2. พระองค์เจ้าชายป้ อม สิ นพระชนม์ตงแต่ทรงพระเยาว์ ั
  • 14. 3. พระองค์เจ้าชายหนูดา สิ นพระชนม์ตงแต่ทรงพระเยาว์ ํ ั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเสด็จครองราชสมบัติอยูจน พ.ศ. 2367 รวมครองอยู่ ่ ในสิ ริราชสมบัตินาน 15 ปี ก็ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้ มิได้รู้สึกพระองค์จึงไม่ได้ทรงพระราชทานราช สมบัติให้แก่ผใด ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้อยู่ 3 วัน ก็เสด็จสวรรคต ู้ พระราชกรณี ยกิจในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย การทํานุบารุ งประเทศ ํ ด้วยในระยะแรกของการก่อตังกรุ งรัตนโกสิ นทร์ พม่ายังคงรุ กรานประเทศไทยอย่างต่อเนื อง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองและป้ อมปราการต่าง ๆ ขึน เพือให้ เป็ นเมืองหน้าด่านคอยป้ องกันข้าศึกทีจะยกเข้ามาทางทะเล ทีเมืองสมุทรปราการ และทีเมืองปากลัดโดยทรง มีพระราชบัญชาให้กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ เป็ นแม่กองสร้าง เมืองนครเขือนขันธ์ขึนทีปากลัด (ปั จจุบน คือ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ) พร้อมป้ อมปี ศาจผีสิง ป้ อมราหู และป้ อมศัตรู พินาศ แล้ว ั ่ โปรดเกล้าฯ ให้อพยพครอบครัวชาวมอญจากปทุมธานีมาอยูทีนครเขือนขันธ์ นอกจากนียังทรงให้กรมหมืน มหาเจษฏาบดินทร์ เป็ นแม่กองจัดสร้าง ป้ อมผีเสื อสมุทร ป้ อมประโคนชัย ป้ อมนารายณ์ปราศึก ป้ อมปราการ ป้ อมกายสิ ทธิ ขึนทีเมืองสมุทรปราการ และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมืนศักดิพลเสพย์ไปคุม งานก่อสร้างป้ อมเพชรหึ งส์เพิมเติม ทีเมืองนครเขือนขันธ์ การสร้างเมืองหน้าด่านและป้ อมปราการต่าง ๆ ขึนมามากมาย ด้วยการทีจะป้ องกันมิให้ขาศึกเข้ามาถึงพระนครได้โดยง่าย ถือว่าทรงมีสายพระเนตรทียาว ้ ไกล ด้านการป้ องกันประเทศ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พม่าได้ยกทัพเข้ามาตีไทยหลายครังเริ ม ตังแต่เมือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จเสวยราชย์ได้เพียง 2 เดือน ในขณะนันกาตริ ยพม่า์ พระเจ้าปดุงได้แต่งตังแม่ทพพม่า 2 นาย คือ แม่ทพเรื ออะเติงหงุ่นยกทัพเรื อเข้ามาตีประเทศไทยทางหัวเมือง ั ั ชายทะเลทางด้านตะวันตก และสามารถตีได้เมืองตะกัวทุ่งและตะกัวป่ า และได้ลอมเมืองถลางไว้ก่อนที ้ กองทัพไทยจะยกลงไปช่วย แต่เมือกองทัพไทยได้ยกลงไปช่วยก็สามารถพม่าแตกพ่ายไป ส่ วนทางด้านทัพ บก พระเจ้าปดุงได้แต่งตังแม่ทพสุ เรี ยงสาระยอ ยกกําลังมาทางบก เพือเข้าตีหวเมืองทางด้านทิศใต้ของไทย ั ั และสามารถตีได้เมืองมะลิวน ระนองและกระบี พระบาทสมเด้จพระพุทะเลิศหล้านภาลัยได้ส่งกองทัพและ ั เกิดปะทะกับกองทัพทียกลงไปช่วย ทหารพม่าสู ้กาลังฝ่ ายไทยไม่ได้ก็แตกถอยหนีกลับไป ํ
  • 15. ต่อมาเมือ พ.ศ. 2363 พระเจ้าปดุงกษัตริ ยได้เสด็จสวรรคต พระเจ้าจักกายแมงได้สืบราชสมบัติต่อ ์ จากพระเจ้าปดุง ก็คิดจะยกทัพมาตีไทยอีกโดยสมคบกับพระยาไทรบุรี ซึ งเปลียนใจไปเข้ากับฝ่ ายพม่า แต่ เมีอทราบว่าฝ่ ายไทยจัดกําลังทัพไปเตรี ยมรับศึกอย่างแข็งขันตามช่องทางทีพม่ายกเข้ามาพม่าเกิดกลัวว่าจะ ั รบแพ้ไทย จึงยุติไม่ยกทัพเข้ามา พอดีกบพม่าติดการสงครามกับอังกฤษจึงหมดโอกาสทีจะมาตีไทยอีก ด้านการปกครอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงบริ หารบ้านเมือง โดยการให้เจ้านายรับหน้าทีในการ บริ หารงานราชการในกรมกองต่าง ๆ เท่ากับเป็ นการให้เสนาบดีได้มีการปรึ กษาข้อราชการก่อนทีจะนําความ ่ ขึนกราบบังคมทูล ทังยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ผอนผันการเข้ารับราชการของพลเมืองชาย เหลือเพียงปี ละ 3 เดือน (เข้ารับราชการ 1 เดือน แล้วไปพักประกอบอาชีพส่ วนตัวอีก 3 เดือน สลับกันไป) นอกจากนียังทรง รวบรวมพลเมืองให้เป็ นปึ กแผ่นมีหน่วยราชการสังกัดแน่นอก โดยพระราชทานโอกาสให้ประชาชน สามารถเลือกหน่วยราชการทีสังกัดได้ พระองค์ยงได้ทรงทํานุบารุ งส่ งเสริ มข้าราชการทีมีความรู ั ํ ความสามารถได้มีโอกาสปฏิบติหน้าทีราชการทีตนถนัด ในรัชกาลนีจึงปรากฎพระนามและนามข้าราชการ ั ทีมีชือเสี ยงหลายท่าน เช่น สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ เจ้าฟ้ ากรมหลวงพิทกษ์มนตรี กกรมหมืน ั เจษฎาบดินทร์ เจ้าพระยาศรี ธรรมาโศกราช (น้อย ณ นคร) ขุนสุ นทรโวหาร (ภู่) เป็ นต้น และด้วยทรงมีพระราชประสงค์ให้พลเรื อนของพระองค์เป็ นคนดี มีคุณภาพ จึงได้ทรงออก พระราชบัญญัติ เรื อง ห้างเลียงไก่ นก ปลากัด ไว้ชนและกัดเพือการพนัน กับออกพระราชกําหนดห้าใสุ บฝิ น ขายฝิ น ซื อฝิ น พร้อมทรงกําหนดบทลงโทษผูฝ่าฝื น ทําให้ประเทศไทยไม่เกิดสงครามฝิ นแบบต่างชาติ ้ ในช่วงทีทรงขึนครองราชสมบัติใหม่ ๆ นัน สมเด็จเจ้าฟ้ าชายสุ พนธุ วงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต ราช ั โอรสในพระเจ้าตากสิ นมหาราชกับพวก ซึ งได้แก่ เจ้าพระยาพนเทพ บุนนาค) โอรสทัง 6 พระองค์ของกรม ขุนกษัตรานุชิต รวมทังพระราชโอรส กับพระราชธิ ดาอีกหลายพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช คิดกบฎชิงราชสมบัติ ทรงโปรดให้ทาการสอบสวนเมือปรากฎว่ามีความผิดจริ ง จึงรับสังให้ประหารชีวิตเสี ย ํ ทังหมด
  • 16. รัชกาลที 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสู ติ พ.ศ. 2310 ครองราชย์ พ.ศ 2353 – พ.ศ. 2367 ศ. พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็ นกษัตริ ยไทยพระองค์ที 2 แห่งราชวงศ์จกรี ์ ั ทรงประสู ติรเมือ 24 กุมภาพันธ์ พ..ศ. 2310 ตรงกับวันพุธ ขึน 7 คํา เดือน 3 ปี กุน มีพระนามเดิมว่า “ฉิ ม” พระองค์ทรงเป็ นพระบรมราชโอรสองค์ที 4 ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก กับกรม สมเด็จพระอมริ นทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพนปี หลวง ประสู ติ ณ บ้านอัมพวา แขวงเมือง ั สมุทรสงคราม ขณะนันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า จุฬาโลกเป็ นหลวงยกพระบัตรเมืองราชบุรี พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ได้ทรงปราบดาภิเษกเป็ นปฐมกษัตริ ยแห่งพระราชวงศ์ ระบาทสมเด็ ์ จักรี ขณะนันพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระชนมายุ 16 พรรษา พระราชบิดาจึงโปรด สถาปนาให้ดารงพระยศเป็ น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศราสุ นทร ครังมีพระชนมา สมควร ํ พระชนมายุ ทีจะได้รับการอุปสมบท พระราชบิดาได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้อุปสมบท ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม แล้วเสด็จไปจําพรรษา ณ วัด สมอราย ตลอดรัชกาลที 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โดยเสด็จพระราชบิดาไปในการสงครามทุก ครัง เมือพระชนมายุได้ 41 พรรษา พระราชบิดาได้ทรงสถาปนาให้ดารงพระยศเป็ น “พระมหาอุปราชกรม ํ พระมหาอุ พระราชวังบวรสถานมงคล” ดํารงพระเกียรติยศเป็ น พระมหาอุปราช อยู่ 3 ปี ครังถึงปี พ.ศ. 2352 พ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต พระองค์จึงเสด็จขึนครองราชย์ นับเป็ นองค์ที 2 แห่ง พระบรมราชจักรี วงศ์ ทรงพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย” ทรงครองราชย์อยู่ 15 ปี ครังถึงปี พ.ศ. 2367 ได้เสด็จสวรรคต เมือพระชนมายุได้ 56 พรรษา กับ 5 เดือน พระบรมราชสัญลักษณ์ประจํารัชกาลที 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ใช้รูป ครุ ฑ (ฉิ มพลี เป็ นชือวิมานพญาครุ ฑ ซึงพร้องกับชือเดิมของพระองค์ท่านว่า “ฉิ ม”) พระราชกรณี ยกิจทีสําคัญ ๏ พ.ศ. 2357 ได้ ส่ งพระสงฆ์ไปลังกาทวีป เพือเจริ ญทางไมตรี การเดินทางไปครังนีได้ผลดียง เมือคณะทูต ิ กลับมาแล้วได้นาแบบอย่างแนวปฏิบติของสงฆ์ในลักามาเผยแพร่ ดวย และตังคณะสงฆ์ ธรรมยุตินิกาย ขีน ํ ั ้ (ส่ วนคณะสงฆ์ทีปฏิบติแบบเดิมเรี ยกว่า “มหานิกาย” ส่ ั ๏ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงได้ชางเผือกมาสู่ พระบารมีถึง 3 เชือก คือ พระยา ้ เสวตรกุญชร พระยาเสวตรไอยรา พระยาเสวตรคชลักษณ์ ตามโบราณราชประเพณี วา การมีชางเผือกมาสู่ ่ ้
  • 17. พระบารมีนน เป็ นการเพิมพูนพระเกียรติยศ เป็ นบารมีอนสู งสุ ด พระบาทสมเด็จพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรง ั ั ได้รับการถวายพระนามว่า “พระเจ้าช้างเผือก” ๏ จากการทีมีชางเผือกมาสู่ พระบารมีถึง 3 เชื อก พระบาทสมเด็จพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงได้โปรดให้ใช้ธง ้ ่ ซึ งชักในเรื อกําปั นหลวง ทีแต่งไปค้าขายยังนานาประเทศเป็ น รู ปช้างอยูกลางกรงจักรสี ขาว บนผืนธงสี แดง แล้วเรี ยกว่า “ธงช้างเผือก” ให้เป็ นธงชาติประจําประเทศเป็ นครังแรก ๏ พ.ศ. 2360 ได้มีพระราชดําริ กบสมเด็จพระสังฆราช (มี) ให้ทาพิธี วันวิสาขบูชา กลางเดือน 6 นับเป็ น ํ ครังแรกทีได้มีพิธีดงกล่าวขึนในประเทศไทย ั ๏ ทรงบูรณะปฏิสังขร วัดแจ้ง ซึ งสร้างมาตังแต่สมัยรัชกาลที 1 จนแล้วเสร็ จ และได้พระราชทานนามใหม่วา ่ “วัดอรุ ณราชธาราม” (ต่อมาในรัชกาลที 4 ได้ทรงเปลียนใหม่เป็ น “วัดอรุ ณราชวราราม” ๏ พ.ศ. 2363 เจ้าเมืองมาเก๊ามีหนังสื อเข้ามาขอต่อ เรื อกําปั น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชทานบรมราชานุญาตให้ต่อเรื อกําปั นขึนหน้าบ้านกงศุล นับเป็ นการต่อเรื อกําปั นเป็ นครังแรกของ ไทย ั ๏ กัปตันเฮล พ่อค้าชาวอเมริ กน ได้นาปื นคาบศิลา เข้ามาถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้ ํ เป็ นกําลังของแผ่นดิน จึงทรงโปรดให้ตงเป็ น หลวงภักดีราชกัปตัน ๏ พ.ศ. 2365 อังกฤษได้ส่งทูตชือ ั จอห์น ครอเฟิ ต เข้า มาเจริ ญสัมพันธไมตรี การเข้ามาของจอห์น ครอเฟิ ต ในครังนีไม่เป็ นผล เพราะจอห์น ครอเฟิ ต แสดงกิริยา ไม่เหมาะสม ดูถูกดูหมิน คนไทย เอาเปรี ยบในการเจรจา และทีสําคัญคือทังสองฝ่ ายไม่เข้าใจในภาษาซึ งกันและกัน อีกประการหนึง คือ จอห์น ครอเฟิ ต ได้จดทํา ั แผนทีกรุ งเทพมหานคร ทําให้เกิดความระแวงว่าจอห์น ครอเฟิ ต จะเป็ นไส้ศึกเข้ามาลวงความลับของไทย จึงได้ไล่จอห์น ครอเฟิ ต ออก นอกประเทศ ถึงอย่างไรก็ตามการทําแผนทีกรุ งเทพมหานครของจอห์น ครอเฟิ ด นับว่าเป็ นการทําแผนที ครังแรกของไทย ด้านศิลปและวรรณกรรม รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็ นระยะเวลาทีบ้านเมืองเป็ นปกติสุข การศึกสงครามกับ ประเทศเพือนบ้านมีบางในต้นรัชกาล แต่เป็ นศึกทีไม่ใหญ่หลวงนัก และด้วยพระปรี ชาสามารถของพระองค์ ้ ทีทรงพยายามระงับข้อขัดแย้งต่างๆ จึงทําให้การศึกสงครามกับประเทศเพือนบ้านสงบลงได้โดยสันติ เมือ บ้านเมืองสงบสุ ข พระองค์จึงทรงมีเวลาเพือทะนุบารุ งบ้านเมืองให้เจริ ญรุ่ งเรื องได้เต็มที โดยเฉพาะทางด้าน ํ ศิลปะวิทยาการ ซึ งเสื อมทรามมาตังแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยาถูกพม่าเผาทําลาย พระองค์จึงได้มุ่งทะนุบารุ งให้ ํ รุ่ งเรื องขึนใหม่ โดยทรงโปรดให้นกปราชญ์ ราชบัณฑิต ขุนนาง ข้าราชการ และกวี ร่ วมกันฟื นฟู ั สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในทุกๆ ด้าน ศิลปกรรมในสมัยพระองค์จึงมีความงดงามเป็ นเลิศ และไม่
  • 18. เพียงแต่จะเกิดประโยชน์ในแง่ทะนุบารุ งการช่างเท่านัน แต่ยงก่อให้เกิดประโยชน์ทางใจแก่บุคคลในชาติ ํ ั ่ ด้วย กล่าวได้วา ในรัชสมัยของพระองค์นนนับว่าเป็ น ยุดทองของศิลปกรรมสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ใน ั ทุกๆ ด้าน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นับเป็ นยุดทีวรรณกรรมด้านร้อยกรองมีความเจริ ญสู งสุ ด เนืองจากในสมัยนีมีกวีเอกหลายท่าน ได้เขียนผลงานทางวรรณกรรมทีมีคุณค่าไว้หลายเล่ม เช่น ๏ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย - บทละครเรื อง รามเกียรติ - บทละครเรื อง อิเหนา (ได้รับยกย่องเป็ นบทละครทีไพเราะทีสุ ด) - บทละครเรื อง สังข์ทอง - บทละครเรื อง ไกรทอง - บทละครเรื อง คาวี - บทละครเสภาเรื อง ขุนช้าง-ขุนแผน (ได้รับยกย่องเป็ นยอดคํากลอนสุ ภาพ) - กาพย์เห่เรื อ - บทพากย์โขน ๏ กวีสาคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เช่น ํ - สุ นทรภู่ กวีเอกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เกิดเมือวันที 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก เมือเยาว์วย สุ นทรภู่ได้รับการศึกษาทีวัดชีปะขาว (วัดศรี ั สุ ดาราม) เมือจบการศึกษา เริ มออก ทํางานเป็ นเสมียนนายระวาง กรมพระคลังสวน แล้วกลับมาเป็ นมหาดเล็กในกรมพระราชวังหลัง ในสมัย รัชกาลที 2 สุ นทรภู่กลับเข้ารับราชการ อีกครัง ได้ตาแหน่งเป็ นขุนสุ นทรโวหาร กวีประจําราชสํานัก ในสมัยรัชกาลที 3 สุ นทรภู่ลาออกจาก ํ ราชการและออกบวช ระเหเร่ ร่อนไปตามที ต่างๆ ต่อมาได้รับการอุปถัมภ็จากพระองค์เจ้าลักขณะนุคุณ และกรมหมืนอัปสรสุ ดาเทพ ครันถึงสมัย รัชกาลที 4 สุ นทรภู่กลับเข้ารับราชการอีกครัง ในตําแหน่งพระสุ นทรโวหาร เจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ ายพระราชวังบวร จนถึง พ.ศ. 2398 สุ นทรภู่ก็ถึงแก่ กรรม รวมอายุได้ 79 ปี
  • 19. ช่วงเวลาทีสุ นทรภู่มีชีวิตอยู่ ได้สร้างผลงานทางกวีไว้มากมาย ทังประเภทนิ ราศ นิทานคํากลอน สุ ภาษิต บทละคร เสภา หนังสื อแบบเรี ยน และบทเห่ กล่อมพระบรรทม แต่ผลงานทีมีคุณค่า และเป็ นทีรู ้จกกันแพร่ หลายทีสุ ดคือ ั นิทานกํากลอนเรื อง พระอภัยมณี เป็ นการ คิดผูกเรื องขึนมาด้วยตนเอง เป็ นนิทานทีรวมไว้ซึงความแปลกใหม่ และให้คุณค่าในด้านต่างๆ ไม่วาจะเป็ น ่ คุณค่าในด้านวรรณกรรมหรื อด้านการสังสอนอบรม นิทานเรื องนีได้รับการยกย่องว่า เป็ น ยอดของนิทาน คํากลอน ปั จจุบนสุ นทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็ น กวีเอกของโลก และหนังสื อพระอภัยมณี ได้รับเกียรติ ั ให้เป็ น วรรณคดีเอกของโลก ด้วย วรรณคดีไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยเฉพาะละครคํากลอน ได้เจริ ญเฟื องฟู อย่างยิง ราชสํานักของพระองค์เป็ นทีชุมนุมของกวี นักปราชญ์ สําหรับพระองค์ก็ทรงสนพระหทัยและ สนับสนุนด้านการละครอย่างมาก โดยทรงโปรดให้หดตัวละครรุ่ นใหม่ๆ ขึน บทละครบางเรื องทรงพระ ั ราชนิพนธ์ขึนเพือให้ใช้สาหรับเล่นละคร ในการทรงบทละครนัน ทรงเลือกสรรเจ้านายและข้าราชการทีเป็ น ํ กวี ชํานาญกลอนไว้สาหรับทรงปรึ กษา เช่น กรมหมึนเจษฎาบดินทร์ เจ้าฟ้ ากรมหลวงพิทกษ์มนตรี และขุน ํ ั สุ นทรโวหาร บทละครใดทีไม่ได้พระราชนิพนธ์ดวยพระองค์เอง ก็จะพระราชทานให้กวีทีปรึ กษานําไป ้ แต่ง ตอนใดทีทรงพระราชนิ พนธิ หรื อกวีทีนาไปแต่งแล้วนํามาถวาย ก็จะนํามาอ่านหน้าพระทีนังในที ํ ประชุมกวีเพือช่วยกันแก้ไข ๏ ผลงานด้านศิลปกรรมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทีมีงดงาม วิจิตรบรรจง เป็ นเลิศ คือ บานประตูพระวิหาร วัดสุ ทศน์เทพวราราม ซึ งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงแกะสลัก ั ร่ วมกับช่างฝี มือเยียมในสมัยนัน โดยมีกรมหมืนจิตรภักดี เป็ นนายงาน บานประตูพระวิหารนี แกะเป็ นรู ป ป่ า เขา ลําเนาไพร และสัตว์นานาชนิด อย่างมีชีวตชีวา เป็ นการแกะสลักแบบลอยตัว คือมองเห็นได้ ิ โดยรอบ สมดังทีทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในเรื องอิเหนาว่า “ ฉลักรู ปสิ งสัตว์นานา ดุนเด่นออกมาเหมือนจริ ง ทังเนือนกดังเป็ นเห็นประหลาด พฤษชาติเหมือนจะไหวไกวกิง อันรู ปเสื อสี ห์หมีกระทิง เหมือนจะย่างวางวิงเวียนวน” ปั จจุบนบานประตูพระวิหารนีได้ถูกไฟไห้มไปด้านหนึง กรมศิลปกรจึงถอดไปเก็บรักษาไว้ทีพิพิธภัณฑ์ ั สถานแห่งชาติ ภาษีอากร ภาษีอากรเป็ นรายได้ของแผ่นดินในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ซึ งยังคงใช้แบบอย่างจากกรุ งศรี อยุธยา โดย จัดแบ่งประเภทของภาษีอากรออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี 1. จังกอบ คือ ภาษีค่าผ่านด่านทีเก็บจากเรื อ เกียน หรื อเครื องบรรทุกอืนๆ ทีผ่านด่านทีตังไว้เป็ นจุดๆ ใน อัตรา 10 หยิบ 1 โดยหักจากสิ นค้าทีบรรทุกผ่านมา
  • 20. 2. อากร คือ ภาษีทีเก็บจากราษฎรทีประกอบอาชีพทีมิใช่การค้า ซึ งโดยปกติจะเรี ยกตามอาชีพทีทํา เช่น อากรค่านา อากรค่าสวน อากรสุ รา อากรบ่อนเบีย การทําสวนผลไม้ชนดี จะเก็บเป็ น อากรพลากร การทํา ั สวนผลไม้ชนรองลงมาจะเก็บเป็ น อากรสมพัตสร หรื อการทําสวนทัวไป ั 3. ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมทีเก็บจากการไปใช้บริ การกับทางราชการ หรื องานทีราชการทําให้ราษฎร เช่น การ ออกโฉนดตราสาร ธรรมเนี ยมศาล เป็ นต้น 4. ส่ วย คือ เงินหรื อสิ งของทีไพร่ หลวงผูไม่ตองการเข้าเวรรับราชการ ส่ งมาให้แทนการเข้าเวรประจําการ ้ ้ ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น กําหนดให้ไพร่ หลวง เข้าเวร รับราชการติดต่อกันเป็ นเวลา 3 เดือน หากผูใด ้ ไม่ประสงค์จะเข้าเวรรับราชการ ก็ตองส่ งส่ วย ในอัตราเดือนละ 6 บาท ปี หนึง 18 บาท หรื อจะส่ งเป็ น ้ สิ งของ เช่น มูลค้างคาว ดีบุก เกืลอสิ นเธาว์ และของป่ ามีค่าต่างๆ ตามทีกําหนดไว้ก็ได้ 5. ภาษีเบิกร่ อง (ภาษีปากเรื อ) คือ ภาษีทีเก็บจากเรื อสิ นค้าต่างประเทศทีเข้ามาค้าขาย ติดต่อกับไทย โดย คิดอัตราตามขนาดความกว้างของปากเรื อ หรื อยานพาหนะทีบรรทุมา โดยไม่ได้คิดถึงปริ มาณหรื อราคาของ สิ นค้า อัตราภาษีเบิกร่ องคิดเป็ นวา วาละ 80 บาท การค้าขาย การค้าขายในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น สิ นค้าทีทําการซื อขายกันระหว่างกรมพระคลังสิ นค้า กับ บรรดา พ่อค้า อาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1.สิ นค้าผูกขาด เป็ นสิ นค้าทีกรมพระคลังสิ นค้าเท่านัน ทีจะมีสิทธิ ใน การซื อและการขาย แต่เพียงผูเ้ ดียว เช่น ยาง ดีบุก ลูกกระวาน ตะกัว รง นอแรด งาช้าง พริ กไทย กํายาน ยางกฤษณา เป็ นต้น 2.สิ นค้าต้องห้าม เป็ นสิ นค้าทีชาวต่างประเทศจะต้องนํามาขายให้กบกรมพระ ั คลังสิ นค้าเท่านัน จะนําไปขายให้ไพร่ หรื อบุคคลอืนๆ โดยตรงไม่ได้ หากสิ นค้านันกรมพระคลังสิ นค้าไม่ ซื อไว้ ก็ตองนํากลับออกไปนอกประเทศ เช่น ดินปื นและอาวุธ เป็ นต้น ้ ๏ แฝดสยาม พ.ศ. 2354 นางนกหญิง ลูกครี งชาวเมืองสมุทรสงคราม ได้คลอดทารกแฝดเพศชาย ชือ อิน – จัน เด็กฝาแฝดทังสองมีลกษณะร่ างกายปกติเหมือนคนธรรมดาทัวไป มีอวัยวะครบ 32 ประการทังสองคน ั เพียงแต่บริ เวณหน้าท้องของทังสองคนติดกัน จะไปไหนมาไหน จะทําอะไร ก็ตองทําพร้อมกัน อิน-จัน ได้ ้ ่ ถูกพ่อค้าชาวอเมริ กาซือตัวไปตะเวรออกโชว์ในอเมริ กาตังแต่อายุ 18 ปี และอยูทีอเมริ กาจนเสี ยชีวตเมือปี ิ พ.ศ. 2417 ต่อมาวงการแพทย์ได้ตงซื อแฝดลักษณะแบบ อิน-จัน นีว่า “แฝดสยาม” ั สวรรตต พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประชวรอยู่ 8 วัน ครังถึงวันพุธ เดือน 8 แรม 11 คํา จึงเสด็จสวรรคต รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา
  • 21. บรรณานุกรม รัตนโกสิ นทร์ .//รัตนโกสิ นทร์ .//พระราชประวัติรัชกาลที2.//กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรี ยนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่.//<www.Wattano.ac.th>16/07/2554
  • 22.