SlideShare a Scribd company logo
ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักรของไทย
          กับอาณาจักรต่ างๆ
 กลุ่ม 4 1. นายกฤษฎาภิวฒน์ วงค์ใหญ่
                           ั                 เลขที่ 1
         2. นายจิรายุส เจนใจ                 เลขที่ 3
         3. นายเจษฎา นันไชยวงค์              เลขที่ 4
         4. นายพัชรดนย์ มากอยู่
         5. นายยศวัฒน์ คาสมุทร
                                             เลขที่ 7
                                             เลขที่ 9
                                                         ม.6/3
         6. นายศุภโชค ใจดี                    เลขที่ 10
         7. นายสุ ทธิสิทธิ์ บัณฑิตชู สกุล     เลขที่ 12
                                            เสนอ ครูสายพิน วงษารัตน์
ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักร
  สุโขทัยกับอาณาจักรต่ างๆ
ั
        อาณาจักรสุ โขทัย มีการสร้างความสัมพันธ์กบต่างประเทศ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
                                     ั
แตกต่างกันออกไป โดยมีความสัมพันธ์กบดินแดนต่าง ๆ ดังนี้
        ความสั มพันธ์ กบมอญ
                       ั
          ความสัมพันธ์ระหว่างสุ โขทัยกับมอญส่ วนใหญ่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาลัทธิเถรวาท
                ั
มีความสัมพันธ์กนทางเครื อญาติในสมัยพ่อขุนรามคาแหง โดยมะกะโท พ่อค้ามอญได้แต่งงาน
กับพระราชธิดาของพ่อขุนรามคาแหงแล้วหนีไปอยูเ่ มืองเมาะตะมะ ภายหลังได้เป็ นพระเจ้า
แผ่นดินมอญทรงพระนามว่า พระเจ้าฟ้ ารั่วและสวามิภกดิ์ต่อไทย แต่หลังรัชกาลเจ้าฟ้ ารั่วแล้ว
                                                  ั
มอญก็แยกตัวเป็ นอิสระ
ความสั มพันธ์ กบจีน
                           ั
           ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุ โขทัยกับจีน มีมาตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหง ส่ วน
ใหญ่เป็ นความสัมพันธ์ดานการค้า ระบบราชบรรณาการในสมัยพระเจ้าหงวนสี โจ๊วแห่งราชวงศ์
                         ้
หงวน ได้ดาเนินนโยบายส่ งทูตไปเจริ ญสัมพันธไมตรี กบประเทศต่าง ๆ พร้อมทั้งชักชวนให้ส่งทูต
                                                      ั
ไปติดต่อและส่ งเครื่ องราชบรรณาการให้แก่จีน เพื่อเป็ นการกระชับมิตร ให้แน่นแฟ้ นยิงขึ้น
                                                                                    ่
ไป ได้แลกเปลี่ยนคณะทูตกันอีกหลายครั้ง นอกจากนั้นอาณาจักสุ โขทัย ยังรับประโยชน์จากจีน
โดยการรับวิทยาการเรื่ องเทคนิคการทาเครื่ องปั้ นดินเผาแบบใหม่ คือการทาเครื่ องสังคโลก ที่มี
คุณภาพสามารถเป็ นสิ นค้าส่ งออก นารายได้มาสู่อาณาจักรสุ โขทัยเป็ นจานวนมาก




                                                 รู ป โถฝาเคลือบ
ผลจากการเปิ ดสั มพันธภาพกับจีน
          1. ทางด้านการเมือง ทาให้อาณาจักรสุ โขทัยรอดพ้นจากการรุ กรานจากจีน นอกจากนั้นจีนยัง
ไม่เข้าแทรกแซงการขยายอาณาเขตของไทยไปยังแหลมมลายูจนเกินขอบเขต
          2. ทางด้านเศรษฐกิจ เป็ นการส่ งเสริ มการค้าระหว่างไทยกับจีน ในระบบบรรณาการทาให้ไทย
ได้รับประโยชน์จากการค้าระบบนี้ โดยคณะทูต ได้รับอนุญาตให้มีการซื้ อขายสิ นค้าโดยไม่ตองเสี ยภาษี
                                                                                          ้
          3. ทาให้เกิดอุตสาหกรรมผลิตเครื่ องสังคโลกขึ้น ผลิตตั้งแต่ชิ้นใหญ่ลงไปถึงชิ้นเล็ก ๆ
โดยเฉพาะบริ เวณสุโขทัยและสวรรคโลก ต่อมาการผลิตเครื่ องสังคโลกได้มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ วทา
ให้เศรษฐกิจสุ โขทัยเจริ ญขึ้นด้วยการส่ งเครื่ องสังคโลกไปจาหน่ายยังเมืองต่าง ๆ
          4. ทางด้านวัฒนธรรม ชาวไทยยุคนี้ได้รับวัฒนธรรมบางอย่างจากจีน เช่นการจุดดอกไม้ไฟ




                                       เครื่องสั งคโลก
ความสั มพันธ์ กบลังกา
               ั
                                                               ั
               อาณาจักรสุ โขทัยกับลังกาส่ วนใหญ่มีความสัมพันธ์กนทางด้าน
พระพุทธศาสนาในสมัยพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ สุ โขทัยได้รับพระพุทธศาสนาลัทธิ
ลังกาวงศ์มาจากเมืองนครศรี ธรรมราช เป็ นสมัยที่ให้การยอมรับพระพุทธศาสนา
เป็ นศาสนาประจาชาติ โดยพระองค์ทรงนิมนต์พระสงฆ์มาจากเมืองนครศรี ธรรมราช
            ่
มาประจาอยูที่สุโขทัยและแสดงธรรมในวันธรรมสวนะ (วันพระ) และช่วยส่ งเสริ ม
ทางการศึกษา ทางศาสนาและการปฏิบติทางวินย นอกจากนั้นยังมีประเพณี ในด้าน
                                     ั       ั
ศาสนาเกิดขึ้นแล้ว เช่น การทาบุญ การทอดกฐินในสมัยพระเจ้าเลอไท
ผลดีจากการเปิ ดสั มพันธภาพกับลังกา
          1. อาณาจักรสุ โขทัยได้รับแบบอย่างพระพุทธศาสนาลัทธิ ลงกาวงศ์มาปฏิบติ
                                                              ั            ั
อย่างจริ งจัง
          2. ไทยได้รับมรดกทางด้านศิลปะมาถือปฏิบติ เช่น การสร้างโบสถ์ วิหาร
                                                 ั
          3. ไทยได้รับมรดกทางวัฒนธรรม เช่น งานพระราชพิธีในพระราชสานัก
พระราชพิธีเกี่ยวกับงานนักขัตฤกษ์ในพระพุทธศาสนา


                                   พระพุทธสิ หิงค์
                                    ซึ่งทางสุ โขทัยรับมอบมาจากลังกา
                                    ปัจจุบนประดิษฐานอยู่ในพระทีนั่งพุทไธสวรรย์
                                          ั                      ่
                                    พิพธภัณฑสถานแห่ งชาติ กรุงเทพมหานคร
                                        ิ
ความสั มพันธ์ กบกัมพูชา
                          ั
                     บริ เวณแว่นแคว้นต่าง ๆ ในประเทศไทยโดยเฉพาะ ภาคกลางได้มีการเกี่ยวข้องกับ
กัมพูชามาก่อนการตั้งอาณาจักรสุ โขทัย ต่อจากนี้ได้ขยายอิทธิพลไปยังบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
เกือบทั้งหมด มีการพบร่ องรอยอิทธิพล ทางด้านศิลปวัฒนธรรมของขอมตามศาสนสถานที่
ประกอบด้วยทั้งพระปรางค์ และปราสาท เช่น พระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี ปราสาทเมือง
สิ งห์ จังหวัดกาญจนบุรี อันแสดงให้เห็นอิทธิพลในทางพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานทั้งสิ้ น
นอกจากนั้นกัมพูชาและบ้านเมืองไทย ยังมีความเกี่ยวข้องทางการเมืองด้วย กล่าวคือ กษัตริ ยของ
                                                                                     ์
                                                             ั
กัมพูชา และรัฐต่าง ๆในเมืองไทย มีความสัมพันธ์ทางเครื อญาติกน เช่น กษัตริ ยขอมพระราชทาน
                                                                            ์
พระธิดาให้พอขุนผาเมืองแห่งเมืองราด ซึ่ งนาไปสู่การก่อตั้งอาณาจักรสุ โขทัยภายหลัง
              ่


                                        ศาลตาผาแดง
                                        ในบริเวณเมืองเก่ าสุ โขทัย เป็ นศาสนสถานก่ อด้ วยศิลาแลง
                                        เป็ นเทวาลัยในศาสนาพราหมณ์
ความสั มพันธ์ กบอาณาจักรล้ านนา
                         ั
                    อาณาจักรสุ โขทัยกับล้านนา มีความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดกันมากโดยพญามังรายเจ้า
เมืองเงินยางและพญางาเมือง เจ้าเมืองพะเยา แห่งอาณาจักรล้านนา เป็ นมิตรสหายที่ดีของ พ่อขุน
รามคาแหงมาตั้งแต่เยาว์วย กษัตริ ยท้ งสามพระองค์ได้ทาสัญญาเป็ นมิตรไมตรี ที่ดีต่อกันอย่างแน่น
                           ั     ์ ั
แฟ้ น ต่อมาพ่อขุนรามคาแหงได้เสด็จขึ้นไปยังอาณาจักรล้านนา พร้อมกับพญางาเมืองเพื่อช่วย
พญามังรายเลือกชัยภูมิที่ดีในการสร้างราชธานีที่เมืองเชียงใหม่ มีชื่อว่า “นพบุรีศรี นครพิงค์
เชียงใหม่”




                                                 พระบรมราชานุสรณ์ สามกษัตริย์
                                                  ตั้งอยู่หน้ าศาลากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความสั มพันธ์ กบเมืองนครศรีธรรมราช
                           ั
                                                                                 ั
                    อาณาจักรสุ โขทัยกับเมืองนครศรี ธรรมราช เริ่ มมีความสัมพันธ์กนตั้งแต่พอ่
                                                ั
ขุนศรี อินทราทิตย์ได้เสด็จไปเจริ ญสัมพันธไมตรี กบพระเจ้าจันทรภานุ กษัตริ ยแห่ง
                                                                          ์
นครศรี ธรรมราชและเคยโปรดเกล้าฯให้ติดต่อขอพระพุทธสิ หิงค์จากลังกามาประดิษฐานยังกรุ ง
สุ โขทัย และในสมัยพ่อขุนรามคาแหงได้นาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลงกาวงศ์ จากั
นครศรี ธรรมราชขึ้นมาเผยแผ่ยงสุ โขทัยทาให้พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลงกาวงศ์มนคง
                              ั                                                ั       ั่
ในสุ โขทัยนับตั้งแต่น้ นมา
                       ั
          ความสั มพันธ์ กบอาณาจักรอยุธยา
                         ั
                    ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุ โขทัยกับอาณาจักรอยุธยา เริ่ มขึ้นในสมัย
สมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงยกทัพขึ้นมายึดเมือง
พิษณุโลก ของอาณาจักรสุ โขทัย ทาให้สุโขทัยต้องส่ งเครื่ องบรรณาการพร้อมคณะทูตเดินทาง
ไปเจรจา ขอเมืองพิษณุโลกคืน ซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงพระราชทาน
เมืองพิษณุโลกคืน ให้แก่สุโขทัย
ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักร
   อยุธยากับอาณาจักรต่ างๆ
ความสั มพันธ์ กบล้ านนา
                       ั
                 มีลกษณะเป็ นการทาสงครามมากกว่าการเป็ นไมตรี ต่อกัน สงคราม
                    ั
ระหว่างอยุธยาและล้านนาได้เกิดขึ้นหลายครั้งในรัชสมัยพระยาติโลกราชแห่งล้านนากับ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุ งศรี อยุธยา


                                                 ปรางค์ ประธานวัดจุฬามณี
                                                 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรง
                                                 ขึนมาประทับยังเมืองพิษณุโลก
                                                   ้
                                                 เพืออานวยการสงครามระหว่ าง
                                                     ่
                                                 อยุธยากับล้ านนา
ความสั มพันธ์ กบลาว(ล้ านช้ าง)
                         ั
                                              ั
                  ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์กนมาแต่โบราณ มีลกษณะเป็ นมิตรไมตรี ที่ดี
                                                                  ั
ต่อกันหลักฐานสาคัญที่แสดงถึงสัมพันธไมตรี อนดีระหว่างไทยกับลาวก็คือการร่ วมกันสร้าง
                                            ั
                                                ่
พระธาตุศรี สองรัก ปั จจุบนพระธาตุศรี สองรักอยูท่ี อ.ด่านซ้าย จ.เลย
                           ั




                         พระธาตุศรีสองรักอยู่ที่ อ.ด่ านซ้ าย จ.เลย
ความสั มพันธ์ กบพม่ า
                        ั
                    ไทยกับพม่าส่ วนใหญ่เป็ นการแข่งอิทธิพลและการขยายอานาจจึงทาให้
เกิดสงครามกันตลอดเวลาสาเหตุสาคัญมาจากที่พม่าต้องการขยายอานาจเข้ามาในอาณาจักร
อยุธยาจึงทาให้อยุธยาตกเป็ นประเทศราชของพม่าถึง 2 ครั้งด้วยกัน นอกจากการทาสงคราม
แล้วไทยกับพม่าก็ยงมีการติดต่อค้าขายกันในบางครั้งการทาสงครามระหว่างไทยกับพม่ามี
                  ั
สาเหตุจากการที่ไทยจับเรื อสาเภาของพม่าที่ไปค้าขายที่เมืองมะริ ดซึ่งเป็ นเมืองท่าที่สาคัญ
ของไทยจึงทาให้พม่าไม่พอใจ




                   สงครามระหว่ างอาณาจักรอยุธยากับประเทศพม่ า
ความสั มพันธ์ กบเขมร
                       ั
                                                                ั
         เขมรเคยมีอิทธิพลในดินแดนไทย ทาให้เขมรมีความสัมพันธ์กบไทยในฐานะเมืองประเทศราช
ตลอดสมัยอยุธยามีผลทาให้ไทยได้รับอิทธิพลจากเขมรในด้านต่างๆ ได้แก่
1.ด้านการปกครอง – ไทยได้รับแนวความคิดที่กษัตริ ยทรงมีฐานะเป็ นสมมติเทพจากเขมรเข้ามาด้วย
                                                   ์
2.ไทยได้รับขนบธรรมเนียมประเพณี มาจากเขมร เช่น พระราชพิธีถือน้ าพิพฒน์สตยา
                                                                  ั ั
3.ด้านประติมากรรม – การหล่อพระพุทธรู ปยุคอู่ทอง เป็ นการหล่อพระพุทธรู ปสมัยอยุธยายุคแรกของ
                         ไทยก็ได้แบบอย่างมาจากเขมร
4.ด้านวรรณคดี – ไทยนิยมใช้ภาษาขอมและภาษาบาลีสนสกฤตในวรรณคดีต่างๆ
                                                      ั




                  พระพุทธรูปยุคอู่ทอง                    พระราชพิธีถือนาพิพฒน์ สัตยา
                                                                       ้ ั
ความสั มพันธ์ กบหัวเมืองมลายู
                         ั
                   ในสมัยอยุธยาตอนต้นได้มีการติดต่อกับหัวเมืองต่างๆทางใต้ของไทย
หัวเมืองมลายูมีฐานะเป็ นประเทศราชของไทยจึงมีหน้าที่ส่งเครื่ องราชบรรณการพร้อมกับ
ต้นไม้เงินต้นไม้ทองมาถวายกษัตริ ยไทย 3 ปี ต่อครั้ง อยุธยาจะดูแลความสงบเรี ยบร้อยของ
                                   ์
หัวเมืองมลายูหากหัวเมืองมลายูได้รับความเดือดร้อน อยุธยามีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ

        ความสั มพันธ์ กบญวน
                       ั
                 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญวนมักจะเป็ นเรื่ องของการแข่งขันกันมี
                                           ่
อิทธิพลในเขมร แต่บางครั้งก็เป็ นมิตรไมตรี ตอกัน เมื่อญวนรบกันเองไทยสามารถขยาย
                                                                     ็
อิทธิพลและมีอานาจในเขมรได้อย่างสะดวก แต่เมื่อญวนรวมกาลังกันได้กจะขยายอานาจ
เข้าไปในเขมร ทาให้เกิดสงครามกับไทยได้เหตุการณ์น้ ีเกิดขึ้นหลายๆครั้ง
ความสั มพันธ์ กบจีน
                           ั
                      รู ปแบบความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับจีนเป็ นความสัมพันธ์ในรู ปแบบ
รัฐบรรณาการในระบบความสัมพันธ์แบบรัฐบรรณาการนั้นจักรพรรดิจีนถือว่าอยุธยา คือ
                                                                     ั
ประเทศราชของจักรวรรดิจีนแต่สาหรับอยุธยาแล้วถือว่าความสัมพันธ์กบจีนเป็ นรู ปแบบ
ของการค้าการค้าและการทูตระหว่างจีนกับอยุธยา เป็ นผลให้ชาวจีนเข้ามาตั้งรกรากเป็ น
ชุมชนขึ้นที่กรุ งศรี อยุธยาส่ วนใหญ่เป็ นพวกพ่อค้า มีความรู้ความชานาญด้านการค้าและการ
เดินเรื อ
ความสั มพันธ์ กบญี่ปุ่น
                          ั
                  มีการแลกเปลี่ยนคณะทูต ของกานัลและการค้าได้เข้ามาในรู ปของการทูตช่วง
กลางพุทธศตวรรษ ที่ 22 ญี่ปุ่นกลายเป็ นตลาดการค้าที่สาคัญของอยุธยา เรื อสาเภาญี่ปุ่นที่จะ
เดินทางค้าขายจะต้องได้รับใบอนุญาตเรี ยกว่า ใบเบิกร่ องก่อนปลายพุทธศตวรรษที่ 22 อยุธยากับ
ญี่ปุ่นไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตต่อกันเพราะญี่ปุ่นประกาศปิ ดประเทศ ห้ามคนญี่ปุ่นออกนอก
ประเทศอนุญาตให้เฉพาะฮอลันดาและจีนเท่านั้น แต่การค้าระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่นยังคงดาเนิน
ต่อไป




                                     เรือสาเภาญี่ปน
                                                  ุ่
ความสั มพันธ์ กบโปรตุเกส
                          ั
                    โปรตุเกสเป็ นชาวยุโรปชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับอยุธยา โดยจุดมุ่งหมาย
สาคัญคือ ต้องการผลประโยชน์ทางการค้าและเผยแผ่ศาสนาโปรตุเกสขายปื นและอาวุธ
สงครามให้แก่อยุธยาเป็ นการแลกเปลี่ยนกับสิ ทธิในการค้า
         ความสั มพันธ์ กบสเปน
                        ั
                    สัมพันธภาพระหว่างไทยกับสเปนไม่ราบรื่ นและขาดความต่อเนื่อง
เพราะว่าสเปนสนับสนุนให้เขมรเป็ นอิสระจากอยุธยา โดยหวังจะใช้เป็ นศูนย์กลางการค้า
และเป็ นแหล่งเผยแผ่ศาสนาคริ สต์จึงบาดหมางกับไทยชาวสเปนไม่ได้ต้ งรกรากในกรุ งศรี
                                                                    ั
อยุธยาจึงไม่ได้มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมหลงเหลือให้เห็นเด่นชัด
ความสั มพันธ์ กบฮอลันดา
                             ั
                    ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับกรุ งศรี อยุธยาจุดมุ่งหมายสาคัญของฮอลันดา
คือ ความต้องการซื้อสิ นค้าจากจีนและหาช่องทางเข้าไปค้าขายในจีนโดยอาศัยเรื อสาเภาของ
ไทย แต่ไทยยินดีตอนรับเฉพาะเรื่ องที่ชาวฮอลันดาเข้ามาค้าขายเท่านั้นในช่วงพุทธศตวรรษ
                  ้
ที่ 23 การค้าของฮอลันดาที่กรุ งศรี อยุธยาค่อยๆลดความสาคัญลงเพราะมีอุปสรรค
นานาประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบายการค้า ความผันผวนทางการเมือง
          ความสั มพันธ์ กบอังกฤษ
                         ั
                    ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษซบเซา และหยุดชะงักลงเนื่องจาก
อังกฤษพยายามจะยึดเมืองมะริ ดแต่ถกขับไล่ออกไปจึงทาให้อยุธยากับอังกฤษประกาศ
                                      ู
                                         ็
สงครามต่อกัน แม้สงครามจะไม่เกิดแต่กทาให้เหินห่างกันไปและยุติลงอย่างเด็ดขาด
          ความสั มพันธ์ กบฝรั่งเศส
                           ั
                    ความสัมพันธ์กบฝรั่งเศสเป็ นระยะเวลาค่อนข้างสั้น จุดมุ่งหมายหลัก
                                    ั
               ่
ของฝรั่งเศสอยูที่การติดต่อการค้ากับไทยและพยายามโน้มน้าวคนไทยให้นบถือศาสนาั
คริ สต์นิกายโรมันคาทอลิก แต่ฝ่ายไทยให้ความสนใจในเรื่ องการค้าและความสัมพันธ์
ทางการทูตมากกว่า
ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักร
   ธนบุรีกบอาณาจักรต่ างๆ
          ั
ความสั มพันธ์ กบพม่ า
                           ั
                      จะปรากฏในรู ปของความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็ นฝ่ ายตั้งรับ
การรุ กรานของพม่า หลังจากได้รับเอกราช ต้องทาสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่ วนใหญ่พม่า
                                                   ่
เป็ นฝ่ ายปราชัย ครั้งสาคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุนกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ. 2318 ครั้งนั้นเจ้าพระยา
จักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุ รสี ห์ สองพี่นองได้ร่วมกันป้ องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุ ด
                                                 ้
ความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่ พลเหนือกว่าจึงตีหกเอาเมืองได้
                                                     ั




                               ศึกอะแซหวุ่นกีตีเมืองเหนือ
                                             ้
ความสั มพันธ์ กบกัมพูชา
                           ั
                    กัมพูชาเป็ นเมืองขึ้นของไทยมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ครั้งกรุ งศรี อยุธยาแตก
กัมพูชาก็ต้ งตนเป็ นอิสระ แต่ครั้นเวลาล่วงมา 2 ปี กัมพูชาก็เกิดจลาจลขึ้น สมเด็จพระนารายณ์
            ั
              ์ั
ราชา กษัตริ ยกมพูชาในขณะนั้นเกิดการแย่งอานาจกันขึ้นกับ สมเด็จพระรามราชา
พระมหาอุปราช พระนารายณ์ราชาขอกาลังจากญวนมาช่วยปราบ สมเด็จพระรามราชาสู้ไม่ได้
จึงหนีมาขอความช่วยเหลือจากไทย
          ความสั มพันธ์ กบล้ านช้ าง
                         ั
                    สมัยล้านช้างแตกพักพวก ในสมัยนั้น อาณาจักรล้านช้าง ได้แบ่งเป็ น 3
อาณาจักร ได้แก่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และ จาปาศักดิ์ สาเหตุ เนื่องจากล้านช้างมีปัญหาภายใน
ราชวัง ล้านช้างได้แตกพักพวก จึงเกิดมี 3 อาณาจักร ที่ขดแย้งกัน ทาให้อาณาจักร ล้านช้างอ่อน
                                                        ั
กาลังลง พระเจ้าตากสิ นได้ท่า ก็เลยหาข้ออ้างทาศึกกับล้านช้าง การทาศึกเกิดขึ้นจากการทาศึก 2
ครั้ง
ความสั มพันธ์ กบล้ านนา
                           ั
                    ไทยพยายามขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาได้สาเร็ จ แต่ไม่สามารถรักษา
ล้านนาไว้ได้ เพราะเมื่อทัพกรุ งธนบุรีออกจากล้านนา ทัพพม่าก็เข้ามาคุกคามล้านนา
อีก สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชคงทรงพิจารณาเห็นว่าล้านนาเป็ นเมืองซึ่ งพม่าใช้เป็ นฐาน
ทัพเสมอ ทุกครั้งที่พม่ายกทัพมาตีเมืองไทย ทุกครั้งที่พม่ามารบไทย ก็ใช้ลานนาเป็ นคลัง
                                                                         ้
เสบียงอาหาร จึงต้องทรงยกทัพไปตีเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2317 หลังจากนั้นล้านนาก็เป็ น
อิสระ โดยมีกรุ งธนบุรีคุมกันอยู่
                         ้
          ความสั มพันธ์ กบมลายู
                             ั
                    หัวเมืองมลายู ได้แก่ เมืองปั ตตานี ไทรบุรี กลันตัน และ ตรังกานู เคย
เป็ นเมืองขึ้นของไทยมาตลอดสมัยกรุ งศรี อยุธยา เพิ่งมาแยกตัวเมื่อกรุ งศรี อยุธยาแตก เมื่อปี
พ.ศ. 2310 ส่ วนเมืองปั ตตานี และ ไทรบุรี ในตอนต้นสมัยกรุ งธนบุรีน้ น ยังสวามิภกดิ์อยู่
                                                                       ั          ั
เพิงมาแข็งข้อทีหลัง สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชทรงตีได้เมืองนครศรี ธรรมราช สงขลา
    ่
พัทลุง แต่มิได้ยกทัพไปตีเมืองมลายู จึงปล่อยให้หวเมืองมลายูเป็ นอิสระ
                                                   ั
ความสั มพันธ์ กบจีน
                            ั
                         หลังจากเสี ยกรุ งศรี อยุธยา การติดต่อกาค้าไทยกับจีนได้อยุดชะงักลง แต่ก็
ได้มาเริ่ มใหม่ เมื่อจีนยอมรับเครื่ องราชบรรณาการจากกรงธนบุรี ปี พ.ศ. 2324 สมเด็จพระเจ้าตาก
สิ นมหาราชทรงส่ งราชทูตไปกรุ งปักกิ่ง โดยมี เจ้าพระยาศรี ธรรมาธิราช เป็ นหัวหน้าราชทูต
ความสัมพันธ์ดานการค้าระหว่างไทยกับจีนเริ่ มต้นจากการค้าข้าวเป็ นสาคัญ ต่อมาได้ขยายเพิ่มขึ้น
                  ้
โดยประเทศจีนได้ส่งสิ นค้าพื้นเมืองจากแต้จ๋ิวมาขาย ที่สาคัญ คือ เครื่ องลายคราม ผ้าไหม ผักดอง
และเสื่ อ เป็ นต้น เที่ยวกลับก็จะซื้อสิ นค้าจากไทย อาทิ ข้าว เครื่ องเทศ ไม้สก ดีบุก ตะกัว กลับไปยัง
                                                                             ั           ่
เมืองจีนด้วย เช่นกัน




                                                                 เครื่องลายคราม
ความสั มพันธ์ กบฮอลันดา
                           ั
                      ปี พ.ศ. 2313 ชาวฮอลันดาจากเมืองปั ตตาเวีย (จาการ์ตา) และ พวกแขก
เมืองตรังกานู ได้เข้าเฝ้ าฯ สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช เพื่อถวายปื นคาบศิลาจานวน 2,200
กระบอก และ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง




                                      ปื นคาบศิลา
ความสั มพันธ์ กบอังกฤษ
                         ั
                       ่
                   มีพอค้าชาวอังกฤษจากเกาะปี นัง ซึ่งไทยได้ติดต่อซื้อปื นนกสับ จานวน
                    ั
1,400 กระบอก มาสู้กบพม่า พร้อมกับสิ่ งของเครื่ องราชบรรณาการต่างๆ ต่อมามีการ
แลกเปลี่ยนพระราชสาส์นกัน

More Related Content

What's hot

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 

What's hot (20)

การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 

Viewers also liked

เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Nathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsApp
Nathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsAppNathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsApp
Nathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsAppSwnathews
 
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and ProfitBarcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and ProfitPrathan Phongthiproek
 
CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)oreyesc
 
Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...
Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...
Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...Kalle
 
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...ZFConf Conference
 
Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...
Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...
Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...Kalle
 

Viewers also liked (13)

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
Nathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsApp
Nathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsAppNathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsApp
Nathews_Sam_Supporting_Materials_PRNewsApp
 
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and ProfitBarcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
 
TEMA 5A Vocabulario
TEMA 5A VocabularioTEMA 5A Vocabulario
TEMA 5A Vocabulario
 
นิกิต้า ครุสชอฟ
นิกิต้า  ครุสชอฟนิกิต้า  ครุสชอฟ
นิกิต้า ครุสชอฟ
 
CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)
 
Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...
Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...
Kinnunen Towards Task Independent Person Authentication Using Eye Movement Si...
 
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
 
Ourense
OurenseOurense
Ourense
 
Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...
Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...
Nagamatsu User Calibration Free Gaze Tracking With Estimation Of The Horizont...
 
Ina Cookies
Ina CookiesIna Cookies
Ina Cookies
 

Similar to ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 

Similar to ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4 (20)

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4

  • 1. ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักรของไทย กับอาณาจักรต่ างๆ กลุ่ม 4 1. นายกฤษฎาภิวฒน์ วงค์ใหญ่ ั เลขที่ 1 2. นายจิรายุส เจนใจ เลขที่ 3 3. นายเจษฎา นันไชยวงค์ เลขที่ 4 4. นายพัชรดนย์ มากอยู่ 5. นายยศวัฒน์ คาสมุทร เลขที่ 7 เลขที่ 9 ม.6/3 6. นายศุภโชค ใจดี เลขที่ 10 7. นายสุ ทธิสิทธิ์ บัณฑิตชู สกุล เลขที่ 12 เสนอ ครูสายพิน วงษารัตน์
  • 2. ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักร สุโขทัยกับอาณาจักรต่ างๆ
  • 3. อาณาจักรสุ โขทัย มีการสร้างความสัมพันธ์กบต่างประเทศ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ั แตกต่างกันออกไป โดยมีความสัมพันธ์กบดินแดนต่าง ๆ ดังนี้ ความสั มพันธ์ กบมอญ ั ความสัมพันธ์ระหว่างสุ โขทัยกับมอญส่ วนใหญ่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาลัทธิเถรวาท ั มีความสัมพันธ์กนทางเครื อญาติในสมัยพ่อขุนรามคาแหง โดยมะกะโท พ่อค้ามอญได้แต่งงาน กับพระราชธิดาของพ่อขุนรามคาแหงแล้วหนีไปอยูเ่ มืองเมาะตะมะ ภายหลังได้เป็ นพระเจ้า แผ่นดินมอญทรงพระนามว่า พระเจ้าฟ้ ารั่วและสวามิภกดิ์ต่อไทย แต่หลังรัชกาลเจ้าฟ้ ารั่วแล้ว ั มอญก็แยกตัวเป็ นอิสระ
  • 4. ความสั มพันธ์ กบจีน ั ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุ โขทัยกับจีน มีมาตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหง ส่ วน ใหญ่เป็ นความสัมพันธ์ดานการค้า ระบบราชบรรณาการในสมัยพระเจ้าหงวนสี โจ๊วแห่งราชวงศ์ ้ หงวน ได้ดาเนินนโยบายส่ งทูตไปเจริ ญสัมพันธไมตรี กบประเทศต่าง ๆ พร้อมทั้งชักชวนให้ส่งทูต ั ไปติดต่อและส่ งเครื่ องราชบรรณาการให้แก่จีน เพื่อเป็ นการกระชับมิตร ให้แน่นแฟ้ นยิงขึ้น ่ ไป ได้แลกเปลี่ยนคณะทูตกันอีกหลายครั้ง นอกจากนั้นอาณาจักสุ โขทัย ยังรับประโยชน์จากจีน โดยการรับวิทยาการเรื่ องเทคนิคการทาเครื่ องปั้ นดินเผาแบบใหม่ คือการทาเครื่ องสังคโลก ที่มี คุณภาพสามารถเป็ นสิ นค้าส่ งออก นารายได้มาสู่อาณาจักรสุ โขทัยเป็ นจานวนมาก รู ป โถฝาเคลือบ
  • 5. ผลจากการเปิ ดสั มพันธภาพกับจีน 1. ทางด้านการเมือง ทาให้อาณาจักรสุ โขทัยรอดพ้นจากการรุ กรานจากจีน นอกจากนั้นจีนยัง ไม่เข้าแทรกแซงการขยายอาณาเขตของไทยไปยังแหลมมลายูจนเกินขอบเขต 2. ทางด้านเศรษฐกิจ เป็ นการส่ งเสริ มการค้าระหว่างไทยกับจีน ในระบบบรรณาการทาให้ไทย ได้รับประโยชน์จากการค้าระบบนี้ โดยคณะทูต ได้รับอนุญาตให้มีการซื้ อขายสิ นค้าโดยไม่ตองเสี ยภาษี ้ 3. ทาให้เกิดอุตสาหกรรมผลิตเครื่ องสังคโลกขึ้น ผลิตตั้งแต่ชิ้นใหญ่ลงไปถึงชิ้นเล็ก ๆ โดยเฉพาะบริ เวณสุโขทัยและสวรรคโลก ต่อมาการผลิตเครื่ องสังคโลกได้มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ วทา ให้เศรษฐกิจสุ โขทัยเจริ ญขึ้นด้วยการส่ งเครื่ องสังคโลกไปจาหน่ายยังเมืองต่าง ๆ 4. ทางด้านวัฒนธรรม ชาวไทยยุคนี้ได้รับวัฒนธรรมบางอย่างจากจีน เช่นการจุดดอกไม้ไฟ เครื่องสั งคโลก
  • 6. ความสั มพันธ์ กบลังกา ั ั อาณาจักรสุ โขทัยกับลังกาส่ วนใหญ่มีความสัมพันธ์กนทางด้าน พระพุทธศาสนาในสมัยพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ สุ โขทัยได้รับพระพุทธศาสนาลัทธิ ลังกาวงศ์มาจากเมืองนครศรี ธรรมราช เป็ นสมัยที่ให้การยอมรับพระพุทธศาสนา เป็ นศาสนาประจาชาติ โดยพระองค์ทรงนิมนต์พระสงฆ์มาจากเมืองนครศรี ธรรมราช ่ มาประจาอยูที่สุโขทัยและแสดงธรรมในวันธรรมสวนะ (วันพระ) และช่วยส่ งเสริ ม ทางการศึกษา ทางศาสนาและการปฏิบติทางวินย นอกจากนั้นยังมีประเพณี ในด้าน ั ั ศาสนาเกิดขึ้นแล้ว เช่น การทาบุญ การทอดกฐินในสมัยพระเจ้าเลอไท
  • 7. ผลดีจากการเปิ ดสั มพันธภาพกับลังกา 1. อาณาจักรสุ โขทัยได้รับแบบอย่างพระพุทธศาสนาลัทธิ ลงกาวงศ์มาปฏิบติ ั ั อย่างจริ งจัง 2. ไทยได้รับมรดกทางด้านศิลปะมาถือปฏิบติ เช่น การสร้างโบสถ์ วิหาร ั 3. ไทยได้รับมรดกทางวัฒนธรรม เช่น งานพระราชพิธีในพระราชสานัก พระราชพิธีเกี่ยวกับงานนักขัตฤกษ์ในพระพุทธศาสนา พระพุทธสิ หิงค์ ซึ่งทางสุ โขทัยรับมอบมาจากลังกา ปัจจุบนประดิษฐานอยู่ในพระทีนั่งพุทไธสวรรย์ ั ่ พิพธภัณฑสถานแห่ งชาติ กรุงเทพมหานคร ิ
  • 8. ความสั มพันธ์ กบกัมพูชา ั บริ เวณแว่นแคว้นต่าง ๆ ในประเทศไทยโดยเฉพาะ ภาคกลางได้มีการเกี่ยวข้องกับ กัมพูชามาก่อนการตั้งอาณาจักรสุ โขทัย ต่อจากนี้ได้ขยายอิทธิพลไปยังบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ เกือบทั้งหมด มีการพบร่ องรอยอิทธิพล ทางด้านศิลปวัฒนธรรมของขอมตามศาสนสถานที่ ประกอบด้วยทั้งพระปรางค์ และปราสาท เช่น พระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี ปราสาทเมือง สิ งห์ จังหวัดกาญจนบุรี อันแสดงให้เห็นอิทธิพลในทางพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานทั้งสิ้ น นอกจากนั้นกัมพูชาและบ้านเมืองไทย ยังมีความเกี่ยวข้องทางการเมืองด้วย กล่าวคือ กษัตริ ยของ ์ ั กัมพูชา และรัฐต่าง ๆในเมืองไทย มีความสัมพันธ์ทางเครื อญาติกน เช่น กษัตริ ยขอมพระราชทาน ์ พระธิดาให้พอขุนผาเมืองแห่งเมืองราด ซึ่ งนาไปสู่การก่อตั้งอาณาจักรสุ โขทัยภายหลัง ่ ศาลตาผาแดง ในบริเวณเมืองเก่ าสุ โขทัย เป็ นศาสนสถานก่ อด้ วยศิลาแลง เป็ นเทวาลัยในศาสนาพราหมณ์
  • 9. ความสั มพันธ์ กบอาณาจักรล้ านนา ั อาณาจักรสุ โขทัยกับล้านนา มีความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดกันมากโดยพญามังรายเจ้า เมืองเงินยางและพญางาเมือง เจ้าเมืองพะเยา แห่งอาณาจักรล้านนา เป็ นมิตรสหายที่ดีของ พ่อขุน รามคาแหงมาตั้งแต่เยาว์วย กษัตริ ยท้ งสามพระองค์ได้ทาสัญญาเป็ นมิตรไมตรี ที่ดีต่อกันอย่างแน่น ั ์ ั แฟ้ น ต่อมาพ่อขุนรามคาแหงได้เสด็จขึ้นไปยังอาณาจักรล้านนา พร้อมกับพญางาเมืองเพื่อช่วย พญามังรายเลือกชัยภูมิที่ดีในการสร้างราชธานีที่เมืองเชียงใหม่ มีชื่อว่า “นพบุรีศรี นครพิงค์ เชียงใหม่” พระบรมราชานุสรณ์ สามกษัตริย์ ตั้งอยู่หน้ าศาลากลาง จังหวัดเชียงใหม่
  • 10. ความสั มพันธ์ กบเมืองนครศรีธรรมราช ั ั อาณาจักรสุ โขทัยกับเมืองนครศรี ธรรมราช เริ่ มมีความสัมพันธ์กนตั้งแต่พอ่ ั ขุนศรี อินทราทิตย์ได้เสด็จไปเจริ ญสัมพันธไมตรี กบพระเจ้าจันทรภานุ กษัตริ ยแห่ง ์ นครศรี ธรรมราชและเคยโปรดเกล้าฯให้ติดต่อขอพระพุทธสิ หิงค์จากลังกามาประดิษฐานยังกรุ ง สุ โขทัย และในสมัยพ่อขุนรามคาแหงได้นาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลงกาวงศ์ จากั นครศรี ธรรมราชขึ้นมาเผยแผ่ยงสุ โขทัยทาให้พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลงกาวงศ์มนคง ั ั ั่ ในสุ โขทัยนับตั้งแต่น้ นมา ั ความสั มพันธ์ กบอาณาจักรอยุธยา ั ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุ โขทัยกับอาณาจักรอยุธยา เริ่ มขึ้นในสมัย สมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงยกทัพขึ้นมายึดเมือง พิษณุโลก ของอาณาจักรสุ โขทัย ทาให้สุโขทัยต้องส่ งเครื่ องบรรณาการพร้อมคณะทูตเดินทาง ไปเจรจา ขอเมืองพิษณุโลกคืน ซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงพระราชทาน เมืองพิษณุโลกคืน ให้แก่สุโขทัย
  • 11. ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักร อยุธยากับอาณาจักรต่ างๆ
  • 12. ความสั มพันธ์ กบล้ านนา ั มีลกษณะเป็ นการทาสงครามมากกว่าการเป็ นไมตรี ต่อกัน สงคราม ั ระหว่างอยุธยาและล้านนาได้เกิดขึ้นหลายครั้งในรัชสมัยพระยาติโลกราชแห่งล้านนากับ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุ งศรี อยุธยา ปรางค์ ประธานวัดจุฬามณี สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรง ขึนมาประทับยังเมืองพิษณุโลก ้ เพืออานวยการสงครามระหว่ าง ่ อยุธยากับล้ านนา
  • 13. ความสั มพันธ์ กบลาว(ล้ านช้ าง) ั ั ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์กนมาแต่โบราณ มีลกษณะเป็ นมิตรไมตรี ที่ดี ั ต่อกันหลักฐานสาคัญที่แสดงถึงสัมพันธไมตรี อนดีระหว่างไทยกับลาวก็คือการร่ วมกันสร้าง ั ่ พระธาตุศรี สองรัก ปั จจุบนพระธาตุศรี สองรักอยูท่ี อ.ด่านซ้าย จ.เลย ั พระธาตุศรีสองรักอยู่ที่ อ.ด่ านซ้ าย จ.เลย
  • 14. ความสั มพันธ์ กบพม่ า ั ไทยกับพม่าส่ วนใหญ่เป็ นการแข่งอิทธิพลและการขยายอานาจจึงทาให้ เกิดสงครามกันตลอดเวลาสาเหตุสาคัญมาจากที่พม่าต้องการขยายอานาจเข้ามาในอาณาจักร อยุธยาจึงทาให้อยุธยาตกเป็ นประเทศราชของพม่าถึง 2 ครั้งด้วยกัน นอกจากการทาสงคราม แล้วไทยกับพม่าก็ยงมีการติดต่อค้าขายกันในบางครั้งการทาสงครามระหว่างไทยกับพม่ามี ั สาเหตุจากการที่ไทยจับเรื อสาเภาของพม่าที่ไปค้าขายที่เมืองมะริ ดซึ่งเป็ นเมืองท่าที่สาคัญ ของไทยจึงทาให้พม่าไม่พอใจ สงครามระหว่ างอาณาจักรอยุธยากับประเทศพม่ า
  • 15. ความสั มพันธ์ กบเขมร ั ั เขมรเคยมีอิทธิพลในดินแดนไทย ทาให้เขมรมีความสัมพันธ์กบไทยในฐานะเมืองประเทศราช ตลอดสมัยอยุธยามีผลทาให้ไทยได้รับอิทธิพลจากเขมรในด้านต่างๆ ได้แก่ 1.ด้านการปกครอง – ไทยได้รับแนวความคิดที่กษัตริ ยทรงมีฐานะเป็ นสมมติเทพจากเขมรเข้ามาด้วย ์ 2.ไทยได้รับขนบธรรมเนียมประเพณี มาจากเขมร เช่น พระราชพิธีถือน้ าพิพฒน์สตยา ั ั 3.ด้านประติมากรรม – การหล่อพระพุทธรู ปยุคอู่ทอง เป็ นการหล่อพระพุทธรู ปสมัยอยุธยายุคแรกของ ไทยก็ได้แบบอย่างมาจากเขมร 4.ด้านวรรณคดี – ไทยนิยมใช้ภาษาขอมและภาษาบาลีสนสกฤตในวรรณคดีต่างๆ ั พระพุทธรูปยุคอู่ทอง พระราชพิธีถือนาพิพฒน์ สัตยา ้ ั
  • 16. ความสั มพันธ์ กบหัวเมืองมลายู ั ในสมัยอยุธยาตอนต้นได้มีการติดต่อกับหัวเมืองต่างๆทางใต้ของไทย หัวเมืองมลายูมีฐานะเป็ นประเทศราชของไทยจึงมีหน้าที่ส่งเครื่ องราชบรรณการพร้อมกับ ต้นไม้เงินต้นไม้ทองมาถวายกษัตริ ยไทย 3 ปี ต่อครั้ง อยุธยาจะดูแลความสงบเรี ยบร้อยของ ์ หัวเมืองมลายูหากหัวเมืองมลายูได้รับความเดือดร้อน อยุธยามีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ ความสั มพันธ์ กบญวน ั ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญวนมักจะเป็ นเรื่ องของการแข่งขันกันมี ่ อิทธิพลในเขมร แต่บางครั้งก็เป็ นมิตรไมตรี ตอกัน เมื่อญวนรบกันเองไทยสามารถขยาย ็ อิทธิพลและมีอานาจในเขมรได้อย่างสะดวก แต่เมื่อญวนรวมกาลังกันได้กจะขยายอานาจ เข้าไปในเขมร ทาให้เกิดสงครามกับไทยได้เหตุการณ์น้ ีเกิดขึ้นหลายๆครั้ง
  • 17. ความสั มพันธ์ กบจีน ั รู ปแบบความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับจีนเป็ นความสัมพันธ์ในรู ปแบบ รัฐบรรณาการในระบบความสัมพันธ์แบบรัฐบรรณาการนั้นจักรพรรดิจีนถือว่าอยุธยา คือ ั ประเทศราชของจักรวรรดิจีนแต่สาหรับอยุธยาแล้วถือว่าความสัมพันธ์กบจีนเป็ นรู ปแบบ ของการค้าการค้าและการทูตระหว่างจีนกับอยุธยา เป็ นผลให้ชาวจีนเข้ามาตั้งรกรากเป็ น ชุมชนขึ้นที่กรุ งศรี อยุธยาส่ วนใหญ่เป็ นพวกพ่อค้า มีความรู้ความชานาญด้านการค้าและการ เดินเรื อ
  • 18. ความสั มพันธ์ กบญี่ปุ่น ั มีการแลกเปลี่ยนคณะทูต ของกานัลและการค้าได้เข้ามาในรู ปของการทูตช่วง กลางพุทธศตวรรษ ที่ 22 ญี่ปุ่นกลายเป็ นตลาดการค้าที่สาคัญของอยุธยา เรื อสาเภาญี่ปุ่นที่จะ เดินทางค้าขายจะต้องได้รับใบอนุญาตเรี ยกว่า ใบเบิกร่ องก่อนปลายพุทธศตวรรษที่ 22 อยุธยากับ ญี่ปุ่นไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตต่อกันเพราะญี่ปุ่นประกาศปิ ดประเทศ ห้ามคนญี่ปุ่นออกนอก ประเทศอนุญาตให้เฉพาะฮอลันดาและจีนเท่านั้น แต่การค้าระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่นยังคงดาเนิน ต่อไป เรือสาเภาญี่ปน ุ่
  • 19. ความสั มพันธ์ กบโปรตุเกส ั โปรตุเกสเป็ นชาวยุโรปชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับอยุธยา โดยจุดมุ่งหมาย สาคัญคือ ต้องการผลประโยชน์ทางการค้าและเผยแผ่ศาสนาโปรตุเกสขายปื นและอาวุธ สงครามให้แก่อยุธยาเป็ นการแลกเปลี่ยนกับสิ ทธิในการค้า ความสั มพันธ์ กบสเปน ั สัมพันธภาพระหว่างไทยกับสเปนไม่ราบรื่ นและขาดความต่อเนื่อง เพราะว่าสเปนสนับสนุนให้เขมรเป็ นอิสระจากอยุธยา โดยหวังจะใช้เป็ นศูนย์กลางการค้า และเป็ นแหล่งเผยแผ่ศาสนาคริ สต์จึงบาดหมางกับไทยชาวสเปนไม่ได้ต้ งรกรากในกรุ งศรี ั อยุธยาจึงไม่ได้มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมหลงเหลือให้เห็นเด่นชัด
  • 20. ความสั มพันธ์ กบฮอลันดา ั ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับกรุ งศรี อยุธยาจุดมุ่งหมายสาคัญของฮอลันดา คือ ความต้องการซื้อสิ นค้าจากจีนและหาช่องทางเข้าไปค้าขายในจีนโดยอาศัยเรื อสาเภาของ ไทย แต่ไทยยินดีตอนรับเฉพาะเรื่ องที่ชาวฮอลันดาเข้ามาค้าขายเท่านั้นในช่วงพุทธศตวรรษ ้ ที่ 23 การค้าของฮอลันดาที่กรุ งศรี อยุธยาค่อยๆลดความสาคัญลงเพราะมีอุปสรรค นานาประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบายการค้า ความผันผวนทางการเมือง ความสั มพันธ์ กบอังกฤษ ั ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษซบเซา และหยุดชะงักลงเนื่องจาก อังกฤษพยายามจะยึดเมืองมะริ ดแต่ถกขับไล่ออกไปจึงทาให้อยุธยากับอังกฤษประกาศ ู ็ สงครามต่อกัน แม้สงครามจะไม่เกิดแต่กทาให้เหินห่างกันไปและยุติลงอย่างเด็ดขาด ความสั มพันธ์ กบฝรั่งเศส ั ความสัมพันธ์กบฝรั่งเศสเป็ นระยะเวลาค่อนข้างสั้น จุดมุ่งหมายหลัก ั ่ ของฝรั่งเศสอยูที่การติดต่อการค้ากับไทยและพยายามโน้มน้าวคนไทยให้นบถือศาสนาั คริ สต์นิกายโรมันคาทอลิก แต่ฝ่ายไทยให้ความสนใจในเรื่ องการค้าและความสัมพันธ์ ทางการทูตมากกว่า
  • 21. ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาณาจักร ธนบุรีกบอาณาจักรต่ างๆ ั
  • 22. ความสั มพันธ์ กบพม่ า ั จะปรากฏในรู ปของความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็ นฝ่ ายตั้งรับ การรุ กรานของพม่า หลังจากได้รับเอกราช ต้องทาสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่ วนใหญ่พม่า ่ เป็ นฝ่ ายปราชัย ครั้งสาคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุนกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ. 2318 ครั้งนั้นเจ้าพระยา จักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุ รสี ห์ สองพี่นองได้ร่วมกันป้ องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุ ด ้ ความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่ พลเหนือกว่าจึงตีหกเอาเมืองได้ ั ศึกอะแซหวุ่นกีตีเมืองเหนือ ้
  • 23. ความสั มพันธ์ กบกัมพูชา ั กัมพูชาเป็ นเมืองขึ้นของไทยมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ครั้งกรุ งศรี อยุธยาแตก กัมพูชาก็ต้ งตนเป็ นอิสระ แต่ครั้นเวลาล่วงมา 2 ปี กัมพูชาก็เกิดจลาจลขึ้น สมเด็จพระนารายณ์ ั ์ั ราชา กษัตริ ยกมพูชาในขณะนั้นเกิดการแย่งอานาจกันขึ้นกับ สมเด็จพระรามราชา พระมหาอุปราช พระนารายณ์ราชาขอกาลังจากญวนมาช่วยปราบ สมเด็จพระรามราชาสู้ไม่ได้ จึงหนีมาขอความช่วยเหลือจากไทย ความสั มพันธ์ กบล้ านช้ าง ั สมัยล้านช้างแตกพักพวก ในสมัยนั้น อาณาจักรล้านช้าง ได้แบ่งเป็ น 3 อาณาจักร ได้แก่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และ จาปาศักดิ์ สาเหตุ เนื่องจากล้านช้างมีปัญหาภายใน ราชวัง ล้านช้างได้แตกพักพวก จึงเกิดมี 3 อาณาจักร ที่ขดแย้งกัน ทาให้อาณาจักร ล้านช้างอ่อน ั กาลังลง พระเจ้าตากสิ นได้ท่า ก็เลยหาข้ออ้างทาศึกกับล้านช้าง การทาศึกเกิดขึ้นจากการทาศึก 2 ครั้ง
  • 24. ความสั มพันธ์ กบล้ านนา ั ไทยพยายามขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาได้สาเร็ จ แต่ไม่สามารถรักษา ล้านนาไว้ได้ เพราะเมื่อทัพกรุ งธนบุรีออกจากล้านนา ทัพพม่าก็เข้ามาคุกคามล้านนา อีก สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชคงทรงพิจารณาเห็นว่าล้านนาเป็ นเมืองซึ่ งพม่าใช้เป็ นฐาน ทัพเสมอ ทุกครั้งที่พม่ายกทัพมาตีเมืองไทย ทุกครั้งที่พม่ามารบไทย ก็ใช้ลานนาเป็ นคลัง ้ เสบียงอาหาร จึงต้องทรงยกทัพไปตีเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2317 หลังจากนั้นล้านนาก็เป็ น อิสระ โดยมีกรุ งธนบุรีคุมกันอยู่ ้ ความสั มพันธ์ กบมลายู ั หัวเมืองมลายู ได้แก่ เมืองปั ตตานี ไทรบุรี กลันตัน และ ตรังกานู เคย เป็ นเมืองขึ้นของไทยมาตลอดสมัยกรุ งศรี อยุธยา เพิ่งมาแยกตัวเมื่อกรุ งศรี อยุธยาแตก เมื่อปี พ.ศ. 2310 ส่ วนเมืองปั ตตานี และ ไทรบุรี ในตอนต้นสมัยกรุ งธนบุรีน้ น ยังสวามิภกดิ์อยู่ ั ั เพิงมาแข็งข้อทีหลัง สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชทรงตีได้เมืองนครศรี ธรรมราช สงขลา ่ พัทลุง แต่มิได้ยกทัพไปตีเมืองมลายู จึงปล่อยให้หวเมืองมลายูเป็ นอิสระ ั
  • 25. ความสั มพันธ์ กบจีน ั หลังจากเสี ยกรุ งศรี อยุธยา การติดต่อกาค้าไทยกับจีนได้อยุดชะงักลง แต่ก็ ได้มาเริ่ มใหม่ เมื่อจีนยอมรับเครื่ องราชบรรณาการจากกรงธนบุรี ปี พ.ศ. 2324 สมเด็จพระเจ้าตาก สิ นมหาราชทรงส่ งราชทูตไปกรุ งปักกิ่ง โดยมี เจ้าพระยาศรี ธรรมาธิราช เป็ นหัวหน้าราชทูต ความสัมพันธ์ดานการค้าระหว่างไทยกับจีนเริ่ มต้นจากการค้าข้าวเป็ นสาคัญ ต่อมาได้ขยายเพิ่มขึ้น ้ โดยประเทศจีนได้ส่งสิ นค้าพื้นเมืองจากแต้จ๋ิวมาขาย ที่สาคัญ คือ เครื่ องลายคราม ผ้าไหม ผักดอง และเสื่ อ เป็ นต้น เที่ยวกลับก็จะซื้อสิ นค้าจากไทย อาทิ ข้าว เครื่ องเทศ ไม้สก ดีบุก ตะกัว กลับไปยัง ั ่ เมืองจีนด้วย เช่นกัน เครื่องลายคราม
  • 26. ความสั มพันธ์ กบฮอลันดา ั ปี พ.ศ. 2313 ชาวฮอลันดาจากเมืองปั ตตาเวีย (จาการ์ตา) และ พวกแขก เมืองตรังกานู ได้เข้าเฝ้ าฯ สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช เพื่อถวายปื นคาบศิลาจานวน 2,200 กระบอก และ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง ปื นคาบศิลา
  • 27. ความสั มพันธ์ กบอังกฤษ ั ่ มีพอค้าชาวอังกฤษจากเกาะปี นัง ซึ่งไทยได้ติดต่อซื้อปื นนกสับ จานวน ั 1,400 กระบอก มาสู้กบพม่า พร้อมกับสิ่ งของเครื่ องราชบรรณาการต่างๆ ต่อมามีการ แลกเปลี่ยนพระราชสาส์นกัน