SlideShare a Scribd company logo
สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช (พ.ศ.1893-2475)สมัยกรุ งศรีอยุธยา




กรุงศรี อยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้ าอูทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรี อยุธยามีการปกครองแบบราชาธิป
                                                   ่
ไตยหรื อสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออานาจอยูทกษัตริ ย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตาม
                                                   ่ ี่
แบบพวกเขมรว่ากษัตริ ย์เป็ นผู้ได้ รับอานาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริ ย์จึงเป็ น “สมมติเทพ” ทรงมีอานาจทีจะกาหนดชะตา
                                                                                                    ่
ชีวิตของใครก็ได้ จงเรียกระบบการปกครองนี ้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็ นแบบนายปกครอง
                  ึ
บ่าว หรื อ “เจ้ าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริ ย์กบประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้ าราชบริ พารเป็ นสือกลางระหว่างกษัตริ ย์ และ
                                             ั                                          ่
ประชาชน จึงเกิดเป็ นระบบเจ้ าขุนมูลนาย หรื อศักดินาขึ ้นระบบเจ้ าขุนมูลนายหรื อศักดินาเกิดขึ ้นเพราะกรุงศรี อยุธยาอยูใน
                                                                                                                     ่
สภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจาเป็ นต้ องให้ พลเมืองทุกคนอยูในสังกัดของเจ้ าขุนมูลนายเพื่อว่าเมือมีศกสงคราม
                                                      ่                                   ่ ึ
พระมหากษัตริ ย์จะได้ สงการ ให้ เจ้ าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทาสงครามปองกันบ้ านเมืองได้ พระเจ้ าอูทอง (พระ
                      ั่                                               ้                            ่
รามาธิบดีที่ 1) ทรงวางระบบการปกครองดังนี ้
ส่วนกลางเป็ นแบบจตุสดมภ์ โดยมีเสนาบดี 4 คน คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง และขุนนา เป็ นผู้ดแลกิจกรรมหลัก 4 ประการของ
                                                                                         ู
การบริ หารราชการแผ่นดิน มีการแบ่งหัวเมือง 3 ระดับ คือ หัวเมืองชันใน หัวเมืองชันนอก และเมืองประเทศราช
                                                                ้             ้


 สมัยพระบรมไตรโลกนาถ - สมัยรัชกาลที่ 4
ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031)มีการปรับปรุงระบบบริ หารใหม่โดยแยกเป็ นฝ่ ายทหารและพลเรื อนหัวหน้ า
ฝ่ ายพลเรื อน เรี ยกว่า“สมุหนายก” รับผิดชอบด้ านการบริ หารพลเรือนเกี่ยวกับ เมือง วัง คลัง นา หัวหน้ าฝ่ ายทหาร เรี ยกว่า
“สมุหกลาโหม” รับผิดชอบด้ านการทหารและปองกันประเทศ เช่น กรมช้ าง กรมม้ า กรมทหารราบ ส่วนในด้ านภูมิภ าคได้ มการ
                                      ้                                                                    ี
ปฏิรูปการปกครองโดยรวมอานาจไว้ ที่ศนย์กลาง คือ เมืองหลวง มากขึ ้นขยายเขตหัวเมืองชันในให้ กว้ างขวางขึ ้น หัวเมือง
                                  ู                                              ้
ชันนอกให้ เรี ยกเป็ นหัวเมืองชันเอก โท ตรี ตามลักษณะความสาคัญและขนาดของพื ้นที่ และส่งพระราชวงศ์ หรื อขุนนางไปดูแล
  ้                            ้
ต่างพระเนตรพระกรรณ เมืองประเทศราชยังคงให้ ปกครองตนเอง และส่งบรรณาการ 3 ปี ต่อครัง
                                                                                ้
ปลายสมัยกรุงศรี อยุธยา(สมัยพระเพทราชา) จึงมีการปรับปรุงระบบการปกครองอีกครังหนึง โดยแยกหัวเมืองนอกเขตราชธานี
                                                                          ้ ่
เป็ น 2 ภาค หัวเมืองภาคเหนือให้ สมุหนายกเป็ นผู้รับผิดชอบ ทังฝ่ ายทหารและพลเรื อน หัวเมืองภาคใต้ ให้ สมุหกลาโหม เป็ น
                                                            ้
ผู้รับผิดชอบดูแล ทังฝ่ ายทหารและพลเรื อนเช่นกัน ในด้ านการปกครอง มีการปรับปรุงหัวเมืองภูมภาค 3 ส่วน คือ หัวเมืองฝ่ าย
                   ้                                                                     ิ
เหนือ สังกัดสมุหนายก หัวเมืองฝ่ ายใต้ สังกัดสมุหกลาโหม หัวเมืองชายทะเลตะวันออก และเมืองท่า สังกัดกรมท่า
ในสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ตอนต้ น ยังคงใช้ รูปแบบการปกครองแบบอยุธยาตอนปลายแต่บทบาทกษัตริ ย์ในฐานะ
สมมติเทพเริ่ มค่อย ๆลดความสาคัญลง โดยเฉพาะรัชกาลที่ 4 ทรงดื่มน ้าพิพฒน์สตยาร่วมกับขุนนางข้ าราชการทังหลาย จึงทา
                                                                    ั ั                             ้
ให้ ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริ ย์กบประชาชนมีความใกล้ ชิดกันมากขึนเหมือนสมัยสุโขทัย
                                 ั                             ้


สมัยรัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2411 - 2475)


สมัยรัชกาลที่ 5 มีการปรับปรุงระบบบริ หารราชการแผ่นดินครังใหญ่ เรี ยกว่า “การปฏิรูปการปกครอง”อันนามาซึงความเจริ ญ
                                                        ้                                            ่
อย่างมากมายในปั จจุบน การปฏิรูปการปกครองที่สาคัญ ได้ แก่
                    ั

1)การจัดระเบียบบริ หารราชการส่วนกลาง ให้ ยกเลิกตาแหน่งสมุหกลาโหม สมุหนายก และจตุสดมภ์แล้ วแบ่งส่วนราชการเป็ น

12 กระทรวง มีเสนาบดีเป็ นผู้วาราชการกระทรวง แต่ละกระทรวงมีหน้ าที่และความรับผิดชอบเป็ นสัดส่วนแน่นอน ไม่ก้าวก่าย
                             ่
กันเหมือนแต่ก่อน เช่นกระทรวงมหาดไทยดูแลหัวเมืองฝ่ ายเหนือและเมืองลาว กระทรวงกลาโหมดูแลหัวเมืองฝ่ ายใต้ ตะวันออก
แหลมมลายู กระทรวงการต่างประเทศดูแลในเรื่ องความสัมพันธ์กบต่างประเทศ กระทรวงนครบาล รับผิดชอบด้ านความสงบ
                                                        ั
เรี ยบร้ อยภายในเมืองหลวงกระทรวงพระคลังมหาสมบัติดแลในการจัดเก็บภาษี และหาเงินเข้ าท้ องพระคลังเป็ นต้ น
                                                 ู
2)การจัดการปกครองส่วนภูมิภาค ยกเลิกระบบเมืองเอก โท ตรี แต่ให้ รวมหัวเมืองภาคเหนือ ภาคใต้ และเมืองท่าตังเป็ น
                                                                                                      ้
“มณฑล”ขึ ้นกับกระทรวงมหาดไทยมี สมุหเทศาภิบาล หรื อข้ าหลวงเทศาภิบาลเป็ นผู้ปกครองมณฑล แต่ละมณฑล

ประกอบด้ วยเมือง มีผ้ วาราชการเมืองเป็ นผู้ปกครอง แต่ละเมืองยังแบ่งเป็ นอาเภอมีนายอาเภอเป็ นผู้ปกครอง แต่ละอาเภอ
                      ู่
แบ่งเป็ นตาบล แต่ละตาบลแบ่งออกเป็ นหมูบ้าน กานันและผู้ใหญ่บ้านที่มาจากการเลือกตังเป็ นผู้ปกครองตาบลและหมูบ้าน
                                      ่                                         ้                        ่
3)การปกครองส่วนท้ องถิ่น รัชกาลที่ 5 ทรงเล็งเห็นประโยชน์ที่จะให้ ประชาชนมีสวนร่ วมในการปกครองตนเอง จึงโปรดเกล้ าฯ
                                                                           ่
ให้ จดตัง้ “สุขาภิบาล” ซึงลักษณะคล้ ายเทศบาลในปั จจุบน สุขาภิบาลแห่งแรกคือสุขาภิบาลกรุงเทพฯ และสุขาภิบาลท่าฉลอม
     ั                   ่                           ั
(จังหวัดสมุทรสาคร) เป็ นสุขาภิบาลหัวเมือง เป็ นการทดลองรูปแบบการปกครองส่วนท้ องถิ่น ซึงปรากฏว่าการดาเนินงานของ
                                                                                      ่
สุขาภิบาลทัง้ 2 แห่งได้ ผลดียงจึงได้ ตราเป็ นพระราชบัญญัติสขาภิบาล พ.ศ.2458 แบ่งสุขาภิบาลเป็ น 2 แบบ คือ สุขาภิบาล
                             ิ่                            ุ
เมือง และตาบล เพื่อขยายกิจการสุขาภิบาล ให้ แพร่หลายไปยังท้ องถิ่นอื่น ๆการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นการ
วางรากฐานการปกครองในสมัยต่อมา มีการแก้ ไขปรับปรุงบางส่วนให้ เหมาะสมยิ่งขึ ้น ทาให้ ประเทศมีระบบการบริ หารที่
ทันสมัย มีเอกภาพและมันคง
                     ่


สมัยประชาธิปไตย (พ.ศ.2475-2535) สมัยรัชกาลที่ 7-ก่ อน 14 ตุลาคม 2516

รูปแบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 6-7 ยังคงยึดรูปแบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5มีการปรับปรุงแก้ ไขบ้ างเพียงเล็กน้ อย ทัง้ 2
พระองค์ได้ ตระหนักถึงการเปลียนแปลงการปกครองที่คงจะมีขึ ้นในภายข้ างหน้ า สมัยรัชกาลที่ 6 ได้ มีการจัดตัง้ “ดุสตธานี” ให้
                            ่                                                                                 ิ
เป็ นนครจาลองในการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเมื่อวันที่ 24 มิถนายน พ.ศ.2475 หลังจากที่รัชกาลที่ 7 ทรงครองราชย์ได้
                                                           ุ
7 ปี   คณะผู้ก่อการซึงเรี ยกตัวเองว่า “คณะราษฎร์ ” ประกอบด้ วยทหารบก ทหารเรื อและพลเรื อน จานวน 99 คน ได้ ทาการยึด
                     ่
อานาจ และเปลียนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราช หรื อ “ราชาธิปไตย” มาเป็ นระบบการปกครองแบบ
             ่
“ประชาธิปไตย” และได้ อญเชิญรัชกาลที่ 7 ขึ ้นเป็ นกษัตริ ย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญ นับได้ วารัชกาลที่ 7 ทรงเป็ นกษัตริ ย์องค์แรกใน
                      ั                                                             ่
ระบอบประชาธิปไตย


มูลเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475

1.ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทัวโลก หลังสงครามโลก รัฐบาลต้ องการลดรายจ่าย
                     ่                                                     โดยปลดข้ าราชการบางส่วนออก ผู้ถกปลดไม่
                                                                                                          ู
พอใจ
2.ผู้ที่ไปเรี ยนจากต่างประเทศเมือกลับมาแล้ วต้ องการเปลียนแปลงประเทศให้ ทนสมัยเหมือนประเทศที่เจริ ญแล้ ว
                                ่                       ่                ั
3.ความเหลือมล ้าตาสูงระหว่างข้ าราชการและประชาชน จึงต้ องการสิทธิเสมอภาคกัน
          ่      ่
4.ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไม่สามารถแก้ ปัญหาพื ้นฐานชีวตของราษฎรได้
                                                      ิ

ลักษณะการปกครองหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475


1.พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขภายใต้ รัฐธรรมนูญ

2.รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
3.อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทยและเป็ นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ

4.ประชาชนใช้ อานาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภา รัฐบาลและศาล

5.ประชาชนมีสทธิเสรี ภาพเท่าเทียมกัน
            ิ
6.ประชาชนเลือกตัวแทนในการบริ หารประเทศ ซึงเรี ยกว่า รัฐบาล หรื อคณะรัฐมนตรี
                                         ่
7.   ในการบริ หารราชการแผ่นดิน แบ่งเป็ น 3 ส่วนคือ

- การปกครองส่วนกลาง แบ่งเป็ น กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ

- การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งเป็ น จังหวัด และอาเภอ

- การปกครองส่วนท้ องถิ่นแบ่งเป็ นองค์การบริ หารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และองค์การบริ หารส่วนตาบล

การเปลียนแปลงการปกครองของไทยเป็ นไปอย่างสงบไม่รุนแรงเหมือนบางประเทศอย่างไรก็ตามลักษณะการเมืองการ
       ่
ปกครองมิได้ เป็ นประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์ อานาจบางส่วนตกอยูกบผู้นาทางการเมือง หรื อผู้บริ หารประเทศ มีการขัดแย้ งกัน
                                                        ่ ั
ในด้ านนโยบายมีการแย่งชิงผลประโยชน์ เป็ นเหตุให้ เกิดการปฏิวติรัฐประหารขึ ้นหลายครังระบบการปกครองของไทย จึงมี
                                                            ั                      ้
ลักษณะกลับไปกลับมาระหว่างประชาธิปไตยกับคณาธิปไตย (การปกครองโดยคณะปฏิวติ)
                                                                     ั

ประชาธิปไตย หลัง 14 ตุลาคม 2516


จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี เมือปี 2511 หลังมีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                                                 ่
พุทธศักราช 2511 ซึงใช้ เวลาร่างถึง 10 ปี แต่หลังจากบริ หารประเทศมาเพียง 3 ปี เศษ จอมพลถนอม กิตติขจร และคณะได้ ทา
                  ่
การปฏิวตตนเองและล้ มเลิก รัฐธรรมนูญฉบับนี ้ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 และได้ เข้ าควบคุมการบริ หารประเทศ ใน
       ัิ
ฐานะหัวหน้ าคณะปฏิวติ การบริ หารประเทศโดยคณะปฏิวติ ซึงนาโดย จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร
                   ั                            ั ่
และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร หรื อกลุม ถนอม-ประภาส-ณรงค์ ถูกมองว่าเป็ นการทาการปฏิวติเพื่อผลประโยชน์ของตนเองและ
                               ่                                             ั
กลุม มีการคอร์ รัปชันเกิดขึ ้นมากมายในที่สด นิสต นักศึกษา และประชาชนได้ ร่วมกันเรี ยกร้ องรัฐธรรมนูญและขับไล่รัฐบาล จน
   ่                ่                     ุ ิ
นาไปสูเ่ หตุการณ์นองเลือดในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ซึงเรี ยกเป็ น “วันมหาวิปโยค” และในที่สดจอมพลถนอม กิตติขจรและ
                                                   ่                                    ุ
คณะต้ องลาออกจากตาแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516

นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี ระยะหนึงในระยะนี ้ถือว่าเป็ นการตื่นตัวในทางประชาธิปไตยอย่างมาก มีการ
                                                      ่
เรี ยกร้ องสิทธิเสรี ภาพมากขึ ้น มีการจัดหยุดงาน (Strife) มีการแสดงออกในทางเสรี ภาพด้ านการพูด การเขียน จานวน
หนังสือพิมพ์ได้ มีออกจาหน่ายมากขึ ้น มีกลุมพลังทางการเมืองเกิดขึ ้นมากมาย มีการเดินขบวน เพื่อเรี ยกร้ องสิทธิและ
                                          ่
ผลประโยชน์หลายครังเหตุการณ์เหล่านี ้ได้ สร้ างความเบื่อหน่ายให้ กบประชาชนเรื่ อยมา อีกทังคุณภาพของผู้แทนราษฎรไม่ดีไป
                 ้                                               ั                      ้
กว่าเดิม นิสตนักศึกษาได้ เข้ าไปยุงเกี่ยวในเหตุการณ์วนวายต่างๆ
            ิ                     ่                  ุ่
จนในที่สดเกิดวิกฤติการณ์นองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ทหารในนาม “คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” ได้ เข้ ายึดอานาจจาก
        ุ
รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินได้ แต่งตังนายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็ นนายกรัฐมนตรี นาย
                                                                 ้
ธานินทร์ กรัยวิเชียร บริ หารประเทศมาได้ เพียง 1 ปี

คณะปฏิรูปฯ ได้ ยดอานาจอีกครังหนึง และครังหลังนี ้ได้ แต่งตังพลเอก เกรี ยงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี พลเอก เกรี ยง
                ึ           ้ ่         ้                  ้
ศักดิ์ ชมะนันท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี จนถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2523 จึงได้ ลาออกจากตาแหน่ง

พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรีตอจาก พลเอก เกรี ยงศักดิ์ ชมะนันท์ ดารงตาแหน่งมาจนถึงวันที่ 4
                                                  ่
สิงหาคม 2531 รวมระยะเวลา 8 ปี เศษได้ มีการปรับปรุงคณะรัฐบาลหลายครัง ในระหว่างดารงตาแหน่ง มีผ้ พยายามทาการ
                                                                  ้                           ู
รัฐประหารถึง 2 ครัง แต่ไม่สาเร็ จ สมัย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้ ชื่อว่าเป็ นหัวเลี ้ยวหัวต่อที่สาคัญ ทางด้ านการเมืองการ
                  ้
ปกครองมีการพัฒนาโครงสร้ างทางการเมือง ให้ เข้ มแข็งรวมถึงการพัฒนาโครงสร้ างทางด้ านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ให้ ก้าวหน้ าด้ วย

พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี ต่อจากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531 และถือได้
ว่าเป็ นคณะรัฐมนตรี ที่มาจากการเลือกตัง้ ซึงเป็ นความชอบธรรมในกระบวนการบริ หารตามระบอบประชาธิปไตย
                                           ่

รัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้ ถกคณะทหารซึงเรี ยกตนเองว่า คณะรักษาความสงบเรี ยบร้ อยแห่งชาติทาการยึดอานาจ
                                  ู         ่
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 และได้ แต่งตังให้ นายอานันท์ ปั นยารชุน เป็ นนายกรัฐมนตรี
                                            ้

คณะรัฐบาลของนายอานันท์ ปั นยารชุน ทาการบริ หารประเทศมาได้ ปีเศษจึงพ้ นจากตาแหน่งไปเมื่อมีรัฐบาลชุดใหม่นาโดย
พลเอก สุจินดา คราประยูร เป็ นนายกรัฐมนตรี

รัฐบาลโดยพลเอก สุจินดา คราประยูร ไม่ได้ ผานการเลือกตังจึงถูกต่อต้ านจากพรรคการเมืองบางพรรค นิสตนักศึกษา และ
                                         ่           ้                                        ิ
ประชาชนบางกลุม จนนาไปสูเ่ หตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” เมื่อวันที่ 15-17 พฤษภาคม 2535 ในที่สด พลเอกสุจินดา ครา
             ่                                                                      ุ
ประยูร ได้ ลาออกจากตาแหน่ง

นายอานันท์ ปั นยารชุน ได้ กลับมาเป็ นนายกรัฐมนตรี อกครังหนึง โดยมีเปาหมายสาคัญที่การยุบสภาเพื่อเลือกตังใหม่และเมื่อ
                                                   ี ้ ่            ้                                 ้
อยูในตาแหน่งได้ ประมาณ 3 เดือนเศษ จึงได้ ทาการยุบสภา เมื่อมีการเลือกตังใหม่ นายชวน หลีกภัย ได้ เป็ นนายกรัฐมนตรี
   ่                                                                  ้
ตังแต่วนที่ 23 กันยายน 2535เป็ นต้ นมา
  ้ ั
ประวัติการปฏิวติ รัฐประหารในประเทศไทย
              ั

รูปแบบของการจลาจลกบฏ ปฏิวติหรื อรัฐประหารความหมายของคาเหล่านี ้เหมือนกันในแง่ที่วาเป็ นการใช้ กาลังอาวุธยึด
                         ั                                                       ่
อานาจทางการเมืองแต่มความหมายต่างกันในด้ านผลของการใช้ กาลังความรุนแรงนัน หากทาการไม่สาเร็ จจะถูกเรี ยกว่า กบฏ
                    ี                                                  ้
จลาจล (rebellion) ถ้ าการยึดอานาจนันสัมฤทธิ ผล และเปลียนเพียงรัฐบาลเรี ยกว่า รัฐประหาร (coupd etat) แต่ถ้ารัฐบาล
                                   ้                  ่
ใหม่ได้ ทาการเปลียนแปลงมูลฐานระบอบการปกครอง ก็นบว่าเป็ น การปฏิวติครังสาคัญๆ ซึงเป็ นที่ยอมรับกันทัวไป ได้ แก่
                 ่                             ั                ั ้            ่                   ่

- การปฏิวตใหญ่ของฝรั่งเศส ค.ศ.1789
         ัิ

- การปฏิวตในรัสเซีย ค.ศ.1917
         ัิ

- การปฏิวตของจีนในปี
         ัิ            ค.ศ.1949

- การปฏิวตในคิวบา ค.ศ.1952
         ัิ

ในการเมืองไทยคาว่า ปฏิวติ กับ รัฐประหาร มักใช้ ปะปนกัน แล้ วแต่ผ้ ยดอานาจได้ นนจะเรี ยกตัวเองว่าอะไร เท่าที่ผานมามัก
                       ั                                          ูึ          ั้                             ่
นิยมใช้ คาว่า ปฏิวติ เพราะเป็ นคาที่ดขงขังน่าเกรงขามเพื่อความสะดวกในการธารงไว้ ซงอานาจที่ได้ มานัน ทังที่โดยเนื ้อแท้ แล้ ว
                  ั                  ูึ                                         ึ่               ้ ้
นับแต่มีการเปลียนแปลงการปกครอง 24 มิถนายน 2475 ซึงอาจถือได้ วาเป็ นการปฏิวติทแท้ จริ งครังเดียวทีเ่ กิดขึ ้นในประเทศ
               ่                     ุ           ่           ่            ั ี่           ้
ไทย การยึดอานาจโดยวิธีการใช้ กาลังครังต่อๆ มาในทางรัฐศาสตร์ ถือว่าเป็ นเพียงการรัฐประหารเท่านัน เพราะผู้ยดอานาจได้
                                     ้                                                        ้          ึ
นันไม่ได้ ทาการเปลียนแปลงหลักการมูลฐานของระบอบการปกครองเลย ดังนัน เพื่อให้ สอดคล้ องกับพฤติกรรมทางการเมือง
  ้                ่                                            ้
และมิให้ สบสนกับการใช้ ชื่อเรี ยกตัวเองของคณะที่ทาการยึดอานาจทังหลาย อาจสรุปความหมายแคบๆ โดยเฉพาะเจาะจง
          ั                                                    ้
สาหรับคาว่าปฏิวติ และรัฐประหารในบรรยากาศการเมืองไทยเป็ นดังนี ้ คือ
               ั
"ปฏิวัต" หมายถึง การยึดอานาจโดยวิธีการที่ไม่ถกต้ องตามรัฐธรรมนูญ ยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใช้ อยู่ อาจมีหรื อไม่มีการ
       ิ                                     ู
ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และรัฐบาลใหม่ได้ ทาการเปลียนแปลงมูลฐานระบอบการปกครอง เช่นเปลียนแปลง การ
                                                       ่                                  ่
ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็ นระบอบประชาธิปไตย หรื อ คอมมิวนิสต์ ฯลฯ
"รั ฐประหาร" หมายถึง การยึดอานาจโดยวิธีการที่ไม่ถกต้ องตามรัฐธรรมนูญ แต่ยงคงใช้ รัฐธรรมนูญฉบับเก่าต่อไป หรื อ
                                                 ู                       ั
ประกาศใช้ รัฐธรรมฉบับใหม่ เพื่อให้ มีการเลือกตังเกิดขึ ้นในระยะเวลาไม่นานนัก
                                               ้
ในประเทศไทยถือได้ วามีการปฏิวติเกิดขึ ้นครังแรกและครังเดียวคือ การเปลียนแปลงการปกครอง 2547 โดยคณะราษฎร จาก
                   ่         ั             ้         ้                ่
ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นระบอบประชาธิปไตย และมีการกบฏเกิดขึ ้น 12 ครัง และรัฐประหาร 9 ครัง ดังนี ้
                                                                          ้                   ้

กบฏ 12 ครัง
          ้

1.กบฏ ร.ศ.130

2.กบฏบวรเดช 11 ต.ค. 2476

3.กบฏนายสิบ 3 ส.ค.2478

4.กบฏพระยาทรงสุรเดช หรื อกบฏ 18 ศพ 29 ม.ค.2482

5.กบฏเสนาธิการ 1 ต.ค.2491

6.กบฏแบ่งแยกดินแดน พ.ย. 2491

7.กบฏวังหลวง 26 ก.พ.2492

8.กบฏแมนฮัตตัน 29 มิ.ย. 2494

9.กบฏสันติภาพ 8 พ.ย. 2497

10.กบฏ 26 มี.ค. 2520

11.กบฏยังเติร์ก 1-3 เม.ย. 2524

12.กบฏทหารนอกราชการ 9 ก.ย. 2528

รัฐประหาร 9 ครัง
               ้


1.พ.อ.พระยาพหลฯ ทาการรัฐประหาร 20 มิ.ย. 2476

2.พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ และคณะนายทหารบก ทาการรัฐประหาร เมื่อ 8 พ.ย. 2490

3.จอมพล ป. พิบลสงคราม ทาการรัฐประหาร 29 พ.ย.2494
              ู
4.จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทาการรัฐประหาร 16 ก.ย. 2500

5.จอมพลถนอม กิตติขจร ทารัฐประหาร 20 ต.ค.2501

6.จอมพลถนอม กิตติขจร ทาการรัฐประหาร 17 พ.ย. 2514

7.พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ทาการรัฐประหาร 20 ตุลาคม 2520
8.พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ทาการรัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2534

9.คณะผู้บญชาการเหล่าทัพ และ ผบ.ตร. นาโดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ทาการ รัฐประหาร เมื่อ 19 ก.ย. 2549
         ั

รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย


รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดว่าด้ วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศสาหรับประเทศไทย นับจากพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้ าเจ้ าอยูหวได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าโปรดกระหม่อมพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม
                   ่ ั
พุทธศักราช ๒๕๗๕ เป็ นต้ นมา ได้ มีการเปลี่ยนแปลงแก้ ไขและประกาศใช้ รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองอีกหลายฉบับ
เพื่อให้ เหมาะสมและสอดคล้ องกับสภาวการณ์บ้านเมืองที่ผนแปรเปลียนแปลงในแต่ละยุคสมัยบรรดารัฐธรรมนูญและ
                                                     ั       ่
ธรรมนูญการปกครองที่มมาทุกฉบับ มีสาระสาคัญเหมือนกัน ที่ยดมันในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
                    ี                                  ึ ่
พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข ทรงใช้ อานาจนิติบญญัติทางรัฐสภาทรงใช้ อานาจบริ หารทางคณะรัฐมนตรี และทรงใช้ อานาจ
                                               ั
ตุลาการทางศาล จะมีเนื ้อหาแตกต่างกันก็แต่เฉพาะในเรื่ องสถานภาพของรัฐสภาและสัมพันธภาพระหว่างอานาจนิติบญญัติ
                                                                                                     ั
กับอานาจบริ หาร เพื่อให้ เหมาะสมกับภาวะการณ์ของบ้ านเมืองในขณะนัน ๆ มีดงนี ้ (ข้ อมูลถึงปี 2551)
                                                                ้      ั

1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชัวคราว พุทธศักราช 2475
                                            ่

2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475

3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

4.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัวคราว) พุทธศักราช 2490
                                      ่

5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492

6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ ไขเพิมเติม พุทธศักราช 2495
                                                        ่

7.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502

8.รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

9.ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515

10.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517

11.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
12.ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520

13.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521

14.ธรรมนูยการปกครองแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534

15.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2538

16.รัฐธรรมนูยแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

17.เปรี ยบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 กับ

พุทธศักราช 2540

18.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

แหล่งอ้ างอิง ศ. ดร. ลิขิต ธีรเวคิน. การเมืองการปกครองของไทย

สร้ างโดย:

patu02

แหล่ งอ้ างอิง:

แบบเรี ยนรายวิชาประวัติศาสตร์ ไทย ม.4. อักษรเจริ ญทัศน์

More Related Content

What's hot

การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรีsangworn
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยsalintip pakdeekit
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์krunrita
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
Thongkum Virut
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 

What's hot (20)

การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 

Similar to การปกครองของไทย

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมลpornpimon79
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมลpornpimon79
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
KatawutPK
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
sibsakul jutaphan
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 

Similar to การปกครองของไทย (20)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 

การปกครองของไทย

  • 1. สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช (พ.ศ.1893-2475)สมัยกรุ งศรีอยุธยา กรุงศรี อยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้ าอูทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรี อยุธยามีการปกครองแบบราชาธิป ่ ไตยหรื อสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออานาจอยูทกษัตริ ย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตาม ่ ี่ แบบพวกเขมรว่ากษัตริ ย์เป็ นผู้ได้ รับอานาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริ ย์จึงเป็ น “สมมติเทพ” ทรงมีอานาจทีจะกาหนดชะตา ่ ชีวิตของใครก็ได้ จงเรียกระบบการปกครองนี ้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็ นแบบนายปกครอง ึ บ่าว หรื อ “เจ้ าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริ ย์กบประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้ าราชบริ พารเป็ นสือกลางระหว่างกษัตริ ย์ และ ั ่ ประชาชน จึงเกิดเป็ นระบบเจ้ าขุนมูลนาย หรื อศักดินาขึ ้นระบบเจ้ าขุนมูลนายหรื อศักดินาเกิดขึ ้นเพราะกรุงศรี อยุธยาอยูใน ่ สภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจาเป็ นต้ องให้ พลเมืองทุกคนอยูในสังกัดของเจ้ าขุนมูลนายเพื่อว่าเมือมีศกสงคราม ่ ่ ึ พระมหากษัตริ ย์จะได้ สงการ ให้ เจ้ าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทาสงครามปองกันบ้ านเมืองได้ พระเจ้ าอูทอง (พระ ั่ ้ ่ รามาธิบดีที่ 1) ทรงวางระบบการปกครองดังนี ้ ส่วนกลางเป็ นแบบจตุสดมภ์ โดยมีเสนาบดี 4 คน คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง และขุนนา เป็ นผู้ดแลกิจกรรมหลัก 4 ประการของ ู การบริ หารราชการแผ่นดิน มีการแบ่งหัวเมือง 3 ระดับ คือ หัวเมืองชันใน หัวเมืองชันนอก และเมืองประเทศราช ้ ้ สมัยพระบรมไตรโลกนาถ - สมัยรัชกาลที่ 4
  • 2. ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031)มีการปรับปรุงระบบบริ หารใหม่โดยแยกเป็ นฝ่ ายทหารและพลเรื อนหัวหน้ า ฝ่ ายพลเรื อน เรี ยกว่า“สมุหนายก” รับผิดชอบด้ านการบริ หารพลเรือนเกี่ยวกับ เมือง วัง คลัง นา หัวหน้ าฝ่ ายทหาร เรี ยกว่า “สมุหกลาโหม” รับผิดชอบด้ านการทหารและปองกันประเทศ เช่น กรมช้ าง กรมม้ า กรมทหารราบ ส่วนในด้ านภูมิภ าคได้ มการ ้ ี ปฏิรูปการปกครองโดยรวมอานาจไว้ ที่ศนย์กลาง คือ เมืองหลวง มากขึ ้นขยายเขตหัวเมืองชันในให้ กว้ างขวางขึ ้น หัวเมือง ู ้ ชันนอกให้ เรี ยกเป็ นหัวเมืองชันเอก โท ตรี ตามลักษณะความสาคัญและขนาดของพื ้นที่ และส่งพระราชวงศ์ หรื อขุนนางไปดูแล ้ ้ ต่างพระเนตรพระกรรณ เมืองประเทศราชยังคงให้ ปกครองตนเอง และส่งบรรณาการ 3 ปี ต่อครัง ้ ปลายสมัยกรุงศรี อยุธยา(สมัยพระเพทราชา) จึงมีการปรับปรุงระบบการปกครองอีกครังหนึง โดยแยกหัวเมืองนอกเขตราชธานี ้ ่ เป็ น 2 ภาค หัวเมืองภาคเหนือให้ สมุหนายกเป็ นผู้รับผิดชอบ ทังฝ่ ายทหารและพลเรื อน หัวเมืองภาคใต้ ให้ สมุหกลาโหม เป็ น ้ ผู้รับผิดชอบดูแล ทังฝ่ ายทหารและพลเรื อนเช่นกัน ในด้ านการปกครอง มีการปรับปรุงหัวเมืองภูมภาค 3 ส่วน คือ หัวเมืองฝ่ าย ้ ิ เหนือ สังกัดสมุหนายก หัวเมืองฝ่ ายใต้ สังกัดสมุหกลาโหม หัวเมืองชายทะเลตะวันออก และเมืองท่า สังกัดกรมท่า ในสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ตอนต้ น ยังคงใช้ รูปแบบการปกครองแบบอยุธยาตอนปลายแต่บทบาทกษัตริ ย์ในฐานะ สมมติเทพเริ่ มค่อย ๆลดความสาคัญลง โดยเฉพาะรัชกาลที่ 4 ทรงดื่มน ้าพิพฒน์สตยาร่วมกับขุนนางข้ าราชการทังหลาย จึงทา ั ั ้ ให้ ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริ ย์กบประชาชนมีความใกล้ ชิดกันมากขึนเหมือนสมัยสุโขทัย ั ้ สมัยรัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2411 - 2475) สมัยรัชกาลที่ 5 มีการปรับปรุงระบบบริ หารราชการแผ่นดินครังใหญ่ เรี ยกว่า “การปฏิรูปการปกครอง”อันนามาซึงความเจริ ญ ้ ่ อย่างมากมายในปั จจุบน การปฏิรูปการปกครองที่สาคัญ ได้ แก่ ั 1)การจัดระเบียบบริ หารราชการส่วนกลาง ให้ ยกเลิกตาแหน่งสมุหกลาโหม สมุหนายก และจตุสดมภ์แล้ วแบ่งส่วนราชการเป็ น 12 กระทรวง มีเสนาบดีเป็ นผู้วาราชการกระทรวง แต่ละกระทรวงมีหน้ าที่และความรับผิดชอบเป็ นสัดส่วนแน่นอน ไม่ก้าวก่าย ่ กันเหมือนแต่ก่อน เช่นกระทรวงมหาดไทยดูแลหัวเมืองฝ่ ายเหนือและเมืองลาว กระทรวงกลาโหมดูแลหัวเมืองฝ่ ายใต้ ตะวันออก แหลมมลายู กระทรวงการต่างประเทศดูแลในเรื่ องความสัมพันธ์กบต่างประเทศ กระทรวงนครบาล รับผิดชอบด้ านความสงบ ั เรี ยบร้ อยภายในเมืองหลวงกระทรวงพระคลังมหาสมบัติดแลในการจัดเก็บภาษี และหาเงินเข้ าท้ องพระคลังเป็ นต้ น ู 2)การจัดการปกครองส่วนภูมิภาค ยกเลิกระบบเมืองเอก โท ตรี แต่ให้ รวมหัวเมืองภาคเหนือ ภาคใต้ และเมืองท่าตังเป็ น ้ “มณฑล”ขึ ้นกับกระทรวงมหาดไทยมี สมุหเทศาภิบาล หรื อข้ าหลวงเทศาภิบาลเป็ นผู้ปกครองมณฑล แต่ละมณฑล ประกอบด้ วยเมือง มีผ้ วาราชการเมืองเป็ นผู้ปกครอง แต่ละเมืองยังแบ่งเป็ นอาเภอมีนายอาเภอเป็ นผู้ปกครอง แต่ละอาเภอ ู่ แบ่งเป็ นตาบล แต่ละตาบลแบ่งออกเป็ นหมูบ้าน กานันและผู้ใหญ่บ้านที่มาจากการเลือกตังเป็ นผู้ปกครองตาบลและหมูบ้าน ่ ้ ่
  • 3. 3)การปกครองส่วนท้ องถิ่น รัชกาลที่ 5 ทรงเล็งเห็นประโยชน์ที่จะให้ ประชาชนมีสวนร่ วมในการปกครองตนเอง จึงโปรดเกล้ าฯ ่ ให้ จดตัง้ “สุขาภิบาล” ซึงลักษณะคล้ ายเทศบาลในปั จจุบน สุขาภิบาลแห่งแรกคือสุขาภิบาลกรุงเทพฯ และสุขาภิบาลท่าฉลอม ั ่ ั (จังหวัดสมุทรสาคร) เป็ นสุขาภิบาลหัวเมือง เป็ นการทดลองรูปแบบการปกครองส่วนท้ องถิ่น ซึงปรากฏว่าการดาเนินงานของ ่ สุขาภิบาลทัง้ 2 แห่งได้ ผลดียงจึงได้ ตราเป็ นพระราชบัญญัติสขาภิบาล พ.ศ.2458 แบ่งสุขาภิบาลเป็ น 2 แบบ คือ สุขาภิบาล ิ่ ุ เมือง และตาบล เพื่อขยายกิจการสุขาภิบาล ให้ แพร่หลายไปยังท้ องถิ่นอื่น ๆการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นการ วางรากฐานการปกครองในสมัยต่อมา มีการแก้ ไขปรับปรุงบางส่วนให้ เหมาะสมยิ่งขึ ้น ทาให้ ประเทศมีระบบการบริ หารที่ ทันสมัย มีเอกภาพและมันคง ่ สมัยประชาธิปไตย (พ.ศ.2475-2535) สมัยรัชกาลที่ 7-ก่ อน 14 ตุลาคม 2516 รูปแบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 6-7 ยังคงยึดรูปแบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5มีการปรับปรุงแก้ ไขบ้ างเพียงเล็กน้ อย ทัง้ 2 พระองค์ได้ ตระหนักถึงการเปลียนแปลงการปกครองที่คงจะมีขึ ้นในภายข้ างหน้ า สมัยรัชกาลที่ 6 ได้ มีการจัดตัง้ “ดุสตธานี” ให้ ่ ิ เป็ นนครจาลองในการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเมื่อวันที่ 24 มิถนายน พ.ศ.2475 หลังจากที่รัชกาลที่ 7 ทรงครองราชย์ได้ ุ 7 ปี คณะผู้ก่อการซึงเรี ยกตัวเองว่า “คณะราษฎร์ ” ประกอบด้ วยทหารบก ทหารเรื อและพลเรื อน จานวน 99 คน ได้ ทาการยึด ่ อานาจ และเปลียนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราช หรื อ “ราชาธิปไตย” มาเป็ นระบบการปกครองแบบ ่ “ประชาธิปไตย” และได้ อญเชิญรัชกาลที่ 7 ขึ ้นเป็ นกษัตริ ย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญ นับได้ วารัชกาลที่ 7 ทรงเป็ นกษัตริ ย์องค์แรกใน ั ่ ระบอบประชาธิปไตย มูลเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 1.ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทัวโลก หลังสงครามโลก รัฐบาลต้ องการลดรายจ่าย ่ โดยปลดข้ าราชการบางส่วนออก ผู้ถกปลดไม่ ู พอใจ 2.ผู้ที่ไปเรี ยนจากต่างประเทศเมือกลับมาแล้ วต้ องการเปลียนแปลงประเทศให้ ทนสมัยเหมือนประเทศที่เจริ ญแล้ ว ่ ่ ั 3.ความเหลือมล ้าตาสูงระหว่างข้ าราชการและประชาชน จึงต้ องการสิทธิเสมอภาคกัน ่ ่ 4.ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไม่สามารถแก้ ปัญหาพื ้นฐานชีวตของราษฎรได้ ิ ลักษณะการปกครองหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 1.พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขภายใต้ รัฐธรรมนูญ 2.รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
  • 4. 3.อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทยและเป็ นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ 4.ประชาชนใช้ อานาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภา รัฐบาลและศาล 5.ประชาชนมีสทธิเสรี ภาพเท่าเทียมกัน ิ 6.ประชาชนเลือกตัวแทนในการบริ หารประเทศ ซึงเรี ยกว่า รัฐบาล หรื อคณะรัฐมนตรี ่ 7. ในการบริ หารราชการแผ่นดิน แบ่งเป็ น 3 ส่วนคือ - การปกครองส่วนกลาง แบ่งเป็ น กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ - การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งเป็ น จังหวัด และอาเภอ - การปกครองส่วนท้ องถิ่นแบ่งเป็ นองค์การบริ หารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และองค์การบริ หารส่วนตาบล การเปลียนแปลงการปกครองของไทยเป็ นไปอย่างสงบไม่รุนแรงเหมือนบางประเทศอย่างไรก็ตามลักษณะการเมืองการ ่ ปกครองมิได้ เป็ นประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์ อานาจบางส่วนตกอยูกบผู้นาทางการเมือง หรื อผู้บริ หารประเทศ มีการขัดแย้ งกัน ่ ั ในด้ านนโยบายมีการแย่งชิงผลประโยชน์ เป็ นเหตุให้ เกิดการปฏิวติรัฐประหารขึ ้นหลายครังระบบการปกครองของไทย จึงมี ั ้ ลักษณะกลับไปกลับมาระหว่างประชาธิปไตยกับคณาธิปไตย (การปกครองโดยคณะปฏิวติ) ั ประชาธิปไตย หลัง 14 ตุลาคม 2516 จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี เมือปี 2511 หลังมีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ่ พุทธศักราช 2511 ซึงใช้ เวลาร่างถึง 10 ปี แต่หลังจากบริ หารประเทศมาเพียง 3 ปี เศษ จอมพลถนอม กิตติขจร และคณะได้ ทา ่ การปฏิวตตนเองและล้ มเลิก รัฐธรรมนูญฉบับนี ้ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 และได้ เข้ าควบคุมการบริ หารประเทศ ใน ัิ ฐานะหัวหน้ าคณะปฏิวติ การบริ หารประเทศโดยคณะปฏิวติ ซึงนาโดย จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร ั ั ่ และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร หรื อกลุม ถนอม-ประภาส-ณรงค์ ถูกมองว่าเป็ นการทาการปฏิวติเพื่อผลประโยชน์ของตนเองและ ่ ั กลุม มีการคอร์ รัปชันเกิดขึ ้นมากมายในที่สด นิสต นักศึกษา และประชาชนได้ ร่วมกันเรี ยกร้ องรัฐธรรมนูญและขับไล่รัฐบาล จน ่ ่ ุ ิ นาไปสูเ่ หตุการณ์นองเลือดในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ซึงเรี ยกเป็ น “วันมหาวิปโยค” และในที่สดจอมพลถนอม กิตติขจรและ ่ ุ คณะต้ องลาออกจากตาแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี ระยะหนึงในระยะนี ้ถือว่าเป็ นการตื่นตัวในทางประชาธิปไตยอย่างมาก มีการ ่ เรี ยกร้ องสิทธิเสรี ภาพมากขึ ้น มีการจัดหยุดงาน (Strife) มีการแสดงออกในทางเสรี ภาพด้ านการพูด การเขียน จานวน หนังสือพิมพ์ได้ มีออกจาหน่ายมากขึ ้น มีกลุมพลังทางการเมืองเกิดขึ ้นมากมาย มีการเดินขบวน เพื่อเรี ยกร้ องสิทธิและ ่ ผลประโยชน์หลายครังเหตุการณ์เหล่านี ้ได้ สร้ างความเบื่อหน่ายให้ กบประชาชนเรื่ อยมา อีกทังคุณภาพของผู้แทนราษฎรไม่ดีไป ้ ั ้ กว่าเดิม นิสตนักศึกษาได้ เข้ าไปยุงเกี่ยวในเหตุการณ์วนวายต่างๆ ิ ่ ุ่
  • 5. จนในที่สดเกิดวิกฤติการณ์นองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ทหารในนาม “คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” ได้ เข้ ายึดอานาจจาก ุ รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินได้ แต่งตังนายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็ นนายกรัฐมนตรี นาย ้ ธานินทร์ กรัยวิเชียร บริ หารประเทศมาได้ เพียง 1 ปี คณะปฏิรูปฯ ได้ ยดอานาจอีกครังหนึง และครังหลังนี ้ได้ แต่งตังพลเอก เกรี ยงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี พลเอก เกรี ยง ึ ้ ่ ้ ้ ศักดิ์ ชมะนันท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี จนถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2523 จึงได้ ลาออกจากตาแหน่ง พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรีตอจาก พลเอก เกรี ยงศักดิ์ ชมะนันท์ ดารงตาแหน่งมาจนถึงวันที่ 4 ่ สิงหาคม 2531 รวมระยะเวลา 8 ปี เศษได้ มีการปรับปรุงคณะรัฐบาลหลายครัง ในระหว่างดารงตาแหน่ง มีผ้ พยายามทาการ ้ ู รัฐประหารถึง 2 ครัง แต่ไม่สาเร็ จ สมัย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้ ชื่อว่าเป็ นหัวเลี ้ยวหัวต่อที่สาคัญ ทางด้ านการเมืองการ ้ ปกครองมีการพัฒนาโครงสร้ างทางการเมือง ให้ เข้ มแข็งรวมถึงการพัฒนาโครงสร้ างทางด้ านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้ ก้าวหน้ าด้ วย พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้ ขึ ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี ต่อจากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531 และถือได้ ว่าเป็ นคณะรัฐมนตรี ที่มาจากการเลือกตัง้ ซึงเป็ นความชอบธรรมในกระบวนการบริ หารตามระบอบประชาธิปไตย ่ รัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้ ถกคณะทหารซึงเรี ยกตนเองว่า คณะรักษาความสงบเรี ยบร้ อยแห่งชาติทาการยึดอานาจ ู ่ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 และได้ แต่งตังให้ นายอานันท์ ปั นยารชุน เป็ นนายกรัฐมนตรี ้ คณะรัฐบาลของนายอานันท์ ปั นยารชุน ทาการบริ หารประเทศมาได้ ปีเศษจึงพ้ นจากตาแหน่งไปเมื่อมีรัฐบาลชุดใหม่นาโดย พลเอก สุจินดา คราประยูร เป็ นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลโดยพลเอก สุจินดา คราประยูร ไม่ได้ ผานการเลือกตังจึงถูกต่อต้ านจากพรรคการเมืองบางพรรค นิสตนักศึกษา และ ่ ้ ิ ประชาชนบางกลุม จนนาไปสูเ่ หตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” เมื่อวันที่ 15-17 พฤษภาคม 2535 ในที่สด พลเอกสุจินดา ครา ่ ุ ประยูร ได้ ลาออกจากตาแหน่ง นายอานันท์ ปั นยารชุน ได้ กลับมาเป็ นนายกรัฐมนตรี อกครังหนึง โดยมีเปาหมายสาคัญที่การยุบสภาเพื่อเลือกตังใหม่และเมื่อ ี ้ ่ ้ ้ อยูในตาแหน่งได้ ประมาณ 3 เดือนเศษ จึงได้ ทาการยุบสภา เมื่อมีการเลือกตังใหม่ นายชวน หลีกภัย ได้ เป็ นนายกรัฐมนตรี ่ ้ ตังแต่วนที่ 23 กันยายน 2535เป็ นต้ นมา ้ ั
  • 6. ประวัติการปฏิวติ รัฐประหารในประเทศไทย ั รูปแบบของการจลาจลกบฏ ปฏิวติหรื อรัฐประหารความหมายของคาเหล่านี ้เหมือนกันในแง่ที่วาเป็ นการใช้ กาลังอาวุธยึด ั ่ อานาจทางการเมืองแต่มความหมายต่างกันในด้ านผลของการใช้ กาลังความรุนแรงนัน หากทาการไม่สาเร็ จจะถูกเรี ยกว่า กบฏ ี ้ จลาจล (rebellion) ถ้ าการยึดอานาจนันสัมฤทธิ ผล และเปลียนเพียงรัฐบาลเรี ยกว่า รัฐประหาร (coupd etat) แต่ถ้ารัฐบาล ้ ่ ใหม่ได้ ทาการเปลียนแปลงมูลฐานระบอบการปกครอง ก็นบว่าเป็ น การปฏิวติครังสาคัญๆ ซึงเป็ นที่ยอมรับกันทัวไป ได้ แก่ ่ ั ั ้ ่ ่ - การปฏิวตใหญ่ของฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ัิ - การปฏิวตในรัสเซีย ค.ศ.1917 ัิ - การปฏิวตของจีนในปี ัิ ค.ศ.1949 - การปฏิวตในคิวบา ค.ศ.1952 ัิ ในการเมืองไทยคาว่า ปฏิวติ กับ รัฐประหาร มักใช้ ปะปนกัน แล้ วแต่ผ้ ยดอานาจได้ นนจะเรี ยกตัวเองว่าอะไร เท่าที่ผานมามัก ั ูึ ั้ ่ นิยมใช้ คาว่า ปฏิวติ เพราะเป็ นคาที่ดขงขังน่าเกรงขามเพื่อความสะดวกในการธารงไว้ ซงอานาจที่ได้ มานัน ทังที่โดยเนื ้อแท้ แล้ ว ั ูึ ึ่ ้ ้ นับแต่มีการเปลียนแปลงการปกครอง 24 มิถนายน 2475 ซึงอาจถือได้ วาเป็ นการปฏิวติทแท้ จริ งครังเดียวทีเ่ กิดขึ ้นในประเทศ ่ ุ ่ ่ ั ี่ ้ ไทย การยึดอานาจโดยวิธีการใช้ กาลังครังต่อๆ มาในทางรัฐศาสตร์ ถือว่าเป็ นเพียงการรัฐประหารเท่านัน เพราะผู้ยดอานาจได้ ้ ้ ึ นันไม่ได้ ทาการเปลียนแปลงหลักการมูลฐานของระบอบการปกครองเลย ดังนัน เพื่อให้ สอดคล้ องกับพฤติกรรมทางการเมือง ้ ่ ้ และมิให้ สบสนกับการใช้ ชื่อเรี ยกตัวเองของคณะที่ทาการยึดอานาจทังหลาย อาจสรุปความหมายแคบๆ โดยเฉพาะเจาะจง ั ้ สาหรับคาว่าปฏิวติ และรัฐประหารในบรรยากาศการเมืองไทยเป็ นดังนี ้ คือ ั "ปฏิวัต" หมายถึง การยึดอานาจโดยวิธีการที่ไม่ถกต้ องตามรัฐธรรมนูญ ยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใช้ อยู่ อาจมีหรื อไม่มีการ ิ ู ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และรัฐบาลใหม่ได้ ทาการเปลียนแปลงมูลฐานระบอบการปกครอง เช่นเปลียนแปลง การ ่ ่ ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็ นระบอบประชาธิปไตย หรื อ คอมมิวนิสต์ ฯลฯ
  • 7. "รั ฐประหาร" หมายถึง การยึดอานาจโดยวิธีการที่ไม่ถกต้ องตามรัฐธรรมนูญ แต่ยงคงใช้ รัฐธรรมนูญฉบับเก่าต่อไป หรื อ ู ั ประกาศใช้ รัฐธรรมฉบับใหม่ เพื่อให้ มีการเลือกตังเกิดขึ ้นในระยะเวลาไม่นานนัก ้ ในประเทศไทยถือได้ วามีการปฏิวติเกิดขึ ้นครังแรกและครังเดียวคือ การเปลียนแปลงการปกครอง 2547 โดยคณะราษฎร จาก ่ ั ้ ้ ่ ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นระบอบประชาธิปไตย และมีการกบฏเกิดขึ ้น 12 ครัง และรัฐประหาร 9 ครัง ดังนี ้ ้ ้ กบฏ 12 ครัง ้ 1.กบฏ ร.ศ.130 2.กบฏบวรเดช 11 ต.ค. 2476 3.กบฏนายสิบ 3 ส.ค.2478 4.กบฏพระยาทรงสุรเดช หรื อกบฏ 18 ศพ 29 ม.ค.2482 5.กบฏเสนาธิการ 1 ต.ค.2491 6.กบฏแบ่งแยกดินแดน พ.ย. 2491 7.กบฏวังหลวง 26 ก.พ.2492 8.กบฏแมนฮัตตัน 29 มิ.ย. 2494 9.กบฏสันติภาพ 8 พ.ย. 2497 10.กบฏ 26 มี.ค. 2520 11.กบฏยังเติร์ก 1-3 เม.ย. 2524 12.กบฏทหารนอกราชการ 9 ก.ย. 2528 รัฐประหาร 9 ครัง ้ 1.พ.อ.พระยาพหลฯ ทาการรัฐประหาร 20 มิ.ย. 2476 2.พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ และคณะนายทหารบก ทาการรัฐประหาร เมื่อ 8 พ.ย. 2490 3.จอมพล ป. พิบลสงคราม ทาการรัฐประหาร 29 พ.ย.2494 ู 4.จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทาการรัฐประหาร 16 ก.ย. 2500 5.จอมพลถนอม กิตติขจร ทารัฐประหาร 20 ต.ค.2501 6.จอมพลถนอม กิตติขจร ทาการรัฐประหาร 17 พ.ย. 2514 7.พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ทาการรัฐประหาร 20 ตุลาคม 2520
  • 8. 8.พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ทาการรัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2534 9.คณะผู้บญชาการเหล่าทัพ และ ผบ.ตร. นาโดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ทาการ รัฐประหาร เมื่อ 19 ก.ย. 2549 ั รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดว่าด้ วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศสาหรับประเทศไทย นับจากพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้ าเจ้ าอยูหวได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าโปรดกระหม่อมพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม ่ ั พุทธศักราช ๒๕๗๕ เป็ นต้ นมา ได้ มีการเปลี่ยนแปลงแก้ ไขและประกาศใช้ รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองอีกหลายฉบับ เพื่อให้ เหมาะสมและสอดคล้ องกับสภาวการณ์บ้านเมืองที่ผนแปรเปลียนแปลงในแต่ละยุคสมัยบรรดารัฐธรรมนูญและ ั ่ ธรรมนูญการปกครองที่มมาทุกฉบับ มีสาระสาคัญเหมือนกัน ที่ยดมันในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี ี ึ ่ พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข ทรงใช้ อานาจนิติบญญัติทางรัฐสภาทรงใช้ อานาจบริ หารทางคณะรัฐมนตรี และทรงใช้ อานาจ ั ตุลาการทางศาล จะมีเนื ้อหาแตกต่างกันก็แต่เฉพาะในเรื่ องสถานภาพของรัฐสภาและสัมพันธภาพระหว่างอานาจนิติบญญัติ ั กับอานาจบริ หาร เพื่อให้ เหมาะสมกับภาวะการณ์ของบ้ านเมืองในขณะนัน ๆ มีดงนี ้ (ข้ อมูลถึงปี 2551) ้ ั 1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชัวคราว พุทธศักราช 2475 ่ 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 4.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัวคราว) พุทธศักราช 2490 ่ 5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ ไขเพิมเติม พุทธศักราช 2495 ่ 7.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 8.รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 9.ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 10.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 11.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
  • 9. 12.ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 13.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 14.ธรรมนูยการปกครองแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 15.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2538 16.รัฐธรรมนูยแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 17.เปรี ยบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 กับ พุทธศักราช 2540 18.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แหล่งอ้ างอิง ศ. ดร. ลิขิต ธีรเวคิน. การเมืองการปกครองของไทย สร้ างโดย: patu02 แหล่ งอ้ างอิง: แบบเรี ยนรายวิชาประวัติศาสตร์ ไทย ม.4. อักษรเจริ ญทัศน์