SlideShare a Scribd company logo
6.1.3 อธิบายการเขียนแบบแผ่นคลี่สามเหลี่ยมมุมฉากท่อเหลี่ยมหรือท่อลดขนาดและ
เยื้องศูนย์
ประเภทที่ 2 ท่อเหลี่ยมหรือท่อกลมขนาดและเยื้องศูนย์
เป็นการเขียนแบบภาพแผ่นคลี่ของรูปงานท่อกลมหรือรูปงานหลายเหลี่ยมลดขนาดและเยื้องศูนย์ ซึ่งมีวิธีการเขียน
คล้ายกับวิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้กล่ามาแล้วในประเภทที่ 1
วิธีการเขียนแผ่นคลี่ของข้อต่อเยื้องศูนย์ และลดขนาดทุกแบบที่ใช้วิธีการเขียนด้วยวิธีเส้นสามเหลี่ยมมุมฉาก
จะต้องหาเส้นสูงจริงหลายเส้น ทั้งเส้นจริงในแนวตั้ง* และเส้นสูงจริงในแนวทะแยง**ก่อน แล้วจึงนาเส้นสูงจริงทั้งสองไป
เขียนจุดตัดของระยะเส้นแบ่งส่วนกลับกันไป มีวิธีการเขียนดังต่อไปนี้
1. การเขียนภาพด้านบนและภาพด้านหน้าของรูปแบบชิ้นงาน
2. แบ่งส่วนด้านบนออกเป็นส่วนต่าง ๆ เท่ากับงานบนเหลี่ยมของรูปสาหรับงานหลายเหลี่ยม ส่วนงานกลมโดย
ปกติจะแบ่งเป็น 12 ส่วน
3. ลากเส้นแบ่งส่วนทั้งที่เป็นจริงตรงและสูงจริงทะแยงในภาพด้านบน
4. ลากเส้นตั้งเท่ากับความสูงด้านหน้าของรูปแบบชิ้นงาน
5. ลากเส้นนอนให้ตั้งฉากกับเส้นตั้งให้ยาวพอสมควร
6. นาระยะจากเส้นแบ่งส่วน (ทั้งเส้นที่อยู่ในแนวตั้งและแนวทะแยง) จากภาพด้านบนแต่ละชุด ๆ ไปถ่ายลงบนเส้น
ฐาน (ข้อ 5) โดยเริ่มจากจุดตั้งฉาก พร้อมทั้งให้มีหมายเลขหรือสัญญาลักษณ์กากับจุดด้วย
7. ลากเส้นจากส่วนแบ่งในข้อ 8 ไปยังจุดตั้งในข้อ 4 จะได้เป็นเส้นสูงจริง 2 ชุดคือเส้นสูงจริงตรงและเส้นสูงจริง
ทะแยงซึ่งจะใช้ความยาวของเส้นทั้งสองชุดนี้สร้างเป็นภาพแผ่นคลี่ต่อไป
8. นาระยะจากเส้นแบ่งส่วนด้านสั้นที่สุด หรือยาวที่สุดก็ได้ จากชุดเส้นจริงตรงเป้ ฯจุดเริ่มต้นของการเขียน
สาหรับงานเหลี่ยมจะใช้ด้านเป็นจุดเริ่มต้น หรือจะใช้ระยะความสูงจริงจากเส้นแบ่งเป็นจุดเริ่มต้นก็ได้
9. สาหรับงานกลมจะใช้ด้านที่สั้นที่สุด (1-8) ส่วนงาเหลี่ยมจะใช้เส้นสูงจริง (A,E) เป็นจุดเริ่มต้นของการเขียน
ข้อต่องานกลม ข้อต่องานเหลี่ยม
10. ใช้จุด 1 เป็นจุดเริ่มต้นเขียนรัศมี 1-9
11. จากจุดปลายอีกด้านหนึ่งจุด 9 ใช้ระยะเส้น
ส่วนแบ่งส่วน 8-9 จากภาพด้านบนขีดตัดกับ
เส้นรัศมี 1-9 จะได้จุด 9
12. จากจุด 9 เขียนระยะความสูงจริง โดยใช้ระยะ
ระยะของเส้น 9-2
12. จากจุด 1 ใช้ระยะห่างของ
เส้นแบ่งส่วน 1-2 ในภาพด้านบน
เขียนรัศมีตัดเส้น 9-2 ที่จุด 2
13. จากจุด 2 ใช้เส้นความสูงจริงทะแยงหาจุดตัด
ใหม่ต่อไป โดยใช้ระยะเส้น 2-10 เขียนรัศมี
14. จากจุด 9 ใช้เส้นแบ่งส่วนในภาพด้านบน จาก
9-10 เขียนรัศมีตัดเส้น 2-10 ที่จุด 10
15. จากจุด 10 ก็จะใช้หาจุด 3 จากจุด 3 ก็ใช้หา
จุด 11 จากจุด 11 ก็จะใช้หาจุด 4 และจากจุด
4 ก็จะใช้หาจุด 12 เรียง ต่อไปจนครบทุกเส้น
ทุกจุด
ใช้เป็นจุด A เป็นจุดเริ่มต้นเขียนรัศมี AE จากจุด E ใช้ระยะ
เส้นส่วนแบ่งส่วน EF จากภาพด้านบนขีดตัดกับเส้นรัศมี
AF จะได้จุด F
จากจุด F เขียนระยะความสูงจริงโดยเส้น BF
จากจุด A ใช้ระยะห่างของเส้น AB ในภาพด้านบนเขียน
รัศมีตัดเส้น BF เขียนรัศมี
จากจุด B ใช้เส้นความสูงถึงทะแยงหาจุดตัดใหม่ ต่อไป ใช้
ระยะเส้น BG เขียนรัศมี
จากจุด F ใช้ระยะห่างของเส้นส่วนแบ่งในภาพด้านบนจาก
FG เขียนรัศมีตัดเส้น BG ที่จุด G
จากจุด G ก็จะใช้หาจุด C
จากจุด C ก็จะใช้หาจุด H
จากจุด H ก็จะใช้หาจุด D
จากจุด D ก็จะใช้หาจุด E
และจากจุด E ก็จะใช้หาจุด A
16. ลากเส้นสัมผัสจุดต่าง ๆ ทุกจุดเรียงตามลาดับจะได้ภาพแผ่นคลี่ออกมา
สาหรับข้อต่องานกลมจะใช้เขียนแผ่นคลี่หรือจะเขียนเต็มภาพก็ได้ ถ้าเขียนเต็มแผ่นจะต้องเริ่มจากกึงกลางภาพออก
สู่ด้านนอกข้างจนครบทุกเส้น
วิธีการเขียนแผ่นคลี่ท่อกลมกับท่อสี่เหลี่ยม

More Related Content

What's hot

การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3Si Seng
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ศุภชัย พุทธรักษ์
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
Narasak Sripakdee
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
Piyaboon Nilkaew
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552waranyuati
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUpหนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
SKETCHUP HOME
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณChattichai
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
ณัฐพล บัวพันธ์
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม GspWi Rut
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]คมสันต์ วงศ์กาฬสินธุ์
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะ
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะบทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะ
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะ
ศิริพร ขอพรกลาง
 

What's hot (20)

การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
 
9 3
9 39 3
9 3
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
5 1
5 15 1
5 1
 
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUpหนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
 
1 7
1 71 7
1 7
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะ
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะบทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะ
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องเจาะ
 
6 3
6 36 3
6 3
 

Similar to งานโลหะแผ่น6 3

งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2Pannathat Champakul
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4Pannathat Champakul
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6kanjana2536
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry
Preeda Prakotmak
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
พัน พัน
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
พัน พัน
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
Manas Panjai
 
งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2Pannathat Champakul
 

Similar to งานโลหะแผ่น6 3 (12)

งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
303
303303
303
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
302
302302
302
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

งานโลหะแผ่น6 3

  • 1. 6.1.3 อธิบายการเขียนแบบแผ่นคลี่สามเหลี่ยมมุมฉากท่อเหลี่ยมหรือท่อลดขนาดและ เยื้องศูนย์ ประเภทที่ 2 ท่อเหลี่ยมหรือท่อกลมขนาดและเยื้องศูนย์ เป็นการเขียนแบบภาพแผ่นคลี่ของรูปงานท่อกลมหรือรูปงานหลายเหลี่ยมลดขนาดและเยื้องศูนย์ ซึ่งมีวิธีการเขียน คล้ายกับวิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยเส้นสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้กล่ามาแล้วในประเภทที่ 1 วิธีการเขียนแผ่นคลี่ของข้อต่อเยื้องศูนย์ และลดขนาดทุกแบบที่ใช้วิธีการเขียนด้วยวิธีเส้นสามเหลี่ยมมุมฉาก จะต้องหาเส้นสูงจริงหลายเส้น ทั้งเส้นจริงในแนวตั้ง* และเส้นสูงจริงในแนวทะแยง**ก่อน แล้วจึงนาเส้นสูงจริงทั้งสองไป เขียนจุดตัดของระยะเส้นแบ่งส่วนกลับกันไป มีวิธีการเขียนดังต่อไปนี้ 1. การเขียนภาพด้านบนและภาพด้านหน้าของรูปแบบชิ้นงาน 2. แบ่งส่วนด้านบนออกเป็นส่วนต่าง ๆ เท่ากับงานบนเหลี่ยมของรูปสาหรับงานหลายเหลี่ยม ส่วนงานกลมโดย ปกติจะแบ่งเป็น 12 ส่วน 3. ลากเส้นแบ่งส่วนทั้งที่เป็นจริงตรงและสูงจริงทะแยงในภาพด้านบน 4. ลากเส้นตั้งเท่ากับความสูงด้านหน้าของรูปแบบชิ้นงาน 5. ลากเส้นนอนให้ตั้งฉากกับเส้นตั้งให้ยาวพอสมควร 6. นาระยะจากเส้นแบ่งส่วน (ทั้งเส้นที่อยู่ในแนวตั้งและแนวทะแยง) จากภาพด้านบนแต่ละชุด ๆ ไปถ่ายลงบนเส้น ฐาน (ข้อ 5) โดยเริ่มจากจุดตั้งฉาก พร้อมทั้งให้มีหมายเลขหรือสัญญาลักษณ์กากับจุดด้วย
  • 2. 7. ลากเส้นจากส่วนแบ่งในข้อ 8 ไปยังจุดตั้งในข้อ 4 จะได้เป็นเส้นสูงจริง 2 ชุดคือเส้นสูงจริงตรงและเส้นสูงจริง ทะแยงซึ่งจะใช้ความยาวของเส้นทั้งสองชุดนี้สร้างเป็นภาพแผ่นคลี่ต่อไป 8. นาระยะจากเส้นแบ่งส่วนด้านสั้นที่สุด หรือยาวที่สุดก็ได้ จากชุดเส้นจริงตรงเป้ ฯจุดเริ่มต้นของการเขียน สาหรับงานเหลี่ยมจะใช้ด้านเป็นจุดเริ่มต้น หรือจะใช้ระยะความสูงจริงจากเส้นแบ่งเป็นจุดเริ่มต้นก็ได้ 9. สาหรับงานกลมจะใช้ด้านที่สั้นที่สุด (1-8) ส่วนงาเหลี่ยมจะใช้เส้นสูงจริง (A,E) เป็นจุดเริ่มต้นของการเขียน ข้อต่องานกลม ข้อต่องานเหลี่ยม 10. ใช้จุด 1 เป็นจุดเริ่มต้นเขียนรัศมี 1-9 11. จากจุดปลายอีกด้านหนึ่งจุด 9 ใช้ระยะเส้น ส่วนแบ่งส่วน 8-9 จากภาพด้านบนขีดตัดกับ เส้นรัศมี 1-9 จะได้จุด 9 12. จากจุด 9 เขียนระยะความสูงจริง โดยใช้ระยะ ระยะของเส้น 9-2 12. จากจุด 1 ใช้ระยะห่างของ เส้นแบ่งส่วน 1-2 ในภาพด้านบน เขียนรัศมีตัดเส้น 9-2 ที่จุด 2 13. จากจุด 2 ใช้เส้นความสูงจริงทะแยงหาจุดตัด ใหม่ต่อไป โดยใช้ระยะเส้น 2-10 เขียนรัศมี 14. จากจุด 9 ใช้เส้นแบ่งส่วนในภาพด้านบน จาก 9-10 เขียนรัศมีตัดเส้น 2-10 ที่จุด 10 15. จากจุด 10 ก็จะใช้หาจุด 3 จากจุด 3 ก็ใช้หา จุด 11 จากจุด 11 ก็จะใช้หาจุด 4 และจากจุด 4 ก็จะใช้หาจุด 12 เรียง ต่อไปจนครบทุกเส้น ทุกจุด ใช้เป็นจุด A เป็นจุดเริ่มต้นเขียนรัศมี AE จากจุด E ใช้ระยะ เส้นส่วนแบ่งส่วน EF จากภาพด้านบนขีดตัดกับเส้นรัศมี AF จะได้จุด F จากจุด F เขียนระยะความสูงจริงโดยเส้น BF จากจุด A ใช้ระยะห่างของเส้น AB ในภาพด้านบนเขียน รัศมีตัดเส้น BF เขียนรัศมี จากจุด B ใช้เส้นความสูงถึงทะแยงหาจุดตัดใหม่ ต่อไป ใช้ ระยะเส้น BG เขียนรัศมี จากจุด F ใช้ระยะห่างของเส้นส่วนแบ่งในภาพด้านบนจาก FG เขียนรัศมีตัดเส้น BG ที่จุด G จากจุด G ก็จะใช้หาจุด C จากจุด C ก็จะใช้หาจุด H จากจุด H ก็จะใช้หาจุด D จากจุด D ก็จะใช้หาจุด E และจากจุด E ก็จะใช้หาจุด A 16. ลากเส้นสัมผัสจุดต่าง ๆ ทุกจุดเรียงตามลาดับจะได้ภาพแผ่นคลี่ออกมา สาหรับข้อต่องานกลมจะใช้เขียนแผ่นคลี่หรือจะเขียนเต็มภาพก็ได้ ถ้าเขียนเต็มแผ่นจะต้องเริ่มจากกึงกลางภาพออก สู่ด้านนอกข้างจนครบทุกเส้น