SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
หัวข้อการเรียนรู้ที่ 3 ประเภทของการเชื่อมความต้านทานแบบจุด
(Resistance Spot Welding)
3.1 การเชื่อมจุดแบบโดยตรง หรือเชื่อมจากด้านตรงข้ามของแผ่นโลหะ
การเชื่อมลักษณะนี้ กระทาโดยอิเล็กโทรด 2 ตัวซึ่งจะกดชิ้นงานจากด้านตรงข้าม
กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านรอยต่อของชิ้นงาน (Faying surface หรือ sheet to sheet interface)
ความร้อนที่เกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน ณ รอยต่อชิ้นงานจะทาให้รอยต่อหลอมละลาย
และเกิดรอยเชื่อม (Nugget) ทาให้ชิ้นงานติดกัน ความแข็งแรงของรอยเชื่อมขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของรอยเชื่อม
รูปที่ 5.3 แสดงลักษณะการเชื่อมจุด กรณีโลหะวางซ้อมกัน 2 แผ่น และ 3 แผ่นตามลาดับ
รูปที่ 5.4 แสดงลักษณะการเชื่อมจุด กรณีโลหะวางซ้อมกัน 2 แผ่น แต่มีรอยเชื่อมมากกว่า 1 จุด
3.2 การเชื่อมจุดแบบทางอ้อม หรือเชื่อมจากด้านเดียวกันของแผ่นโลหะ
กรณีที่อิเล็กโทรดไม่สามารถวางอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกันได้ เช่น กรณีชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่มาก
ชุดจับยึดอิเล็กโทรดไม่สามารถติดตั้งได้ จาเป็นต้องใช้วิธีการเชื่อมทางอ้อม โดยการวางแท่ง
ทองแดงในฝั่งตรงข้าม
รูปที่ 5.5 แสดงลักษณะการเชื่อมจุด กรณีวางซ้อนกัน 2 แผ่น แต่มีรอยเชื่อมมากกว่า 1 จุด
รูปที่ 5.6 แสดงลักษณะการเชื่อมจุดแบบทางอ้อม เพื่อให้เกิดรอยเชื่อม 1 ชุด

More Related Content

What's hot (20)

2 1
2 12 1
2 1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
2 7
2 72 7
2 7
 
6 3
6 36 3
6 3
 
1 4
1 41 4
1 4
 
104
104104
104
 
6 2
6 26 2
6 2
 
2 3
2 32 3
2 3
 
2 8
2 82 8
2 8
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
2 6
2 62 6
2 6
 
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
 
2 3
2 32 3
2 3
 
2 2
2 22 2
2 2
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
welding
weldingwelding
welding
 
3 3
3 33 3
3 3
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 
303
303303
303
 
302
302302
302
 
301
301301
301
 
300
300300
300
 
203
203203
203
 
202
202202
202
 
201
201201
201
 

503

  • 1. หัวข้อการเรียนรู้ที่ 3 ประเภทของการเชื่อมความต้านทานแบบจุด (Resistance Spot Welding) 3.1 การเชื่อมจุดแบบโดยตรง หรือเชื่อมจากด้านตรงข้ามของแผ่นโลหะ การเชื่อมลักษณะนี้ กระทาโดยอิเล็กโทรด 2 ตัวซึ่งจะกดชิ้นงานจากด้านตรงข้าม กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านรอยต่อของชิ้นงาน (Faying surface หรือ sheet to sheet interface) ความร้อนที่เกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน ณ รอยต่อชิ้นงานจะทาให้รอยต่อหลอมละลาย และเกิดรอยเชื่อม (Nugget) ทาให้ชิ้นงานติดกัน ความแข็งแรงของรอยเชื่อมขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของรอยเชื่อม รูปที่ 5.3 แสดงลักษณะการเชื่อมจุด กรณีโลหะวางซ้อมกัน 2 แผ่น และ 3 แผ่นตามลาดับ รูปที่ 5.4 แสดงลักษณะการเชื่อมจุด กรณีโลหะวางซ้อมกัน 2 แผ่น แต่มีรอยเชื่อมมากกว่า 1 จุด
  • 2. 3.2 การเชื่อมจุดแบบทางอ้อม หรือเชื่อมจากด้านเดียวกันของแผ่นโลหะ กรณีที่อิเล็กโทรดไม่สามารถวางอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกันได้ เช่น กรณีชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่มาก ชุดจับยึดอิเล็กโทรดไม่สามารถติดตั้งได้ จาเป็นต้องใช้วิธีการเชื่อมทางอ้อม โดยการวางแท่ง ทองแดงในฝั่งตรงข้าม รูปที่ 5.5 แสดงลักษณะการเชื่อมจุด กรณีวางซ้อนกัน 2 แผ่น แต่มีรอยเชื่อมมากกว่า 1 จุด รูปที่ 5.6 แสดงลักษณะการเชื่อมจุดแบบทางอ้อม เพื่อให้เกิดรอยเชื่อม 1 ชุด