SlideShare a Scribd company logo
4.1 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน
การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน (PARALLEL LINE DEVELOPMENT)
การเขียนแผ่นคลี่ด้วยวิธีนี้เหมาะสาหรับรูปร่างงานที่มีด้านตรงเป็นเส้นตรง และขนานกัน เช่น แท่งปริซึม ( Prism)
และแท่งรูปทรงกระบอก (Cylinder) นิยมใช้กันมากสาหรับการเขียนแผ่นคลี่ของท่อกลม ท่อสามแยก และข้องอต่าง ๆ
ก่อนที่จะรู้จักวิธีการเขียนแผ่นคลี่ด้วยวิธีนี้ ควรจะรู้จักความหมายของคาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องก่อน เพื่อสะดวกแก่การ
เรียกชื่อในขณะที่ทาการเขียนแบบ ได้แก่
ภาพด้านหน้า (Front view) หมายถึง ภาพที่มองเห็นทางด้านหน้าของวัตถุเป็นภาพที่แสดงให้เห็น ความสูง และ
ความกว้างของวัตถุนั้น ๆ
ภาพด้านบน (Top or Plan view) หมายถึง ภาพที่มองเห็นทางด้านบนของวัตถุ ภาพด้านบนนี้แสดงให้เห็น
ความกว้างของวัตถุนั้น ๆ
เส้นฐาน (Base line) หมายถึงเส้นที่ใช้ฐานข้อมูลของรูปหน้า เส้นแบ่งส่วนอื่น ๆ จะลากจากภาพด้านบนลงสู่เส้น
ด้านล่างฐานทั้งสิ้น ถ้าฉายเส้นฐานออกไปทาการเขียนแผ่นคลี่ เส้นฐานเกิดใหม่นี้จะเรียกว่าฐานรูปแผ่นคลี่ (Stretch out
line)
เส้นส่วนแบ่ง (Element line ) เป็นเส้นแบ่งรูปร่างของวัตถุออกเป็นส่วน ๆ โดยการสมมุติขึ้นเพื่อให้สะดวกในการ
เขียนแผ่นคลี่ ซึ่งเปรียบได้กับการสร้างอาคารจะต้องนาเอาวัตถุแต่ละส่วน ๆ มาประกอบกันจนเป็นรูปร่างของอาคาร รูป
ปริซึมจะมีขนาดหรือมุมเพื่อใช้เป็นเส้นแบ่งส่วนได้สาหรับรูปทรงกระบอกไม่มีมุมกระบอก ไม่มีทรงกระบอกหรือขอบใน
การใช้เส้นแบ่งส่วน ดังนั้นจึงต้องสมมุติเส้นขึ้นที่ผิวของรูปทรงกระบอกเป็นเส้นตรงแนวขนานกับความยาว โดยแบ่งตาม
จานวนองศา และจานวนตัวเลขหรืออักษรเรียงตามลาดับ ระยะห่างของเส้นแบ่งส่วนต่าง ๆ เส้นรวมจะต้องยาวเท่ากับเส้น
รอบรูปจริงของทรงกระบอกด้วย
แบบแผ่นคลี่ (Stretch out) เป็นแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้นจากวัตถุรูปทรงต่าง ๆ ที่ยังมิได้เผื่อขอบตะเข็บและรอยพับต่าง ๆ
บางครั้งจะเรียกว่า NET PATTERN
เส้นฐานรูปแผ่นคลี่ (Stretch out line) เป็นเส้นที่ได้จากการฉายลากเส้นฐาน หรือเส้นด้านบนของด้านหน้า เส้น
ฐานแผ่นคลี่นี้จะยาวเท่ากับจานวนส่วนแบ่งต่าง ๆ ในภาพด้านบนหรือยาวเท่ากับเส้นรอบรูปของวัตถุ
เส้นฉายภาพ (Projection line) เป็นเส้นที่ลากจากส่วนแบ่งจากภาพด้านหน้าไปยังแบบแผ่นคลี่ สาหรับหาระยะ
ต่าง ๆ บนแผ่นคลี่
ตัวเลขกากับ (Numbering system) คือตัวเลขที่เขียนกากับเส้นแบ่งส่วนต่าง ๆ เพื่อสะดวกในการจัดทาตาแหน่งเส้น
ต่าง ๆ
4.1.1 หลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน
ใช้กับงานส่วนใหญ่ ที่มีด้านคู่ขนานด้านหนึ่ง ได้แก่ ปริซึมทรงต่าง ๆ งานรูปทรงกระบอกและรางน้า เป็นต้น ซึ่ง
เรียกการออกแบบโดยวิธีนี้ยังแบ่งออกได้อีก 3 ประเภท คือ
1. การเขียนภาพแผ่นคลี่ประเภทที่ 1
ให้กับชิ้นงานรูปทรงคู่ขนาน เช่น รูปทรงกระบอก และทรงปริซึมชิ้นเดียว ชิ้นงานในประเภทนี้ ได้แก่ รูปทรง
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า รูปหลายเหลี่ยม และท่อกลม เป็นต้น ซึ่งด้านบานหรือด้านยอดจะถูกตัดเป็นมุม
ต่างๆ โดยจะมีวิธีการเขียนดังนี้
1.1 การเขียนภาพแผนคลี่ของวัตถุรูปทรงกระบอกและปริซึม
ก. การตัดมุมเพียงข้างเดียว
1. เขียนแบบรูปชิ้นงานด้านหน้า และด้านบน ให้ตะเข็บอยู่ทางด้านข้างใดข้างหนึ่ง
2. แบ่งภาพด้านบนออกเป็นส่วนต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ตัวเลขกากับเส้นส่วนแบ่งด้วย โดยทั่วไปรูปทรงกระบอกนิยม
แบ่งเป็น 12 ส่วน และรูปทรงปริซึมแบ่งตามจานวนเหลี่ยมของชิ้นงาน
3. เขียนเส้นฉายภาพ ของเส้นแบ่งจากภาพด้านหน้าหรือด้านข้างจนถึงเส้นตัดมุม ดูรูปที่ 5.5 ประกอบ (เฉพาะรูป
ทรงกระบอก)
4. ลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ให้อยู่ในระดับเดียวกันกับเส้นฐานของภาพด้านหน้าเท่ากับความยาวเส้นรอบรูปและ
จานวนส่วนของภาพด้านบน (ทรงกระบอก)
5. ลากเส้นแบ่งส่วนตั้งฉากกับเส้นของแผ่นคลี่ ประมาณความสูงในภาพด้านหน้า
6. ภาพด้านหน้าจากจุดตัดของเส้นส่วนแบ่งกับเส้นตัดมุม ลากเส้นฉายภาพขนานกันไปตัดยังเส้นส่วนแบ่งแผ่นคลี่
ที่สร้างขึ้น
7. จากจุดตัดที่เกิดขึ้นใหม่ในข้อ 6 ทุกเส้นคู่ เช่น เส้น 1, เส้น 2, เส้น 2 ตัดเส้น 2 เป็นต้น ลากเส้นสัมผัสทุก ๆ
จุด จะได้ภาพแผ่นคลี่ของงานออกมาเป็นภาพแผ่นคลี่ที่ยังไม่ได้เผื่อขอบตะเข็บ (Stretch out)
การเขียนภาพแผ่นคลี่ ตัดมุมเดียว ข้างเดียว
การเขียนแบบแผ่นคลี่บากมุมเดียว ข้างเดียวกัน
ก. การตัดมุม 2 ข้างด้านเดียว
การเขียนภาพแผ่นคลี่ของรูปทรงกระบอก และรูปทรงปิรามิด ตัดมุม 2 ข้าง และรูปร่างอื่น ๆ จะมีวิธีการเขียน
แผ่นคลี่ในลักษณะเดียวกันการตัดมุมเพียงข้างเดียว
การเขียนภาพแผ่นคลี่ของท่อกลมตัด 2 มุมด้านเดียวกัน
แสดงการเขียนแบบแผ่นคลี่ของท่อสี่เหลี่ยมตัด 2 มุม ข้างเดียวกัน
ภาพแผ่นคลี่ของท่อสี่เหลี่ยมตัดเป็นมุมต่าง ข้างเดียวกัน
1.2 การเขียนแผ่นคลี่ของข้องอ (ELBOW)
การเขียนภาพแผ่นคลี่ข้องอธรรมดา จะเขียนแบบได้โดยอาศัยการเขียนแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน สาหรับข้องอที่ลด
หรือเพิ่มขนาดจะไม่สามารถเขียนได้ด้วยวิธีนี้
การเขียนแบบข้องอขั้นแรกจะต้องเขียนภาพล่วงหน้าและด้านบนของข้องอเช่นเดียวกันกับการเขียนแบบแผ่นคลี่รูป
ทรงกระบอกที่ตัดมุมข้างเดียว
ก. การวางตาแหน่งตะเข็บข้องอที่ใช้ทั่ว ๆ ไป มี 2 วิธี คือ
1. การวางตะเข็บไว้ที่ขอบรัศมีด้านใน (Throat) กับขอบด้านหลัง (Heel) ของข้องอสลับกันไป
2. วางตะเข็บไว้ที่เส้นแกนกลางความโตของข้องอ
ข. การเขียนแบบข้องอนี้ตามธรรมดารัศมีของขอบด้านใน (Throat radius) จะยาวเท่ากับครึ่งหนึ่ง, เท่ากับ หรือ
ยาวเป็น 2 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางข้องอ จานวนของข้องออาจจะแบ่งเป็น 2,3 หรือกี่ชิ้นก็ตามให้คูณ
จานวนชิ้นงานด้วย 3 และให้ลบด้วย 2
สาหรับข้องอ 3 ชิ้น จะแบ่งภาพด้านหน้าได้เท่ากับ (2x3)-2 หรือเท่ากับ 4 ส่วนเท่ากันชิ้นแรกและชิ้นสุดท้าย
จะต้องยาวเท่ากันพร้อมทั้งให้ตะเข็บจะต้องตรงกัน สาหรับชิ้นข้องอกลางจะยาวเป็น 2 เท่าของชิ้นข้องอแรกและสุดท้าย
ส่วนตะเข็บก็จะอยู่ตรงข้ามกับงานชิ้นแรกและสุดท้ายด้วย (การวางตะเข็บตามวิธีที่ 1) หรืออาจจะให้ตะเข็บอยู่ตรงกันได้
(การวางตะเข็บวิธีที่ 2)
ส่วนกรรมวิธีการเขียนแผ่นคลี่ จะมีลักษณะเช่นเดียวกับการเขียนแผ่นคลี่ของรูปทรงกระบอกปละปริซึมที่ตัดมุม
เพียงข้างเดียว ดังที่อธิบายแล้วในตอนต้น
แสดงการเขียนการเขียนข้องอ 3 ชิ้น

More Related Content

What's hot

สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
Narasak Sripakdee
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
kruood
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Nut Veron
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
MaloNe Wanger
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
Piyaboon Nilkaew
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ศุภชัย พุทธรักษ์
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
Piyaboon Nilkaew
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3Pannathat Champakul
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 

What's hot (20)

สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
305
305305
305
 
5 1
5 15 1
5 1
 
402
402402
402
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
9 3
9 39 3
9 3
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
104
104104
104
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
1 7
1 71 7
1 7
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
6 3
6 36 3
6 3
 
503
503503
503
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 

Viewers also liked

งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2Pannathat Champakul
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
SlideShare
 
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
 View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom... View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
MongoDB
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52PAulo Borikua
 
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público internoRedes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Comunicação Integrada - Cursos e Soluções (Isabela Pimentel)
 
12 formas básicas de enseñar
12 formas básicas de enseñar12 formas básicas de enseñar
12 formas básicas de enseñar
Patty LóMar
 
Aprendiendo java
Aprendiendo javaAprendiendo java
Aprendiendo java
Orlando Escudero
 
CDW and You
CDW and YouCDW and You
CDW and You
Kimhig
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
Javascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build ArtifactsJavascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build Artifacts
Clay Smith
 
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchoolFinal report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Liliana Gheorghian
 
Etl tool
Etl toolEtl tool
Etl tool
Jinal Shah
 
Prematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacerPrematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacer
Antonio Fernandez
 
Bcg matricx
Bcg matricxBcg matricx
Bcg matricx
Neha Singh
 

Viewers also liked (17)

งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2
 
Document 1820130813093402
Document 1820130813093402Document 1820130813093402
Document 1820130813093402
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
 View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom... View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52
 
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público internoRedes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
 
12 formas básicas de enseñar
12 formas básicas de enseñar12 formas básicas de enseñar
12 formas básicas de enseñar
 
Aprendiendo java
Aprendiendo javaAprendiendo java
Aprendiendo java
 
CDW and You
CDW and YouCDW and You
CDW and You
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
Javascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build ArtifactsJavascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build Artifacts
 
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchoolFinal report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
 
Etl tool
Etl toolEtl tool
Etl tool
 
Prematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacerPrematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacer
 
Bcg matricx
Bcg matricxBcg matricx
Bcg matricx
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
400
400400
400
 
303
303303
303
 
302
302302
302
 
301
301301
301
 
300
300300
300
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

งานโลหะแผ่น4 1

  • 1. 4.1 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน (PARALLEL LINE DEVELOPMENT) การเขียนแผ่นคลี่ด้วยวิธีนี้เหมาะสาหรับรูปร่างงานที่มีด้านตรงเป็นเส้นตรง และขนานกัน เช่น แท่งปริซึม ( Prism) และแท่งรูปทรงกระบอก (Cylinder) นิยมใช้กันมากสาหรับการเขียนแผ่นคลี่ของท่อกลม ท่อสามแยก และข้องอต่าง ๆ ก่อนที่จะรู้จักวิธีการเขียนแผ่นคลี่ด้วยวิธีนี้ ควรจะรู้จักความหมายของคาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องก่อน เพื่อสะดวกแก่การ เรียกชื่อในขณะที่ทาการเขียนแบบ ได้แก่ ภาพด้านหน้า (Front view) หมายถึง ภาพที่มองเห็นทางด้านหน้าของวัตถุเป็นภาพที่แสดงให้เห็น ความสูง และ ความกว้างของวัตถุนั้น ๆ ภาพด้านบน (Top or Plan view) หมายถึง ภาพที่มองเห็นทางด้านบนของวัตถุ ภาพด้านบนนี้แสดงให้เห็น ความกว้างของวัตถุนั้น ๆ เส้นฐาน (Base line) หมายถึงเส้นที่ใช้ฐานข้อมูลของรูปหน้า เส้นแบ่งส่วนอื่น ๆ จะลากจากภาพด้านบนลงสู่เส้น ด้านล่างฐานทั้งสิ้น ถ้าฉายเส้นฐานออกไปทาการเขียนแผ่นคลี่ เส้นฐานเกิดใหม่นี้จะเรียกว่าฐานรูปแผ่นคลี่ (Stretch out line) เส้นส่วนแบ่ง (Element line ) เป็นเส้นแบ่งรูปร่างของวัตถุออกเป็นส่วน ๆ โดยการสมมุติขึ้นเพื่อให้สะดวกในการ เขียนแผ่นคลี่ ซึ่งเปรียบได้กับการสร้างอาคารจะต้องนาเอาวัตถุแต่ละส่วน ๆ มาประกอบกันจนเป็นรูปร่างของอาคาร รูป ปริซึมจะมีขนาดหรือมุมเพื่อใช้เป็นเส้นแบ่งส่วนได้สาหรับรูปทรงกระบอกไม่มีมุมกระบอก ไม่มีทรงกระบอกหรือขอบใน การใช้เส้นแบ่งส่วน ดังนั้นจึงต้องสมมุติเส้นขึ้นที่ผิวของรูปทรงกระบอกเป็นเส้นตรงแนวขนานกับความยาว โดยแบ่งตาม จานวนองศา และจานวนตัวเลขหรืออักษรเรียงตามลาดับ ระยะห่างของเส้นแบ่งส่วนต่าง ๆ เส้นรวมจะต้องยาวเท่ากับเส้น รอบรูปจริงของทรงกระบอกด้วย แบบแผ่นคลี่ (Stretch out) เป็นแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้นจากวัตถุรูปทรงต่าง ๆ ที่ยังมิได้เผื่อขอบตะเข็บและรอยพับต่าง ๆ บางครั้งจะเรียกว่า NET PATTERN เส้นฐานรูปแผ่นคลี่ (Stretch out line) เป็นเส้นที่ได้จากการฉายลากเส้นฐาน หรือเส้นด้านบนของด้านหน้า เส้น ฐานแผ่นคลี่นี้จะยาวเท่ากับจานวนส่วนแบ่งต่าง ๆ ในภาพด้านบนหรือยาวเท่ากับเส้นรอบรูปของวัตถุ เส้นฉายภาพ (Projection line) เป็นเส้นที่ลากจากส่วนแบ่งจากภาพด้านหน้าไปยังแบบแผ่นคลี่ สาหรับหาระยะ ต่าง ๆ บนแผ่นคลี่ ตัวเลขกากับ (Numbering system) คือตัวเลขที่เขียนกากับเส้นแบ่งส่วนต่าง ๆ เพื่อสะดวกในการจัดทาตาแหน่งเส้น ต่าง ๆ 4.1.1 หลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน ใช้กับงานส่วนใหญ่ ที่มีด้านคู่ขนานด้านหนึ่ง ได้แก่ ปริซึมทรงต่าง ๆ งานรูปทรงกระบอกและรางน้า เป็นต้น ซึ่ง เรียกการออกแบบโดยวิธีนี้ยังแบ่งออกได้อีก 3 ประเภท คือ
  • 2. 1. การเขียนภาพแผ่นคลี่ประเภทที่ 1 ให้กับชิ้นงานรูปทรงคู่ขนาน เช่น รูปทรงกระบอก และทรงปริซึมชิ้นเดียว ชิ้นงานในประเภทนี้ ได้แก่ รูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า รูปหลายเหลี่ยม และท่อกลม เป็นต้น ซึ่งด้านบานหรือด้านยอดจะถูกตัดเป็นมุม ต่างๆ โดยจะมีวิธีการเขียนดังนี้ 1.1 การเขียนภาพแผนคลี่ของวัตถุรูปทรงกระบอกและปริซึม ก. การตัดมุมเพียงข้างเดียว 1. เขียนแบบรูปชิ้นงานด้านหน้า และด้านบน ให้ตะเข็บอยู่ทางด้านข้างใดข้างหนึ่ง 2. แบ่งภาพด้านบนออกเป็นส่วนต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ตัวเลขกากับเส้นส่วนแบ่งด้วย โดยทั่วไปรูปทรงกระบอกนิยม แบ่งเป็น 12 ส่วน และรูปทรงปริซึมแบ่งตามจานวนเหลี่ยมของชิ้นงาน 3. เขียนเส้นฉายภาพ ของเส้นแบ่งจากภาพด้านหน้าหรือด้านข้างจนถึงเส้นตัดมุม ดูรูปที่ 5.5 ประกอบ (เฉพาะรูป ทรงกระบอก) 4. ลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ให้อยู่ในระดับเดียวกันกับเส้นฐานของภาพด้านหน้าเท่ากับความยาวเส้นรอบรูปและ จานวนส่วนของภาพด้านบน (ทรงกระบอก) 5. ลากเส้นแบ่งส่วนตั้งฉากกับเส้นของแผ่นคลี่ ประมาณความสูงในภาพด้านหน้า 6. ภาพด้านหน้าจากจุดตัดของเส้นส่วนแบ่งกับเส้นตัดมุม ลากเส้นฉายภาพขนานกันไปตัดยังเส้นส่วนแบ่งแผ่นคลี่ ที่สร้างขึ้น 7. จากจุดตัดที่เกิดขึ้นใหม่ในข้อ 6 ทุกเส้นคู่ เช่น เส้น 1, เส้น 2, เส้น 2 ตัดเส้น 2 เป็นต้น ลากเส้นสัมผัสทุก ๆ จุด จะได้ภาพแผ่นคลี่ของงานออกมาเป็นภาพแผ่นคลี่ที่ยังไม่ได้เผื่อขอบตะเข็บ (Stretch out) การเขียนภาพแผ่นคลี่ ตัดมุมเดียว ข้างเดียว
  • 3. การเขียนแบบแผ่นคลี่บากมุมเดียว ข้างเดียวกัน ก. การตัดมุม 2 ข้างด้านเดียว การเขียนภาพแผ่นคลี่ของรูปทรงกระบอก และรูปทรงปิรามิด ตัดมุม 2 ข้าง และรูปร่างอื่น ๆ จะมีวิธีการเขียน แผ่นคลี่ในลักษณะเดียวกันการตัดมุมเพียงข้างเดียว การเขียนภาพแผ่นคลี่ของท่อกลมตัด 2 มุมด้านเดียวกัน แสดงการเขียนแบบแผ่นคลี่ของท่อสี่เหลี่ยมตัด 2 มุม ข้างเดียวกัน
  • 4. ภาพแผ่นคลี่ของท่อสี่เหลี่ยมตัดเป็นมุมต่าง ข้างเดียวกัน 1.2 การเขียนแผ่นคลี่ของข้องอ (ELBOW) การเขียนภาพแผ่นคลี่ข้องอธรรมดา จะเขียนแบบได้โดยอาศัยการเขียนแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน สาหรับข้องอที่ลด หรือเพิ่มขนาดจะไม่สามารถเขียนได้ด้วยวิธีนี้ การเขียนแบบข้องอขั้นแรกจะต้องเขียนภาพล่วงหน้าและด้านบนของข้องอเช่นเดียวกันกับการเขียนแบบแผ่นคลี่รูป ทรงกระบอกที่ตัดมุมข้างเดียว ก. การวางตาแหน่งตะเข็บข้องอที่ใช้ทั่ว ๆ ไป มี 2 วิธี คือ 1. การวางตะเข็บไว้ที่ขอบรัศมีด้านใน (Throat) กับขอบด้านหลัง (Heel) ของข้องอสลับกันไป 2. วางตะเข็บไว้ที่เส้นแกนกลางความโตของข้องอ ข. การเขียนแบบข้องอนี้ตามธรรมดารัศมีของขอบด้านใน (Throat radius) จะยาวเท่ากับครึ่งหนึ่ง, เท่ากับ หรือ ยาวเป็น 2 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางข้องอ จานวนของข้องออาจจะแบ่งเป็น 2,3 หรือกี่ชิ้นก็ตามให้คูณ จานวนชิ้นงานด้วย 3 และให้ลบด้วย 2 สาหรับข้องอ 3 ชิ้น จะแบ่งภาพด้านหน้าได้เท่ากับ (2x3)-2 หรือเท่ากับ 4 ส่วนเท่ากันชิ้นแรกและชิ้นสุดท้าย จะต้องยาวเท่ากันพร้อมทั้งให้ตะเข็บจะต้องตรงกัน สาหรับชิ้นข้องอกลางจะยาวเป็น 2 เท่าของชิ้นข้องอแรกและสุดท้าย ส่วนตะเข็บก็จะอยู่ตรงข้ามกับงานชิ้นแรกและสุดท้ายด้วย (การวางตะเข็บตามวิธีที่ 1) หรืออาจจะให้ตะเข็บอยู่ตรงกันได้ (การวางตะเข็บวิธีที่ 2) ส่วนกรรมวิธีการเขียนแผ่นคลี่ จะมีลักษณะเช่นเดียวกับการเขียนแผ่นคลี่ของรูปทรงกระบอกปละปริซึมที่ตัดมุม เพียงข้างเดียว ดังที่อธิบายแล้วในตอนต้น