SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
6.1.2 หลักของการเขียนแผ่นภาพด้วยวิธีเส้นสามเหลี่ยมมุมฉาก
ประเภทที่ 1 ท่อเหลี่ยมต่อท่อกลม
จะเป็นการเขียนแบบแผ่นคลี่ของรูปงานที่มีการเปลี่ยนขนาดและรูปทรงเส้นแกนกลางเช่นเดียวกัน เช่น ข้อต่อท่อ
สี่เหลี่ยมต่อท่อกลม (Square to round fitting transition) ข้อต่อรูปทรงวงรีต่อท่อกลม (Oval to round fitting transition)
เป็นต้น และข้อต่อท่อสี่เหลี่ยมต่อท่อกลมเยื้องศูนย์ก็จะเขียนแบบแผ่นคลี่ในประเภทนี้เช่นเดียวกัน
ข้อต่อรูปสี่เหลี่ยมท่อกลมมีลาดับขั้นการเขียนภาพแผ่นคลี่ดังนี้
1. เขียนภาพด้านบนและภาพด้านหน้าของรูปแบบตามต้องการ
2. แบ่งภาพด้านบนออกเป็นส่วน ๆ พร้อมทั้งให้สัญญาลักษณ์หมายเลขกากับเส้นทุก ๆ จุด
3. ลากเส้นจากจุดตัดแบ่งส่วนในข้อ 2 ไปยังมุมต่าง ๆ ของรูป (ด้านบน)
4. ลากเส้นฉายภาพจากภาพด้านบนทุก ๆ จุดแบ่งไปยังภาพด้านหน้า
5. จากจุดตัดที่เกิดจากเส้นฉายภาพหลักตัดกับภาพด้านหน้าในข้อ 4 ให้ลากาเส้นแบ่งส่วนไปยังมุมของฐาน
6. ลากเส้นความสูงจากภาพด้านหน้าแล้วนาไปเขียนเส้นตั้ง (Vertical line)
7. ลากเส้นนอน (Base line) ให้ตั้งฉากกับเส้นตั้งให้ยาวพอสมควร
8. จากภาพด้านบน(Top view) ถ่ายระยะความยาวของเส้นแบ่งส่วนทุกเส้นลงในเส้นนอน (ข้อ 7) โดยเริ่มต้นจาก
จุดมุมตัดของมุมฉาก พร้อมทั้งให้หมายเลขกากับจุดตามเส้นแบ่งของภาพด้านบนด้วย
9. ระยะที่ใหม่จากจุดต่าง ๆ ในข้อ 8 ไปยังจุดปลายของเส้นตั้ง (ข้อ 6) ซึ่งเส้นที่ได้ใหม่นี้จะเรียกว่าเส้นความสูง
(True lengths)
10. นาระยะความยาวของฐานจากภาพด้านหน้าไปขีดเพื่อเขียนภาพแผ่นคลี่
11. จากจุดปลายสุดของเส้นในข้อ 10 ให้ใช้ระยะความสูงจริงที่ได้จากข้อ 9 เฉพาะเส้นที่มีความสัมพันธ์กับด้านฐาน
มากที่สุด (เส้น 4) นาไปเขียนเป็นจุดเริ่มต้นของแผ่นคลี่
12. นาระยะจากจุดแบ่งส่วนจากภาพด้านบนส่วนต่อ ๆ ไป (จากข้อ 2 ) ไปเขียนระยะโดยจุดตัดที่ได้จากข้อ 11 เป็น
จุดเริ่มต้น
13. นาระยะจากเส้นความสูงจากข้อ 9 เส้นที่มีความสัมพันธ์ถัดไป ไปเขียนระยะลงโดยเริ่มมุมของฐานของ
สามเหลี่ยม (A,B) ตัดระยะของเส้นแบ่งส่วนในข้อ 12 ได้เป็นจุดตัด 3,5
14. จากจุดตัดที่ได้จากข้อ 13 (3,5) ให้นาระยะจากจุดแบ่งส่วนที่ถัดจากข้อ 12 ไปเขียนระยะอีก (3-2 และ 5-6)
15. แล้วนาระยะของเส้นความสูงเส้นถนัดไปตัดระยะแบ่งส่วนในข้อ 14 ได้เป็นจุดตัด 2 และ5 ตามลาดับ
16. จากจุด 2 และ 5 ที่ได้ใช้ระยะแบ่งส่วนที่เหลือ (2-1 และ 6-7) เขียนเส้นแบ่งส่วนอีก
17. ใช้เส้นความสูงจริงที่เหลือเขียนระยะได้เป็นจุด 1 และ 7 ตามลาดับ
18. จากจุด 1 และ 7 ให้ใช้ระยะขอบตะเข็บ (S-1 และ 7-S) แต่ละด้าน (ได้จากเส้นขอบรูปด้านหน้าของแต่ละเส้น)
เขียนรัศมี
19. จากจุดตัด A-S และ B-S จะได้เส้นระยะขอบถึงตะเข็บ (A-S และ B-S) ในภาพด้านบนเขียนระยะโดยเริ่มจาก
เริ่มจาก A และ B ตัดเส้นรัศมี ในข้อ 18 จะได้จุด S ทั้งสองข้าง
20. ลากเส้นสัมผัสจุดทุกจุดได้ครึ่งแผ่นคลี่ของรูปทรงตามงานตามต้องการ
สาหรับข้อต่อรูปวงรีก็จะมีวิธีการเขียนภาพแผ่นคลี่เช่นเดียวกับข้อต่อทรงกลม ดังรูป
แสดงภาพแผ่นคลี่ของข้อต่อท่อวงรีต่อท่อกลม

More Related Content

What's hot

งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4Pannathat Champakul
 
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุมคณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุมTa Lala
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1Pannathat Champakul
 
ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5Pannathat Champakul
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติNat Basri
 
Mathkrootip
MathkrootipMathkrootip
Mathkrootiptipzeen
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2krutew Sudarat
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนอ งานนำเสนอ
งานนำเสนอ tammaporn2010
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม GspWi Rut
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันkanjana2536
 

What's hot (20)

งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4
 
304
304304
304
 
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุมคณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1
 
6 2
6 26 2
6 2
 
ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ความหมายทรงกลม
ความหมายทรงกลมความหมายทรงกลม
ความหมายทรงกลม
 
6 4
6 46 4
6 4
 
Mathkrootip
MathkrootipMathkrootip
Mathkrootip
 
7 4
7 47 4
7 4
 
วงรี
วงรีวงรี
วงรี
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนอ งานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น6 2

  • 1. 6.1.2 หลักของการเขียนแผ่นภาพด้วยวิธีเส้นสามเหลี่ยมมุมฉาก ประเภทที่ 1 ท่อเหลี่ยมต่อท่อกลม จะเป็นการเขียนแบบแผ่นคลี่ของรูปงานที่มีการเปลี่ยนขนาดและรูปทรงเส้นแกนกลางเช่นเดียวกัน เช่น ข้อต่อท่อ สี่เหลี่ยมต่อท่อกลม (Square to round fitting transition) ข้อต่อรูปทรงวงรีต่อท่อกลม (Oval to round fitting transition) เป็นต้น และข้อต่อท่อสี่เหลี่ยมต่อท่อกลมเยื้องศูนย์ก็จะเขียนแบบแผ่นคลี่ในประเภทนี้เช่นเดียวกัน ข้อต่อรูปสี่เหลี่ยมท่อกลมมีลาดับขั้นการเขียนภาพแผ่นคลี่ดังนี้ 1. เขียนภาพด้านบนและภาพด้านหน้าของรูปแบบตามต้องการ 2. แบ่งภาพด้านบนออกเป็นส่วน ๆ พร้อมทั้งให้สัญญาลักษณ์หมายเลขกากับเส้นทุก ๆ จุด 3. ลากเส้นจากจุดตัดแบ่งส่วนในข้อ 2 ไปยังมุมต่าง ๆ ของรูป (ด้านบน) 4. ลากเส้นฉายภาพจากภาพด้านบนทุก ๆ จุดแบ่งไปยังภาพด้านหน้า 5. จากจุดตัดที่เกิดจากเส้นฉายภาพหลักตัดกับภาพด้านหน้าในข้อ 4 ให้ลากาเส้นแบ่งส่วนไปยังมุมของฐาน 6. ลากเส้นความสูงจากภาพด้านหน้าแล้วนาไปเขียนเส้นตั้ง (Vertical line) 7. ลากเส้นนอน (Base line) ให้ตั้งฉากกับเส้นตั้งให้ยาวพอสมควร 8. จากภาพด้านบน(Top view) ถ่ายระยะความยาวของเส้นแบ่งส่วนทุกเส้นลงในเส้นนอน (ข้อ 7) โดยเริ่มต้นจาก จุดมุมตัดของมุมฉาก พร้อมทั้งให้หมายเลขกากับจุดตามเส้นแบ่งของภาพด้านบนด้วย 9. ระยะที่ใหม่จากจุดต่าง ๆ ในข้อ 8 ไปยังจุดปลายของเส้นตั้ง (ข้อ 6) ซึ่งเส้นที่ได้ใหม่นี้จะเรียกว่าเส้นความสูง (True lengths) 10. นาระยะความยาวของฐานจากภาพด้านหน้าไปขีดเพื่อเขียนภาพแผ่นคลี่ 11. จากจุดปลายสุดของเส้นในข้อ 10 ให้ใช้ระยะความสูงจริงที่ได้จากข้อ 9 เฉพาะเส้นที่มีความสัมพันธ์กับด้านฐาน มากที่สุด (เส้น 4) นาไปเขียนเป็นจุดเริ่มต้นของแผ่นคลี่ 12. นาระยะจากจุดแบ่งส่วนจากภาพด้านบนส่วนต่อ ๆ ไป (จากข้อ 2 ) ไปเขียนระยะโดยจุดตัดที่ได้จากข้อ 11 เป็น จุดเริ่มต้น 13. นาระยะจากเส้นความสูงจากข้อ 9 เส้นที่มีความสัมพันธ์ถัดไป ไปเขียนระยะลงโดยเริ่มมุมของฐานของ สามเหลี่ยม (A,B) ตัดระยะของเส้นแบ่งส่วนในข้อ 12 ได้เป็นจุดตัด 3,5 14. จากจุดตัดที่ได้จากข้อ 13 (3,5) ให้นาระยะจากจุดแบ่งส่วนที่ถัดจากข้อ 12 ไปเขียนระยะอีก (3-2 และ 5-6) 15. แล้วนาระยะของเส้นความสูงเส้นถนัดไปตัดระยะแบ่งส่วนในข้อ 14 ได้เป็นจุดตัด 2 และ5 ตามลาดับ 16. จากจุด 2 และ 5 ที่ได้ใช้ระยะแบ่งส่วนที่เหลือ (2-1 และ 6-7) เขียนเส้นแบ่งส่วนอีก 17. ใช้เส้นความสูงจริงที่เหลือเขียนระยะได้เป็นจุด 1 และ 7 ตามลาดับ 18. จากจุด 1 และ 7 ให้ใช้ระยะขอบตะเข็บ (S-1 และ 7-S) แต่ละด้าน (ได้จากเส้นขอบรูปด้านหน้าของแต่ละเส้น) เขียนรัศมี 19. จากจุดตัด A-S และ B-S จะได้เส้นระยะขอบถึงตะเข็บ (A-S และ B-S) ในภาพด้านบนเขียนระยะโดยเริ่มจาก เริ่มจาก A และ B ตัดเส้นรัศมี ในข้อ 18 จะได้จุด S ทั้งสองข้าง