SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
หัวข้อการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน
(Parallel-line Method)
การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน ชิ้นงานจะต้องมีรูปทรงของฐานและยอดเหมือนกัน
เช่น รูปปริซึม (Prism) และรูปทรงกระบอก (Cylinder) เมื่อเราฉายเส้นแผ่นคลี่ออกไปจะเป็นเส้น
ขนาน (Parallel Line) โดยเริ่มจากการเขียนภาพสามมิติของชิ้นงาน ภาพฉายด้านหน้า ภาพฉาย
ด้านบน เส้นฐาน เส้นแบ่งส่วน เส้นความยาวรอบรูป และเส้นฉาย จากนั้นจึงนาภาพมาใช้เขียนแบบ
แผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน
3.1 คาจากัดความ
คาจากัดความ ที่ใช้สื่อความหมายสาหรับการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน เพื่อสะดวก
แก่การเรียกชื่อในขณะทาการเขียนแบบ ดังนี้
3.1.1 รูปด้านหน้า (Front View or Elevation View) เป็นรูปด้านหน้า ซึ่งจะแสดง
ความสูงและความกว้างของชิ้นงาน หรือจะใช้รูปด้านข้าง (Side View)
3.1.2 เส้นฐาน (Base Line) เป็นเส้นที่ลากจากฐานรูปด้านหน้าออกไปข้าง จะต้องให้ตั้ง
ฉากกับเส้นของรูปด้านข้างด้วย ใช้เป็นเส้นอ้างอิงและเป็นเส้นฐานของรูปแผ่นคลี่
3.1.3 เส้นแบ่งส่วน (Element Line) เป็นเส้นแบ่งเส้นรอบรูปชิ้นงานที่รูปแปลน
ออกเป็นส่วนๆ เพื่อให้สะดวกในการเขียนแบบแผ่นคลี่ งานทรงปริซึมจะมีขอบหรือมุมแบ่งส่วนได้
สาหรับงานรูปทรงกระบอกไม่มีมุม หรือขอบในการที่จะใช้แบ่งส่วน ดังนั้นจึงต้องสมมติขึ้นที่ผิวของรูป
ทรงกระบอกเป็นเส้นตรงตามแนวขนานกับความยาว โดยการแบ่งตามจานวนองศา และใช้จานวน
ตัวเลข หรือตัวอักษรเรียงตามลาดับ ระยะห่างของเส้นแบ่งส่วนทุก ๆ เส้นรวมกันจะยาวเท่ากับเส้น
รอบรูปของชิ้นงาน
3.1.4 เส้นรอบรูป (Stretch Out Line) เป็นเส้นรอบรูปหรือเส้นแผ่ของแผ่นคลี่ขอบของ
ชิ้นงานออกมาโดยจะมีความยาวเท่ากับเส้นรอบรูปของชิ้นงาน เส้นแผ่นี้จะต่อมาจากเส้นฐาน หรือ
ถ่ายขนาดมาจากภาพด้านบนเส้นนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของภาพแผ่นคลี่
3.1.5 เส้นฉาย (Projection Line) เป็นเส้นที่ใช้ถ่ายขนาดหรือระยะจากรูปด้านหนึ่งไป
ยังรูปอีกด้านหนึ่ง
3.1.6 ตัวเลขกากับเส้น (Numbering system) คือตัวเลขที่เขียนกากับเส้นแบ่งส่วนต่าง
ๆ เพื่อสะดวกในการจาตาแหน่งเส้นต่าง ๆ
3.1.7 ภาพแผ่นคลี่ (Stretch out) เป็นภาพแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้นจากชิ้นงานรูปทรง ต่าง
ๆ ที่ยังไม่ได้เผื่อขอบและตะเข็บ
3.1.8 แบบแผ่นคลี่ (Pattern) เป็นภาพแผ่นคลี่ชิ้นงานที่สาเร็จรูปแล้ว โดยมีการเผื่อ
ตะเข็บพร้อมที่จะนาไปตัดและขึ้นรูปตามต้องการ
รูปที่ 2.5 แสดงความหมายของเส้นในแบบแผ่นคลี่
รูปที่ 2.6 แสดงแบบแผ่นคลี่ที่เผื่อตะเข็บ
การเขียนแบบแผ่นคลี่เหมาะสมต่อการเขียนแบบที่มีลักษณะเป็นทรงลูกบาศก์หรือชิ้นงานที่
เป็นทรงกระบอก ซึ่งมีขอบทั้งสองด้านขนานกัน สามารถเขียนแบบแผ่นคลี่ได้ 2 ลักษณะ คือ การ
เขียนแบบแผ่นคลี่ไม่แยกชิ้นและการเขียนแบบแผ่นคลี่แยกชิ้น
3.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปทรงลูกบาศก์ไม่แยกชิ้น
3.2.1 เขียนภาพ 3 มิติ งานกล่องสี่เหลี่ยม กาหนดขนาด ความกว้าง ความยาว และ
ความสูง
รูปที่ 2.7 แสดงลักษณะภาพ 3 มิติของงานกล่องสี่เหลี่ยม
3.2.2 เขียนแบบแผ่นคลี่งานแบบไม่แยกชิ้น โดยเริ่มจาก เขียนเส้นสี่เหลี่ยมก้นฐาน
ลากเส้นขนานแผ่ออกไปทั้ง 4 ด้าน ขนาดเท่ากับความสูงของกล่อง เผื่อระยะพับขอบ 2 ชั้นและเผื่อ
ระยะเข้าตะเข็บข้าง
รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะแบบแผ่นคลี่งานแบบไม่แยกชิ้น
3.3 การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปทรงลูกบาศก์แยกชิ้น
3.3.1 เขียนภาพสามมิติ กาหนดขนาดความกว้าง ความยาว และความสูง
3.3.2 เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของชิ้นงานที่
ต้องการเขียนแบบแผ่นคลี่
3.3.3 แบ่งส่วนรูปด้านบน และกาหนดตัวอักษรหรือตัวเลขกากับส่วน
3.3.4 ลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) ออกไป จากนั้นฉายเส้นจากจุดแบ่งรูป
ด้านบนไปยังรูปด้านหน้า และฉายออกไปทางด้านข้างของรูปด้านบน
3.3.5 แบ่งความยาวออกเป็นส่วนตามความยาวจากรูปด้านบน จากนั้นถ่ายขนาดลงบน
เส้นฐานของรูปแผ่นคลี่
3.3.6 จากจุดแบ่งบนเส้นฐานของแผ่นคลี่ ให้ลากเส้นตั้งฉากที่มีความยาวเท่ากับระยะ
ความสูงของรูปด้านหน้า
3.3.7 ลากเส้นรอบรูปและเส้นรอบพับแผ่นคลี่ และใส่ฝาด้านล่างและด้านบน
3.3.8 ชิ้นงานแผ่นคลี่รูปกล่องลูกบาศก์ที่สมบูรณ์
3.3.9 เผื่อตะเข็บรอยต่อเพื่อการขึ้นรูปและเพื่อตะเข็บรอยต่อในการประกอบงาน
(กรณีการประกอบชิ้นงาน)
3.4 การเขียนแบบแผ่นคลี่กล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง
3.4.1 เขียนภาพ 3 มิติ กล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง และกาหนดขนาดความกว้าง ความ
ยาว และความสูง
รูปที่ 2.9 แสดงลักษณะภาพ 3 มิติ งานกล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง
3.4.2 เขียนแผ่นคลี่แบบไม่แยกชิ้น โดยเริ่มจากเส้นสี่เหลี่ยมก้นฐาน และลากเส้นขนาน
แผ่ออกทั้งสามด้าน ขนาดเท่ากับความสูงของกล่องปลายเฉียง เผื่อระยะพับขอบสองชั้นและเผื่อระยะ
เข้าตะเข็บ
รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะภาพแผ่นคลี่งานกล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียงแบบไม่แยกชิ้น
3.5 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกระป๋องกลม
3.5.1 เขียนภาพ 3 มิติ กล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง และกาหนดขนาดความกว้าง ความ
ยาว และความสูง
รูปที่ 2.11 แสดงลักษณะภาพ 3 มิติงานกระป๋องกลม
3.5.2 เขียนภาพแผ่นคลี่งานส่วนลาตัวกระป๋อง โดยการลากเส้นขนาดความสูง เท่ากับ
ส่วนสูงของกระป๋องยาวเท่ากับเส้นรอยวงที่คานวณได้ เผื่อตะเข็บข้าง สาหรับพับประกอบเข้าตะเข็บ
เผื่อขอบงานด้านบนสาหรับพับประกอบเข้าตะเข็บ เผื่อขอบงานด้านบนสาหรับเข้าขอบลวด ด้านล่าง
เผื่อขอบงานไว้สาหรับพับเข้าตะเข็บกับส่วนก้นฐาน
รูปที่ 2.12 แสดงลักษณะภาพแผ่นคลี่งานชิ้นที่ 1 ลาตัวกระป๋อง
3.5.3 เขียนแผ่นคลี่ส่วนก้นฐานเป็นวงกลม ใช้วงเวียนกางรัศมีเท่ากับขนาด เส้นผ่าน
ศูนย์กลางของกระป๋องเผื่อขอบงานสาหรับพับต่อเข้าตะเข็บกับส่วนลาตัวของกระป๋อง
รูปที่ 2.13 แสดงลักษณะภาพแบบแผ่นคลี่งานชิ้นที่ 2 ก้นฐานกระป๋อง
3.6 การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปทรงกระบอก
ชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก เช่น กระป๋องหรือท่อ เป็นต้น ทรงกระบอกที่นามาเขียน
แบบแผ่นคลี่มี 2 ลักษณะ คือ รูปทรงกระบอกตัดตรงและรูปทรงกระบอกตัดเฉียง
3.6.1 ขั้นตอนการเขียนแบบแผ่นคลี่ทรงกระบอกตัดตรง
1) เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของชิ้นงานที่
ต้องการเขียนแบบแผ่นคลี่
2) ทาการแบ่งส่วนของวงกลมโดยใช้วงเวียนในการแบ่ง และกาหนดตัวอักษรหรือตัวเลข
กากับส่วน แล้วลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) ออกไปด้านข้าง
3) ทาการแบ่งเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) โดยวัดจากระยะส่วนของวงกลมที่แบ่ง
ไว้
4) จากจุดแบ่งบนเส้นฐานของแผ่นคลี่ ให้ลากเส้นตั้งฉากที่มีความยาวเท่ากับระยะความ
สูงของรูปด้านหน้า
5) ลากเส้นรอบรูป และใส่ฝาปิดด้านล่างและด้านบน ซึ่งมีขนาดเดียวกับภาพด้านบน
6) ชิ้นงานแผ่นคลี่ทรงกระบอกตัดตรงที่สมบูรณ์
3.6.2 ขั้นตอนการเขียนแบบแผ่นคลี่ทรงกระบอกตัดเฉียง
1) เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของชิ้นงานที่
ต้องการเขียนแบบแผ่นคลี
2) ทาการแบ่งส่วนของวงกลมโดยใช้วงเวียนในการแบ่ง และกาหนดตัวอักษรหรือตัวเลข
กากับส่วน แล้วลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) ออกไปด้านข้าง
3) จากส่วนของวงกลมที่ทาการแบ่ง ให้ฉายส่วนที่แบ่งขึ้นไปยังภาพด้านหน้าที่ระนาบ
ตัดด้านหน้า และกาหนดตัวเลขกากับส่วนลงไป เพื่อป้องกันความผิดพลาด
4) ทาการแบ่งเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) โดยวัดจากระยะส่วนของวงกลมที่แบ่ง
ไว้ แล้วให้ลากเส้นตั้งฉากที่มีความยาวเท่ากับระยะความสูงสุดของรูปด้านหน้า
5) จากจุดตัดที่ระนาบตัดเฉียงด้านหน้าให้ลากเส้นขนานกับเส้นฐานของแผ่นคลี่ให้ตัด
กับเส้นตั้งฉาก และกาหนดจุดที่เส้นตัดกัน
6) ที่จุดตัด ให้ใช้ Curve วาดส่วนโค้งผ่านจุดตัดต่างๆ โดยต้องผ่านจุดตัดอย่างน้อย 3
จุด ในการเขียนส่วนโค้ง 1 เส้น
7) เขียนเส้นรอบรูป

More Related Content

What's hot

สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2
สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2
สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2guestc7f66
 
แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5kanjana2536
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7Sammy'Zawa Zatanz
 
การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1kruyafkk
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายเมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายAdisak1341
 

What's hot (12)

สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2
สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2
สื่อการเรียน ช่วงชั้นที่ 3.2
 
แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5
 
ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1
 
4 1
4 14 1
4 1
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7
 
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสีการใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
 
การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายเมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
 
2
22
2
 

Similar to 303

งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2Pannathat Champakul
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1Pannathat Champakul
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3Si Seng
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3Pannathat Champakul
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 

Similar to 303 (14)

งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
9 1
9 19 1
9 1
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
9 2
9 29 2
9 2
 
20101210 doc-create-howto
20101210 doc-create-howto20101210 doc-create-howto
20101210 doc-create-howto
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
302
302302
302
 

303

  • 1. หัวข้อการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน (Parallel-line Method) การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน ชิ้นงานจะต้องมีรูปทรงของฐานและยอดเหมือนกัน เช่น รูปปริซึม (Prism) และรูปทรงกระบอก (Cylinder) เมื่อเราฉายเส้นแผ่นคลี่ออกไปจะเป็นเส้น ขนาน (Parallel Line) โดยเริ่มจากการเขียนภาพสามมิติของชิ้นงาน ภาพฉายด้านหน้า ภาพฉาย ด้านบน เส้นฐาน เส้นแบ่งส่วน เส้นความยาวรอบรูป และเส้นฉาย จากนั้นจึงนาภาพมาใช้เขียนแบบ แผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน 3.1 คาจากัดความ คาจากัดความ ที่ใช้สื่อความหมายสาหรับการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นขนาน เพื่อสะดวก แก่การเรียกชื่อในขณะทาการเขียนแบบ ดังนี้ 3.1.1 รูปด้านหน้า (Front View or Elevation View) เป็นรูปด้านหน้า ซึ่งจะแสดง ความสูงและความกว้างของชิ้นงาน หรือจะใช้รูปด้านข้าง (Side View) 3.1.2 เส้นฐาน (Base Line) เป็นเส้นที่ลากจากฐานรูปด้านหน้าออกไปข้าง จะต้องให้ตั้ง ฉากกับเส้นของรูปด้านข้างด้วย ใช้เป็นเส้นอ้างอิงและเป็นเส้นฐานของรูปแผ่นคลี่ 3.1.3 เส้นแบ่งส่วน (Element Line) เป็นเส้นแบ่งเส้นรอบรูปชิ้นงานที่รูปแปลน ออกเป็นส่วนๆ เพื่อให้สะดวกในการเขียนแบบแผ่นคลี่ งานทรงปริซึมจะมีขอบหรือมุมแบ่งส่วนได้ สาหรับงานรูปทรงกระบอกไม่มีมุม หรือขอบในการที่จะใช้แบ่งส่วน ดังนั้นจึงต้องสมมติขึ้นที่ผิวของรูป ทรงกระบอกเป็นเส้นตรงตามแนวขนานกับความยาว โดยการแบ่งตามจานวนองศา และใช้จานวน ตัวเลข หรือตัวอักษรเรียงตามลาดับ ระยะห่างของเส้นแบ่งส่วนทุก ๆ เส้นรวมกันจะยาวเท่ากับเส้น รอบรูปของชิ้นงาน 3.1.4 เส้นรอบรูป (Stretch Out Line) เป็นเส้นรอบรูปหรือเส้นแผ่ของแผ่นคลี่ขอบของ ชิ้นงานออกมาโดยจะมีความยาวเท่ากับเส้นรอบรูปของชิ้นงาน เส้นแผ่นี้จะต่อมาจากเส้นฐาน หรือ ถ่ายขนาดมาจากภาพด้านบนเส้นนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของภาพแผ่นคลี่ 3.1.5 เส้นฉาย (Projection Line) เป็นเส้นที่ใช้ถ่ายขนาดหรือระยะจากรูปด้านหนึ่งไป ยังรูปอีกด้านหนึ่ง 3.1.6 ตัวเลขกากับเส้น (Numbering system) คือตัวเลขที่เขียนกากับเส้นแบ่งส่วนต่าง ๆ เพื่อสะดวกในการจาตาแหน่งเส้นต่าง ๆ 3.1.7 ภาพแผ่นคลี่ (Stretch out) เป็นภาพแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้นจากชิ้นงานรูปทรง ต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้เผื่อขอบและตะเข็บ 3.1.8 แบบแผ่นคลี่ (Pattern) เป็นภาพแผ่นคลี่ชิ้นงานที่สาเร็จรูปแล้ว โดยมีการเผื่อ ตะเข็บพร้อมที่จะนาไปตัดและขึ้นรูปตามต้องการ
  • 2. รูปที่ 2.5 แสดงความหมายของเส้นในแบบแผ่นคลี่ รูปที่ 2.6 แสดงแบบแผ่นคลี่ที่เผื่อตะเข็บ
  • 3. การเขียนแบบแผ่นคลี่เหมาะสมต่อการเขียนแบบที่มีลักษณะเป็นทรงลูกบาศก์หรือชิ้นงานที่ เป็นทรงกระบอก ซึ่งมีขอบทั้งสองด้านขนานกัน สามารถเขียนแบบแผ่นคลี่ได้ 2 ลักษณะ คือ การ เขียนแบบแผ่นคลี่ไม่แยกชิ้นและการเขียนแบบแผ่นคลี่แยกชิ้น 3.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปทรงลูกบาศก์ไม่แยกชิ้น 3.2.1 เขียนภาพ 3 มิติ งานกล่องสี่เหลี่ยม กาหนดขนาด ความกว้าง ความยาว และ ความสูง รูปที่ 2.7 แสดงลักษณะภาพ 3 มิติของงานกล่องสี่เหลี่ยม 3.2.2 เขียนแบบแผ่นคลี่งานแบบไม่แยกชิ้น โดยเริ่มจาก เขียนเส้นสี่เหลี่ยมก้นฐาน ลากเส้นขนานแผ่ออกไปทั้ง 4 ด้าน ขนาดเท่ากับความสูงของกล่อง เผื่อระยะพับขอบ 2 ชั้นและเผื่อ ระยะเข้าตะเข็บข้าง รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะแบบแผ่นคลี่งานแบบไม่แยกชิ้น
  • 4. 3.3 การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปทรงลูกบาศก์แยกชิ้น 3.3.1 เขียนภาพสามมิติ กาหนดขนาดความกว้าง ความยาว และความสูง 3.3.2 เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของชิ้นงานที่ ต้องการเขียนแบบแผ่นคลี่ 3.3.3 แบ่งส่วนรูปด้านบน และกาหนดตัวอักษรหรือตัวเลขกากับส่วน 3.3.4 ลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) ออกไป จากนั้นฉายเส้นจากจุดแบ่งรูป ด้านบนไปยังรูปด้านหน้า และฉายออกไปทางด้านข้างของรูปด้านบน 3.3.5 แบ่งความยาวออกเป็นส่วนตามความยาวจากรูปด้านบน จากนั้นถ่ายขนาดลงบน เส้นฐานของรูปแผ่นคลี่ 3.3.6 จากจุดแบ่งบนเส้นฐานของแผ่นคลี่ ให้ลากเส้นตั้งฉากที่มีความยาวเท่ากับระยะ ความสูงของรูปด้านหน้า 3.3.7 ลากเส้นรอบรูปและเส้นรอบพับแผ่นคลี่ และใส่ฝาด้านล่างและด้านบน 3.3.8 ชิ้นงานแผ่นคลี่รูปกล่องลูกบาศก์ที่สมบูรณ์ 3.3.9 เผื่อตะเข็บรอยต่อเพื่อการขึ้นรูปและเพื่อตะเข็บรอยต่อในการประกอบงาน (กรณีการประกอบชิ้นงาน) 3.4 การเขียนแบบแผ่นคลี่กล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง 3.4.1 เขียนภาพ 3 มิติ กล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง และกาหนดขนาดความกว้าง ความ ยาว และความสูง รูปที่ 2.9 แสดงลักษณะภาพ 3 มิติ งานกล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง
  • 5. 3.4.2 เขียนแผ่นคลี่แบบไม่แยกชิ้น โดยเริ่มจากเส้นสี่เหลี่ยมก้นฐาน และลากเส้นขนาน แผ่ออกทั้งสามด้าน ขนาดเท่ากับความสูงของกล่องปลายเฉียง เผื่อระยะพับขอบสองชั้นและเผื่อระยะ เข้าตะเข็บ รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะภาพแผ่นคลี่งานกล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียงแบบไม่แยกชิ้น 3.5 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกระป๋องกลม 3.5.1 เขียนภาพ 3 มิติ กล่องสี่เหลี่ยมปลายเฉียง และกาหนดขนาดความกว้าง ความ ยาว และความสูง รูปที่ 2.11 แสดงลักษณะภาพ 3 มิติงานกระป๋องกลม
  • 6. 3.5.2 เขียนภาพแผ่นคลี่งานส่วนลาตัวกระป๋อง โดยการลากเส้นขนาดความสูง เท่ากับ ส่วนสูงของกระป๋องยาวเท่ากับเส้นรอยวงที่คานวณได้ เผื่อตะเข็บข้าง สาหรับพับประกอบเข้าตะเข็บ เผื่อขอบงานด้านบนสาหรับพับประกอบเข้าตะเข็บ เผื่อขอบงานด้านบนสาหรับเข้าขอบลวด ด้านล่าง เผื่อขอบงานไว้สาหรับพับเข้าตะเข็บกับส่วนก้นฐาน รูปที่ 2.12 แสดงลักษณะภาพแผ่นคลี่งานชิ้นที่ 1 ลาตัวกระป๋อง 3.5.3 เขียนแผ่นคลี่ส่วนก้นฐานเป็นวงกลม ใช้วงเวียนกางรัศมีเท่ากับขนาด เส้นผ่าน ศูนย์กลางของกระป๋องเผื่อขอบงานสาหรับพับต่อเข้าตะเข็บกับส่วนลาตัวของกระป๋อง รูปที่ 2.13 แสดงลักษณะภาพแบบแผ่นคลี่งานชิ้นที่ 2 ก้นฐานกระป๋อง
  • 7. 3.6 การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปทรงกระบอก ชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก เช่น กระป๋องหรือท่อ เป็นต้น ทรงกระบอกที่นามาเขียน แบบแผ่นคลี่มี 2 ลักษณะ คือ รูปทรงกระบอกตัดตรงและรูปทรงกระบอกตัดเฉียง 3.6.1 ขั้นตอนการเขียนแบบแผ่นคลี่ทรงกระบอกตัดตรง 1) เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของชิ้นงานที่ ต้องการเขียนแบบแผ่นคลี่ 2) ทาการแบ่งส่วนของวงกลมโดยใช้วงเวียนในการแบ่ง และกาหนดตัวอักษรหรือตัวเลข กากับส่วน แล้วลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) ออกไปด้านข้าง 3) ทาการแบ่งเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) โดยวัดจากระยะส่วนของวงกลมที่แบ่ง ไว้ 4) จากจุดแบ่งบนเส้นฐานของแผ่นคลี่ ให้ลากเส้นตั้งฉากที่มีความยาวเท่ากับระยะความ สูงของรูปด้านหน้า 5) ลากเส้นรอบรูป และใส่ฝาปิดด้านล่างและด้านบน ซึ่งมีขนาดเดียวกับภาพด้านบน 6) ชิ้นงานแผ่นคลี่ทรงกระบอกตัดตรงที่สมบูรณ์ 3.6.2 ขั้นตอนการเขียนแบบแผ่นคลี่ทรงกระบอกตัดเฉียง 1) เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของชิ้นงานที่ ต้องการเขียนแบบแผ่นคลี 2) ทาการแบ่งส่วนของวงกลมโดยใช้วงเวียนในการแบ่ง และกาหนดตัวอักษรหรือตัวเลข กากับส่วน แล้วลากเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) ออกไปด้านข้าง 3) จากส่วนของวงกลมที่ทาการแบ่ง ให้ฉายส่วนที่แบ่งขึ้นไปยังภาพด้านหน้าที่ระนาบ ตัดด้านหน้า และกาหนดตัวเลขกากับส่วนลงไป เพื่อป้องกันความผิดพลาด 4) ทาการแบ่งเส้นฐานของแผ่นคลี่ (Base Line) โดยวัดจากระยะส่วนของวงกลมที่แบ่ง ไว้ แล้วให้ลากเส้นตั้งฉากที่มีความยาวเท่ากับระยะความสูงสุดของรูปด้านหน้า 5) จากจุดตัดที่ระนาบตัดเฉียงด้านหน้าให้ลากเส้นขนานกับเส้นฐานของแผ่นคลี่ให้ตัด กับเส้นตั้งฉาก และกาหนดจุดที่เส้นตัดกัน 6) ที่จุดตัด ให้ใช้ Curve วาดส่วนโค้งผ่านจุดตัดต่างๆ โดยต้องผ่านจุดตัดอย่างน้อย 3 จุด ในการเขียนส่วนโค้ง 1 เส้น 7) เขียนเส้นรอบรูป