SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
9.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่โดยวิธีเส้นรัศมี (Radial line Development)
หลักการพิจารณาวิธีการเขียนแบบโดยวิธีนี้ คือชิ้นงานจะมีรูปทรงกรวย (Cone) และรูปทรงปิรามิด (Pyramid)
กรวยตรง กรวยตัด กรวยเหลี่ยมหรือปิรามิด กรวยเอียง
รูปที่ 9.8 แสดงงานรูปทรงกรวย
ในการเขียนแบบแผ่นคลี่ สามารถหาได้ 2 วิธี คือ
- โดยวิธีเขียนแบบแผ่นคลี่
- โดยวิธีการคานวณ สามารถคานวณได้แม่นยาโดยการใช้สูตร
S
Rx360 หรือ
S
D x 180 องศาในกรณีที่คานวณโยการใช้รัศมีของกรวยกลมจะใช้มุม 360 คูณด้วยรัศมีหารด้วยความสูงเอียงของ
กรวยแต่ถ้าคานวณโดยการใช้เส้นผ่าศูนย์กลางจะใช้มุมของฐานกรวยกลมเป็นมุม180องศาคูณด้วย
เส้นผ่าศูนย์กลางหารด้วยความสูงเอียงของกรวย
D = เส้นผ่าศูนย์กลาง , R= รัศมี
S = สูงเอียง (Slant height)
จากรูปกรวยกลมตรงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 mm.
มีความสูงเอียง 80 mm. จะมีมุมของแผ่นคลี่เท่าไร
แทนค่าสูตร =
80
18060x = 135 องศา
60
รูปที่ 9.9 แสดงงานรูปทรงกรวยจากหนังสือMETRIC DRAFTING
80
การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปกรวยกลมตรง (Right circular cone)
รูปที่ 9.10 แสดงแผ่นคลี่รูปกรวยตรง
A
0
ขั้นตอนการเขียน
1. สร้างรูปด้านหน้าของกรวยกลม
2. สร้าง Half profile ของกรวยกลมและแบ่งเป็นส่วนๆ เท่าๆ กันออกเป็น 7 ส่วน
3. จากภาพด้านหน้าที่ขอบชิ้นงานทั้งสองด้าน ลากเส้นตรงเลยออกไปให้ตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลาง จะได้จุดตัดที่จุด A
คือจุดยอด (Apex)
4. กางวงเวียนรัศมีเท่ากับเส้น A1 เขียนส่วนโค้งจากเส้นฐาน
5. กางวงเวียนรัศมี A0 เขียนส่วนโค้ง
6. เขียนเส้นแบ่งส่วนโดยการถ่ายขนาดจาก (Half profile) ลงบนเส้นฐานเริ่มต้นที่ 1-7-1 ตามลาดับ
7. ลากเส้นแบ่งส่วนทุกเส้นจาก 1-7-1 ไปหาจุด Apex จะได้แผ่นคลี่รูปกรวยตามต้องการ
การเขียนแบบแผ่นคลี่กรวยกลมตรงปลายตัดเฉียง (Truncated right circular cone)
รูปที่ 9.11 แสดงแผ่นคลี่รูปกรวยตัด
ขั้นตอนการเขียน
1. สร้างรูปด้านหน้าของกรวยตัด
2. สร้างรูปกรวยตัดให้เต็ม เป็นรูปกรวยตรง
3. สร้าง Half profile ของกรวย และแบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน เขียนหมายเลขกากับเส้น 1-7
4. จากภาพด้านหน้าที่ขอบงานทั้งสองด้าน ลากเส้นตรงเลยออกไปตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลาง ที่จุด A คือจุดยอด (Apex)
5. ลากเส้นตรงจากจุดตัดของ Half profile 1-7 ให้ตั้งฉากกับเส้นฐานของกรวย แล้วลากขึ้นไปหาจุด Apex ทุกเส้น
หมายเหตุ เส้นแบ่งส่วนที่ลากผ่านรูปด้านหน้าทั้ง 7 เส้น มีเส้นจริงอยู่ 2 เส้น คือ เส้น 1 และ 7 นอกนั้นไม่ใช่เส้นจริง จะต้องทา
การหาเส้นสูงจริง โดยวิธีการย้ายจุด
6. ย้ายจุดของเส้นแบ่งส่วนเส้น 2, 3, 4, 5, 6 บริเวณที่ตัดกับเส้นเอียงของฐานกรวย โดยการลากเส้นตรงให้ขนานกับเส้น
ฐานและตั้งฉากกับเส้นผ่าศูนย์กลางของกรวยไปที่เส้นขอบงานด้านขวามือ
7. กางวงเวียนเขียนส่วนโค้งจากเส้นทุกเส้นที่ย้ายจุดตามข้อ 6 ไปทางขวามือ
8. เขียนเส้นแบ่งส่วนโดยการถ่ายขนาดจาก Halfprofile ลงบนเส้นฐานเริ่มต้นที่ 1-7-1 ตามลาดับ
9. ลากเส้นแบ่งส่วนจากเส้นฐานทุกเส้น (1-7-1) ไปหาจุด Apex
10. พล็อตจุดตัดที่เกิดจากเส้นฉายกับเส้นแบ่งส่วนตัดกัน จะได้แผ่นคลี่กรวยตัดตามต้องการ
การเขียนแบบแผ่นคลี่กรวยเหลี่ยม หรือรูปทรงปิรามิด
รูปที่ 9.12 แสดงแผ่นคลี่ รูปปิรามิด หรือกรวยเหลี่ยม
ขั้นตอนการเขียน
1. สร้างรูปด้านหน้าและด้านบนและเขียนหมายเลขและตัวอักษรกากัดเส้น
2. จากรูปด้านหน้า ลากเส้นต่อออกไปจากด้านข้างทั้งสอง ไปตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลางที่จุด O คือจุดยอด Apex
3. หาเส้นสูงจริงโดยการกางวงเวียนรัศมีเท่ากับ OC จากรูป ด้านบนเขียนส่วนโค้งไปตัดเส้นผ่าศูนย์กลางที่จุด E
4. จากจุดตัด E ลากเส้นตรงขึ้นไป ให้ตัดกับเส้นฐานของรูปด้านหน้า a
5. ลากเส้น aA จะได้เส้นสูงจริง (TL)
6. เขียนแบบแผ่นคลี่ กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง Aa เขียนส่วนโค้ง
7. กางวงเวียน A1 เขียนส่วนโค้ง
8. เขียนเส้นแบ่งส่วน โดยการถ่ายขนาดจากรูปด้านบนเริ่มต้นด้วยเส้นตรง O1A, O2B, O3C, O4D, O1A ตามลาดับ
9. ลากเส้นตรง AB, BC, CD, DA ที่เส้นฐาน
10. ลากเส้นตรง 12, 23, 34, 41 ที่ปากด้านบน จะได้แผ่นคลี่ตามต้องการ
การเขียนแบบแผ่นคลี่กรวยเอียง (Oblique cone)
รูปที่ 9.13 แสดงแผ่นคลี่รูปกรวยเอียง
ขั้นตอนการเขียน
1. สร้างรูปด้านหน้ากรวยเอียง
2. สร้าง Half profile และแบ่งส่วนออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน
และเขียนหมายเลขกากับเส้น
3. จากขอบงานทั้งสองข้าง ลากเส้นขึ้นไปตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลาง จะได้จุดยอด (Apex) ที่จุด A
4. หาเส้นสูงจริง กางวงเวียน 12, 13, 14, 15, 16 ตามลาดับ เขียนส่วนโค้งตัดกับเส้นฐานและลากเส้นตรงทุกเส้นไปหาจุด
ยอด (Apex)
5. เขียนเส้นฉาย โดยการฉายเส้นที่เส้นฐาน 7 เส้น และที่ปากด้านบน 7 เส้น ออกไปทางซ้ายมือ
6. เขียนเส้นแบ่งส่วนโดยการถ่ายขนาดจาก Half profile ที่แบ่งเท่าๆ กัน การถ่ายขนาดจะถ่ายเส้นข้ามเส้น เริ่มจากเส้น
โค้ง 1 ตัดเส้นโค้ง 2 ตามลาดับ จนมาสิ้นสุดที่ 1 จะได้Curve ที่ฐาน
7. พล็อตจุดตัดด้านบนที่เกิดจากเส้นฉายกับเส้นแบ่งส่วนตัดกัน จะได้Curve และแผ่นคลี่ตามต้องการ

More Related Content

What's hot

งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3Pannathat Champakul
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfssusera0c3361
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม GspWi Rut
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1Pannathat Champakul
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 

What's hot (20)

4 3
4 34 3
4 3
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
4 1
4 14 1
4 1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
Document 1820130813093402
Document 1820130813093402Document 1820130813093402
Document 1820130813093402
 
2 2
2 22 2
2 2
 
305
305305
305
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
แบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉายแบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉาย
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
2 6
2 62 6
2 6
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 

Similar to 9 2

แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6kanjana2536
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2Pannathat Champakul
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Preeda Prakotmak
 
งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3Pannathat Champakul
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์dechathon
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1Pannathat Champakul
 
แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกน
แบบฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกนแบบฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกน
แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกนdechathon
 

Similar to 9 2 (9)

แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry
 
งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
303
303303
303
 
แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกน
แบบฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกนแบบฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกน
แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง การปรับเปลี่ยนรูปทรงด้วยการหมุนรอบแกน
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
302
302302
302
 

9 2

  • 1. 9.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่โดยวิธีเส้นรัศมี (Radial line Development) หลักการพิจารณาวิธีการเขียนแบบโดยวิธีนี้ คือชิ้นงานจะมีรูปทรงกรวย (Cone) และรูปทรงปิรามิด (Pyramid) กรวยตรง กรวยตัด กรวยเหลี่ยมหรือปิรามิด กรวยเอียง รูปที่ 9.8 แสดงงานรูปทรงกรวย
  • 2. ในการเขียนแบบแผ่นคลี่ สามารถหาได้ 2 วิธี คือ - โดยวิธีเขียนแบบแผ่นคลี่ - โดยวิธีการคานวณ สามารถคานวณได้แม่นยาโดยการใช้สูตร S Rx360 หรือ S D x 180 องศาในกรณีที่คานวณโยการใช้รัศมีของกรวยกลมจะใช้มุม 360 คูณด้วยรัศมีหารด้วยความสูงเอียงของ กรวยแต่ถ้าคานวณโดยการใช้เส้นผ่าศูนย์กลางจะใช้มุมของฐานกรวยกลมเป็นมุม180องศาคูณด้วย เส้นผ่าศูนย์กลางหารด้วยความสูงเอียงของกรวย D = เส้นผ่าศูนย์กลาง , R= รัศมี S = สูงเอียง (Slant height) จากรูปกรวยกลมตรงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 mm. มีความสูงเอียง 80 mm. จะมีมุมของแผ่นคลี่เท่าไร แทนค่าสูตร = 80 18060x = 135 องศา 60 รูปที่ 9.9 แสดงงานรูปทรงกรวยจากหนังสือMETRIC DRAFTING 80
  • 3. การเขียนแบบแผ่นคลี่รูปกรวยกลมตรง (Right circular cone) รูปที่ 9.10 แสดงแผ่นคลี่รูปกรวยตรง A 0
  • 4. ขั้นตอนการเขียน 1. สร้างรูปด้านหน้าของกรวยกลม 2. สร้าง Half profile ของกรวยกลมและแบ่งเป็นส่วนๆ เท่าๆ กันออกเป็น 7 ส่วน 3. จากภาพด้านหน้าที่ขอบชิ้นงานทั้งสองด้าน ลากเส้นตรงเลยออกไปให้ตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลาง จะได้จุดตัดที่จุด A คือจุดยอด (Apex) 4. กางวงเวียนรัศมีเท่ากับเส้น A1 เขียนส่วนโค้งจากเส้นฐาน 5. กางวงเวียนรัศมี A0 เขียนส่วนโค้ง 6. เขียนเส้นแบ่งส่วนโดยการถ่ายขนาดจาก (Half profile) ลงบนเส้นฐานเริ่มต้นที่ 1-7-1 ตามลาดับ 7. ลากเส้นแบ่งส่วนทุกเส้นจาก 1-7-1 ไปหาจุด Apex จะได้แผ่นคลี่รูปกรวยตามต้องการ
  • 5. การเขียนแบบแผ่นคลี่กรวยกลมตรงปลายตัดเฉียง (Truncated right circular cone) รูปที่ 9.11 แสดงแผ่นคลี่รูปกรวยตัด
  • 6. ขั้นตอนการเขียน 1. สร้างรูปด้านหน้าของกรวยตัด 2. สร้างรูปกรวยตัดให้เต็ม เป็นรูปกรวยตรง 3. สร้าง Half profile ของกรวย และแบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน เขียนหมายเลขกากับเส้น 1-7 4. จากภาพด้านหน้าที่ขอบงานทั้งสองด้าน ลากเส้นตรงเลยออกไปตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลาง ที่จุด A คือจุดยอด (Apex) 5. ลากเส้นตรงจากจุดตัดของ Half profile 1-7 ให้ตั้งฉากกับเส้นฐานของกรวย แล้วลากขึ้นไปหาจุด Apex ทุกเส้น หมายเหตุ เส้นแบ่งส่วนที่ลากผ่านรูปด้านหน้าทั้ง 7 เส้น มีเส้นจริงอยู่ 2 เส้น คือ เส้น 1 และ 7 นอกนั้นไม่ใช่เส้นจริง จะต้องทา การหาเส้นสูงจริง โดยวิธีการย้ายจุด 6. ย้ายจุดของเส้นแบ่งส่วนเส้น 2, 3, 4, 5, 6 บริเวณที่ตัดกับเส้นเอียงของฐานกรวย โดยการลากเส้นตรงให้ขนานกับเส้น ฐานและตั้งฉากกับเส้นผ่าศูนย์กลางของกรวยไปที่เส้นขอบงานด้านขวามือ 7. กางวงเวียนเขียนส่วนโค้งจากเส้นทุกเส้นที่ย้ายจุดตามข้อ 6 ไปทางขวามือ 8. เขียนเส้นแบ่งส่วนโดยการถ่ายขนาดจาก Halfprofile ลงบนเส้นฐานเริ่มต้นที่ 1-7-1 ตามลาดับ 9. ลากเส้นแบ่งส่วนจากเส้นฐานทุกเส้น (1-7-1) ไปหาจุด Apex 10. พล็อตจุดตัดที่เกิดจากเส้นฉายกับเส้นแบ่งส่วนตัดกัน จะได้แผ่นคลี่กรวยตัดตามต้องการ
  • 7. การเขียนแบบแผ่นคลี่กรวยเหลี่ยม หรือรูปทรงปิรามิด รูปที่ 9.12 แสดงแผ่นคลี่ รูปปิรามิด หรือกรวยเหลี่ยม
  • 8. ขั้นตอนการเขียน 1. สร้างรูปด้านหน้าและด้านบนและเขียนหมายเลขและตัวอักษรกากัดเส้น 2. จากรูปด้านหน้า ลากเส้นต่อออกไปจากด้านข้างทั้งสอง ไปตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลางที่จุด O คือจุดยอด Apex 3. หาเส้นสูงจริงโดยการกางวงเวียนรัศมีเท่ากับ OC จากรูป ด้านบนเขียนส่วนโค้งไปตัดเส้นผ่าศูนย์กลางที่จุด E 4. จากจุดตัด E ลากเส้นตรงขึ้นไป ให้ตัดกับเส้นฐานของรูปด้านหน้า a 5. ลากเส้น aA จะได้เส้นสูงจริง (TL) 6. เขียนแบบแผ่นคลี่ กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง Aa เขียนส่วนโค้ง 7. กางวงเวียน A1 เขียนส่วนโค้ง 8. เขียนเส้นแบ่งส่วน โดยการถ่ายขนาดจากรูปด้านบนเริ่มต้นด้วยเส้นตรง O1A, O2B, O3C, O4D, O1A ตามลาดับ 9. ลากเส้นตรง AB, BC, CD, DA ที่เส้นฐาน 10. ลากเส้นตรง 12, 23, 34, 41 ที่ปากด้านบน จะได้แผ่นคลี่ตามต้องการ
  • 9. การเขียนแบบแผ่นคลี่กรวยเอียง (Oblique cone) รูปที่ 9.13 แสดงแผ่นคลี่รูปกรวยเอียง
  • 10. ขั้นตอนการเขียน 1. สร้างรูปด้านหน้ากรวยเอียง 2. สร้าง Half profile และแบ่งส่วนออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน และเขียนหมายเลขกากับเส้น 3. จากขอบงานทั้งสองข้าง ลากเส้นขึ้นไปตัดกันที่เส้นผ่าศูนย์กลาง จะได้จุดยอด (Apex) ที่จุด A 4. หาเส้นสูงจริง กางวงเวียน 12, 13, 14, 15, 16 ตามลาดับ เขียนส่วนโค้งตัดกับเส้นฐานและลากเส้นตรงทุกเส้นไปหาจุด ยอด (Apex) 5. เขียนเส้นฉาย โดยการฉายเส้นที่เส้นฐาน 7 เส้น และที่ปากด้านบน 7 เส้น ออกไปทางซ้ายมือ 6. เขียนเส้นแบ่งส่วนโดยการถ่ายขนาดจาก Half profile ที่แบ่งเท่าๆ กัน การถ่ายขนาดจะถ่ายเส้นข้ามเส้น เริ่มจากเส้น โค้ง 1 ตัดเส้นโค้ง 2 ตามลาดับ จนมาสิ้นสุดที่ 1 จะได้Curve ที่ฐาน 7. พล็อตจุดตัดด้านบนที่เกิดจากเส้นฉายกับเส้นแบ่งส่วนตัดกัน จะได้Curve และแผ่นคลี่ตามต้องการ